โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปลาน้ำกร่อยและปลาหมอโครมายด์เขียว

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปลาน้ำกร่อยและปลาหมอโครมายด์เขียว

ปลาน้ำกร่อย vs. ปลาหมอโครมายด์เขียว

ปลาชะลิน(''Chanos chanos'') ปลาน้ำเค็มชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ได้ทั้งน้ำจืดและน้ำเค็ม ปลาน้ำกร่อย หรือ ปลาสองน้ำ (Amphidromous fish) คือ ปลาที่สามารถปรับสภาพให้อาศัยอยู่ได้ทั้งน้ำเค็มหรือในทะเล, น้ำกร่อย และน้ำจืดตามแม่น้ำลำคลอง ปลาน้ำกร่อย อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ. ปลาหมอโครมายด์เขียว (Green chromide, Pearlspot cichild; มาลายาลัม:, เบงกาลี: കരിമീന്‍‌) ปลาน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Etroplus suratensis ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) เป็นปลาพื้นเมืองที่พบได้ในอินเดียตอนใต้จนถึงศรีลังกา เช่น เมืองสุรัต ในรัฐเกรละ หรือปุทุจเจรี โดยพบได้ในพื้นที่ที่เป็นน้ำกร่อยที่ซึ่งน้ำจืดบรรจบกับน้ำเค็ม เช่น ปากแม่น้ำ เป็นต้น มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 30 เซนติเมตร พบขนาดใหญ่สุดถึง 50 เซนติเมตร ปากมีขนาดเล็กแต่มีฟันแหลมคม กินอาหารหลักได้แก่ ตะไคร่น้ำ โดยมักจะเลาะเล็มกินตามโขดหินหรือวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ และกินแมลงหรือลูกปลาขนาดเล็กบ้างเป็นอาหารเสริม ปลาตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าตัวผู้กว่ามาก มีรูปร่างแบนข้างและกลม พื้นลำตัวเป็นสีน้ำตาลอ่อนอมเขียว มีลายเส้นสีดำพาดตั้งแต่ท้องจนถึงกลางลำตัวประมาณ 5-6 เส้น ไปสิ้นสุดที่ข้อหาง บริเวณช่วงอกเป็นสีดำ บนลำตัวในบางตัวมีจุดสีขาวกระจาย สีบริเวณส่วนหัวเป็นสีเขียวอมเหลือง โดยเฉพาะในตัวผู้ที่เป็นจ่าฝูงจะมีสีดังกล่าวนี้สวยสดกว่าตัวอื่น ๆ วางไข่ได้มากถึงครั้งละ 1,000 ฟอง โดยในช่วงนี้ปลาตัวผู้จะเปลี่ยนสีให้สวยสดกว่าเดิม เช่นบริเวณส่วนหน้าและครีบต่าง ๆ จะชัดเจนที่สุด ปลาทั้งคู่จะช่วยกันดูแลไข่อย่างใกล้ชิด ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 36-48 ชั่วโมง โดยที่ปลาตัวอ่อนในช่วงแรกจะรับอาหารจากถุงไข่แดงที่มีติดตัวมา จนประมาณถึงวันที่ 7 เมื่อถุงดังกล่าวยุบลง และว่ายน้ำได้แข็งแรงแล้ว ลูกปลาจะกินเมือกที่เกาะตามตัวพ่อแม่เป็นอาหารแทน ปลาหมอโครมายด์เขียว นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ด้วยความเป็นปลาที่มีอุปนิสัยไม่ก้าวร้าว จึงสามารถเลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่น ๆ หรือปลาหมอสีด้วยกันเองได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังเป็นปลาที่นิยมบริโภคกันในท้องถิ่นอีกด้ว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปลาน้ำกร่อยและปลาหมอโครมายด์เขียว

ปลาน้ำกร่อยและปลาหมอโครมายด์เขียว มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สปีชีส์ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำน้ำกร่อยน้ำจืดน้ำเค็ม

สปีชีส์

ในวิชาชีววิทยา ชนิด หรือทับศัพท์ว่า สปีชีส์ (species, ย่อ: sp., รูปพหูพจน์ย่อ: spp.) เป็นหน่วยการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานและอันดับอนุกรมวิธานหนึ่ง มักนิยามว่า สปีชีส์เป็นกลุ่มอินทรีย์ใหญ่สุดที่สามารถสืบพันธุ์แล้วออกลูกที่สืบพันธุ์ได้ การมีลักษณะปรับตัวเฉพาะบางท้องถิ่นอาจแบ่งสปีชีส์ต่ออีกได้เป็น "ชื่อต่ำกว่าระดับชนิด" (infraspecific taxa) เช่น ชนิดย่อย (ในทางพฤกษศาสตร์ มีใช้คำอื่น เช่น พันธุ์ (variety) พันธุ์ย่อยและแบบ (forma)).

ปลาน้ำกร่อยและสปีชีส์ · ปลาหมอโครมายด์เขียวและสปีชีส์ · ดูเพิ่มเติม »

ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ

right right right ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ (river delta) จะเกิดเฉพาะกับแม่น้ำที่พัดพาเอาตะกอนขนาดเล็ก ๆ จำพวกทรายละเอียดและโคลนมากับลำน้ำเป็นปริมาณมาก แล้วมาตกตะกอนทับถมกันบริเวณปากแม่น้ำ เมื่อแม่น้ำไหลลงสู่ทะเลหรือทะเลสาบ ความเร็วของน้ำในแม่น้ำจะลดลงและตะกอนที่แม่น้ำพัดมาจะค่อย ๆ สะสมตัวบริเวณดังกล่าว ในบางแห่งขณะน้ำขึ้นน้ำลง กระแสน้ำจะพัดพาเอาทรายและโคลนออกไปสู่ทะเลไกลออกไปจึงไม่มีดินดอนปากแม่น้ำเกิดขึ้น ถ้าในกรณีที่กระแสน้ำขึ้นลงไม่ส่งอิทธิพลรุนแรง แม่น้ำก็จะพัดพาเอาตะกอนมาสะสมอยู่เรื่อย ๆ โดยทรายหยาบจะตกตะกอนลงเป็นพวกแรกและนาน ๆ เข้าก็จะปรากฏเป็นสันทรายบริเวณปากแม่น้ำ ในที่สุดแม่น้ำก็จะแตกแขนงออกเป็นสองสาขาในเวลาต่อมา ในเวลาต่อมาแม่น้ำทั้งสองสาขาก็จะถูกปิดกั้นด้วยสันทราย ทำให้สาขาแม่น้ำแตกออกเป็นสาขาลำน้ำย่อยลงไปอีก ดินดอนโดยทั่วไปมักมีสาขาของลำน้ำที่แตกแขนงจากแม่น้ำใหญ่ โคลนเนื้อละเอียดจะถูกพัดพาไปไกลจากสันทรายและตกตะกอนสะสมตัวกันแผ่คลุมท้องทะเลหรือทะเลสาบในบริเวณที่กว้างขวางเป็นรูปคล้ายพัดหรืองอกตัวลงทะเลตลอดเวลา โดยธรรมดาแล้วแม่น้ำทุกสายที่ไหลลงทะเลหรือทะเลสาบจะมีดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเกิดขึ้นเสมอ ที่เราเรียกกันว่า "เดลต้า" (delta) เพราะว่าบริเวณดังกล่าวมีรูปร่างคล้ายสามเหลี่ยม ซึ่งถึงแม้ว่าดินดอนจะไม่เป็นรูปสามเหลี่ยมนักภูมิศาสตร์โดยทั่วไปก็เรียกว่า "เดลต้า" แม่น้ำสายใหญ่ ๆ เช่นในเอเชีย เช่น แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีสในอิรัก ซึ่งเดิมเมืองโบราณชื่ออัวร์ถูกสร้างขึ้นเมื่อประมาณ 6,000 ปีที่แล้วอยู่ติดทะเล แต่ปัจจุบันเมืองดังกล่าวอยู่ลึกเข้าไปในแผ่นดิน 240 กิโลเมตร แม่น้ำพรหมบุตรใน.

ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำและปลาน้ำกร่อย · ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำและปลาหมอโครมายด์เขียว · ดูเพิ่มเติม »

น้ำกร่อย

น้ำกร่อย (Brackish water) คือน้ำทะเล (น้ำเค็ม) ผสมกับน้ำจืด สามารถพบได้ตามตามปากอ่าวแม่น้ำออกทะเล เช่น สมุทรปราการ (แม่น้ำเจ้าพระยาออกทะเล) บริเวณสมุทรสาคร (แม่น้ำท่าจีนออกทะเล) สมุทรสงคราม (แม่น้ำแม่กลองออกทะเล) โดยทั่วไปแล้ว น้ำกร่อยหรือน้ำทะเลในสภาพปกติมีสภาพเป็นด่างอ่อน ๆ pH ราว 7.3 ไปจนถึง 8.5 เหตุที่น้ำทะเลมีสภาพเป็นด่างอ่อน ๆ เป็นเพราะในน้ำทะเลมีแร่ธาตุหลายชนิด ที่ทำให้น้ำเป็นด่างอ่อน เครื่องมือวัดความเค็ม เรียก ซาลิโนมิเตอร์ (Salinometer) หรือ รีแฟรกโตซาลิโนมิเตอร์ (Refractosalinometer) วัดโดยใช้หลักการหักเหของแสง ยิ่งเค็มมาก ยิ่งหักเหมาก แล้วแปลงไปเป็นสเกลของ ppt (part per thousand.

น้ำกร่อยและปลาน้ำกร่อย · น้ำกร่อยและปลาหมอโครมายด์เขียว · ดูเพิ่มเติม »

น้ำจืด

น้ำจืดในลำธาร น้ำจืด หมายถึงน้ำในแหล่งน้ำทั่วไปอาทิ บ่อน้ำ ทะเลสาบ แม่น้ำ ลำธาร เป็นต้น ที่ซึ่งมีเกลือและของแข็งอื่นละลายอยู่ในระดับต่ำ มีความหนาแน่นน้อย นั่นคือน้ำจืดไม่ได้เป็นน้ำเค็มและน้ำกร่อย น้ำจืดสามารถเป็นผลผลิตของน้ำทะเลที่เอาเกลือออกแล้วได้ น้ำจืดเป็นทรัพยากรหมุนเวียนที่สำคัญต่อสิ่งมีชีวิตบนบกเป็นส่วนใหญ่ และเป็นที่จำเป็นต่อมนุษย์สำหรับน้ำดื่ม และใช้ในเกษตรกรรม เป็นต้น องค์การสหประชาชาติได้คาดการณ์ไว้ว่า ประชากรโลกประมาณร้อยละ 18 ขาดแคลนน้ำดื่มที่ปลอดภั.

น้ำจืดและปลาน้ำกร่อย · น้ำจืดและปลาหมอโครมายด์เขียว · ดูเพิ่มเติม »

น้ำเค็ม

น้ำเค็ม อาจหมายถึง.

น้ำเค็มและปลาน้ำกร่อย · น้ำเค็มและปลาหมอโครมายด์เขียว · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปลาน้ำกร่อยและปลาหมอโครมายด์เขียว

ปลาน้ำกร่อย มี 17 ความสัมพันธ์ขณะที่ ปลาหมอโครมายด์เขียว มี 32 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 10.20% = 5 / (17 + 32)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปลาน้ำกร่อยและปลาหมอโครมายด์เขียว หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »