โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศอิรักและอาดุลฟุราตอยนีวาตาน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ประเทศอิรักและอาดุลฟุราตอยนีวาตาน

ประเทศอิรัก vs. อาดุลฟุราตอยนีวาตาน

ประเทศอิรัก (العراق; عێراق อังกฤษ: Iraq) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิรัก (جمهورية العراق; كؤماری عێراق) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีอาณาเขตทางทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทางทิศตะวันออกจดประเทศอิหร่าน ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศคูเวต ทางทิศใต้จดประเทศซาอุดีอาระเบีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศจอร์แดน และทางทิศตะวันตกจดประเทศซีเรีย กรุงแบกแดด ซึ่งเป็นเมืองหลวง ตั้งอยู่ในกลางประเทศ ราว 97% ของประชากรอิรัก 36 ล้านคนเป็นชาวมุสลิม ส่วนใหญ่มีเชื้อสายซุนนีย์ ชีอะฮ์และเคิร์ด ประเทศอิรักมีแนวชายฝั่งส่วนแคบวัดความยาวได้ 58 กิโลเมตรทางเหนือของอ่าวเปอร์เซีย และอาณาเขตของประเทศครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเมโสโปเตเมีย ปลายทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขาซากรอส และทะเลทรายซีเรียส่วนตะวันออก สองแม่น้ำหลัก แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ไหลลงใต้ผ่านใจกลางประเทศและไหลลงสู่ชัฏฏุลอะร็อบใกล้อ่าวเปอร์เซีย แม่น้ำเหล่านี้ทำให้ประเทศอิรักมีดินแดนอุดมสมบูรณ์มากมาย ภูมิภาคระหว่างแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีสมักเรยกว่า เมโสโปเตเมีย และคาดว่าเป็นบ่อเกิดของการเขียนและอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดของโลก พื้นที่นี้ยังเป็นที่ตั้งของอารยธรรมที่สืบทอดต่อกันมานับแต่ 6 สหัสวรรษก่อนคริสตกาล ในแต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ อิรักเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิอัคคาเดีย ซูเมเรีย อัสซีเรีย และบาบิโลเนีย นอกจากนี้ยังเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมีเดีย อะคีเมนิด เฮลเลนนิสติก พาร์เธีย แซสซานิด โรมัน รอชิดีน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะห์ มองโกล ซาฟาวิด อาฟชาริยะห์และออตโตมัน และเคยเป็นอาณาเขตในอาณัติสันนิบาตชาติภายใต้การควบคุมของอังกฤษ พรมแดนสมัยใหม่ของประเทศอิรักส่วนใหญ่ปักใน.. ลงชาติอิรัก ซึ่งเคยใช้ในสมัยพรรคบะอัธของประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน มีชื่อว่า "Ardulfurataini Watan" أرض الفراتين. แปลว่า ดินแดนแห่งสองสายน้ำ คำว่าสองสายน้ำนี้ หมายถึง แม่น้ำไทกริส และแม่น้ำยูเฟรติส ซึ่งเป็นแม่น้ำที่ไหลผ่านที่ราบลุ่มเมโสโปเตเมีย อันเป็นที่ตั้งของประเทศอิรักในปัจจุบัน ประพันธ์เนื้อร้องโดย ชาฟิค อัลกามาลี (Shafiq Alkamali) ทำนองโดย วาลิด จอร์จ โกลเมียห์ (Walid Georges Gholmieh) เดิมเพลงนี้ได้มีการประกาศใช้เป็นเพลงชาติเมื่อ พ.ศ. 2522 ต่อมาเมื่อประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน พ้นจากอำนาจในปี พ.ศ. 2546 แล้ว รัฐบาลอิรักชุดใหม่ก็ได้เลือกเอาเพลง เมาตินี มาใช้เป็นเพลงชาติแทน อย่างไรก็ตาม เพลงนี้ก็ยังคงใช้เป็นเพลงชาติอิรักกันอย่างกว้างขวางต่อไป แม้เพลงนี้จะไม่ได้รับการรับรองจากทางการอิรักก็ตาม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประเทศอิรักและอาดุลฟุราตอยนีวาตาน

ประเทศอิรักและอาดุลฟุราตอยนีวาตาน มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาษาอาหรับซัดดัม ฮุสเซนแม่น้ำยูเฟรทีสแม่น้ำไทกริสเมาตินี

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ประเทศอิรักและภาษาอาหรับ · ภาษาอาหรับและอาดุลฟุราตอยนีวาตาน · ดูเพิ่มเติม »

ซัดดัม ฮุสเซน

ซัดดัม ฮุสเซน (Saddam Hussein) หรือ ศ็อดดาม ฮุเซน อับดุลมะญีด อัลตีกรีตี (อาหรับ: صدام حسين عبد المجيد التكريتي; ละติน:Ṣaddām Ḥusayn ʿAbd al-Majīd al-Tikrītī; 28 เมษายน พ.ศ. 2480-30 ธันวาคม พ.ศ. 2549) เป็นอดีตประธานาธิบดีของอิรัก ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี..

ซัดดัม ฮุสเซนและประเทศอิรัก · ซัดดัม ฮุสเซนและอาดุลฟุราตอยนีวาตาน · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำยูเฟรทีส

ยูเฟรทีส (Euphrates) คือแม่น้ำที่มีต้นน้ำอยู่ในเทือกเขาทางตะวันออกของประเทศตุรกี ยาวประมาณ 2,300 กิโลเมตร ไหลเข้าประเทศซีเรีย เข้าดินแดนอารยธรรมเมโสโปเตเมียเดิมหรือประเทศอิรักในปัจจุบัน แล้วมารวมกับแม่น้ำไทกริสใกล้เมืองบัสรา เกิดเป็นแม่น้ำใหม่ชื่อ ชัฏฏุลอะร็อบ ที่มีความยาวประมาณ 200 กิโลเมตร ก่อนไหลลงสู่อ่าวเปอร์เซีย ย ย ย หมวดหมู่:แม่น้ำนานาชาติในทวีปเอเชีย.

ประเทศอิรักและแม่น้ำยูเฟรทีส · อาดุลฟุราตอยนีวาตานและแม่น้ำยูเฟรทีส · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำไทกริส

ไทกริส (Tigris) เป็นแม่น้ำที่มีต้นน้ำอยู่ในเทือกเขาทางตะวันออกของประเทศตุรกี ยาวประมาณ 1,900 กิโลเมตร ไหลผ่านชายแดนประเทศซีเรีย เข้าดินแดนอารยธรรมเมโสโปเตเมียเดิมหรือประเทศอิรักในปัจจุบัน แล้วมารวมกับแม่น้ำยูเฟรทีสใกล้เมืองบัสรา เกิดเป็นแม่น้ำใหม่คือ ชัฏฏุลอะร็อบ มีความยาวประมาณ 200 กิโลเมตร ก่อนไหลลงสู่อ่าวเปอร์เซีย ท ท ท หมวดหมู่:แม่น้ำนานาชาติในทวีปเอเชีย.

ประเทศอิรักและแม่น้ำไทกริส · อาดุลฟุราตอยนีวาตานและแม่น้ำไทกริส · ดูเพิ่มเติม »

เมาตินี

ลงชาติอิรักในปัจจุบันมีชื่อว่า "เมาตินี" แปลว่า มาตุภูมิแห่งข้า เดิมเพลงนี้เป็นบทกวียอดนิยมที่ประพันธ์ขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2477 โดย อิบราฮิม ตูกัน (อาหรับ: إبراهيم طوقان, Ibrahim Touqan) ที่แคว้นปาเลสไตน์ ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นเนื้อเพลงชาติโดยพฤตินัยของประเทศปาเลสไตน์ อิรัก และ โมร็อกโก ส่วนทำนองนั้นประพันธ์โดย มุฮัมหมัด ฟูลิเอฟิล (อาหรับ: محمد فليفل, Muhammad Fuliefil) ซึ่งทำนองของเพลงนี้เป็นที่นิยมกันมากในโลกอาหรับเป็นเวลานานหลายปี ในปี พ.ศ. 2547 เพลงนี้ได้รับการรับรองให้ใช้เป็นเพลงชาติอิรักอีกครั้ง เพื่อใช้แทนเพลงเดิม คือ เพลง อาดุลฟุราตอยนีวาตาน อันเป็นเพลงชาติอิรักในสมัยที่ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน เรืองอำน.

ประเทศอิรักและเมาตินี · อาดุลฟุราตอยนีวาตานและเมาตินี · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ประเทศอิรักและอาดุลฟุราตอยนีวาตาน

ประเทศอิรัก มี 51 ความสัมพันธ์ขณะที่ อาดุลฟุราตอยนีวาตาน มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 8.06% = 5 / (51 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศอิรักและอาดุลฟุราตอยนีวาตาน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »