โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนเกมส์ 1978

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนเกมส์ 1978

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์ vs. เอเชียนเกมส์ 1978

รณรัฐประชาชนจีน ได้เข้าร่วมแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ครั้งแรกในเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 7 ณ กรุงเตหะราน ประเทศอิหร่าน สาธารณรัฐประชาชนจีนได้รับเหรียญรางวัลครั้งแรกนับตั้งแต่เข้าร่วม โดยได้อันดับ 3 ในเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 7 อันดับ 2 ในเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 8 ณ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย และอันดับ 1 ในเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 9 ณ กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดียเป็นครั้งแรก และได้มา 9 ครั้งติดต่อกัน จนถึงเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 17 ณ เมืองอินช็อน ประเทศเกาหลีใต้. อเชียนเกมส์ 1978 เป็นการแข่งขันเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 8 ประเทศไทยจำต้องเป็นเจ้าภาพอีกวาระหนึ่งเพราะปากีสถานซึ่งได้รับมอบหมายจากที่ประชุมมนตรีสหพันธ์ฯ ให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันครั้งนี้ได้แจ้งไปยังสหพันธ์ว่าไม่สามารถจัดการแข่งขันได้ เนื่องจากปัญหาทางการเมือง เศรษฐกิจภายในประเทศและภาวะเงินเฟ้อ ซึ่งเป็นเหตุให้ขาดดุลทางการเงิน นายอาลี ภูตโต นายกรัฐมนตรีปากีสถานในขณะนั้น ได้สั่งระงับการเป็นเจ้าภาพจัด การแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 8 ผลจากการที่ปากีสถานขอคืนความเป็นเจ้าภาพจึงได้มีการประชุมคณะกรรมการบริหารสหพันธ์เอเชี่ยนเกมส์ขึ้นในระหว่างการแข่งขันโอลิมปิคครั้งที่ 21 ณ ประเทศแคนาดา เพื่อหาประเทศเจ้าภาพแทนปากีสถานและที่ประชุมได้มีมติขอร้องให้ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพอีกครั้ง โดยสมาชิกสหพันธ์เอเชี่ยนเกมส์จะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายให้ทั้งสิ้นสำหรับการเป็นเจ้าภาพ ยกเว้นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการส่งนักกีฬาไทยเข้าร่วมแข่งขัน ประเทศไทยจึงรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 8 ระหว่างวันที่ 9 – 20 ธันวาคม พ.ศ. 2521 การแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 8 นี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระมหากรุณาทรงรับการแข่งขันครั้งนี้ไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ การแข่งขันครั้งนี้ กีฬาที่แข่งขันมี 19 ชนิด คือ กรีฑา ยิงธนู แบดมินตัน บาสเกตบอล มวย โบว์ลิ่ง จักรยาน ฟุตบอล ยิมนาสติคส์ ฮอกกี้ ลอนเทนนิส ยิงปืน ว่ายน้ำ เทเบิลเทนนิส วอลเลย์บอล ยกน้ำหนัก มวยปล้ำ และเรือใบ ส่วนประเทศที่เข้าแข่งขันมี 25 ประเทศ (สำหรับอิสราเอลนั้น คณะกรรมการบริหารสหพันธ์เอเชี่ยนเกมส์ได้ขอร้องมิให้ประเทศอิสราเอลส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันครั้งนี้ เพื่อลดค่ารักษาความปลอดภัย แต่ก็ยังถือว่าประเทศอิสราเอลยังคงเป็นสมาชิกอยู่) นักกีฬาที่เข้าแข่งขันครั้งนี้มี 2,863 คน เป็นชาย 2,318 คน หญิง 454 คน ประเทศที่ไม่ได้รับเหรียญรางวัลเลยได้แก่ ซาอุดิอาระเบีย เนปาล บาห์เรน บังคลาเทศ กาตาร์ สหสาธารณรัฐอาหรั.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนเกมส์ 1978

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนเกมส์ 1978 มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กรุงเทพมหานครประเทศอินเดียประเทศไทยนิวเดลีเอเชียนเกมส์เอเชียนเกมส์ 1974เอเชียนเกมส์ 1982

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและประเทศจีนในเอเชียนเกมส์ · กรุงเทพมหานครและเอเชียนเกมส์ 1978 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และประเทศอินเดีย · ประเทศอินเดียและเอเชียนเกมส์ 1978 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และประเทศไทย · ประเทศไทยและเอเชียนเกมส์ 1978 · ดูเพิ่มเติม »

นิวเดลี

นิวเดลี (New Delhi; नई दिल्ली) เป็นเมืองหลวงของประเทศอินเดี.

นิวเดลีและประเทศจีนในเอเชียนเกมส์ · นิวเดลีและเอเชียนเกมส์ 1978 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์

อเชียนเกมส์ (Asian Games; ชื่อย่อ: Asiad) เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันโดย สหพันธ์เอเชียนเกมส์ (The Asian Games Federation; AGF) ตั้งแต่การแข่งขันครั้งแรกถึงครั้งที่ 8 และตั้งแต่เอเชียนเกมส์ครั้งที่ 9 เป็นต้นมา บริหารจัดการแข่งขันโดย สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) ภายใต้การรับรองโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee; IOC) และยังถือได้ว่าเป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองรองจากกีฬาโอลิมปิกด้วย ในประวัติศาสตร์ของเอเชียนเกมส์ มีชาติเจ้าภาพจัดการแข่งขันแล้ว 9 ประเทศ โดยมี 46 ประเทศเข้าร่วม ยกเว้นอิสราเอลซึ่งถูกกีดกันออกจากเอเชียนเกมส์ หลังจากที่เข้าร่วมเป็นคราวสุดท้ายใน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 7 ที่ประเทศอิหร่าน สำหรับเอเชียนเกมส์ครั้งหลังสุดได้จัดขึ้นที่นครอินช็อนของเกาหลีใต้ระหว่างวันที่ 19 กันยายน-4 ตุลาคม พ.ศ. 2557 (ค.ศ. 2014) และการแข่งขันครั้งต่อไป จะจัดขึ้นที่กรุงจาการ์ตาของอินโดนีเซีย ในปี พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018).

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนเกมส์ · เอเชียนเกมส์และเอเชียนเกมส์ 1978 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1974

อเชียนเกมส์ 1974 เป็นการแข่งขันเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 7 จัดขึ้นที่กรุงเตหะราน ประเทศอิหร่านระหว่างวันที่ 1 – 16 กันยายน 2517 ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้เกือบต้องล้มคว่ำลงกลางคันเนื่องจากอิหร่านและญี่ปุ่นได้นำข้อเสนอเข้าที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสหพันธ์เอเชี่ยนเกมส์ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 17 – 18 กันยายน 2516 ให้ที่ประชุมพิจารณารับเอาประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าเป็นสมาชิกแต่มีเงื่อนไขว่า สหพันธ์ฯ ต้องขับจีนชาติออกจากการเป็นสมาชิก ผลปรากฏว่ากรรมการบริหาร 4 คน ได้เดินออกจากที่ประชุม ในที่สุดจากการวิ่งเต้นของอิหร่านและญี่ปุ่นจึงทำให้การรับรองสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าเป็นสมาชิกสหพันธ์ฯ ก็ผ่านไปด้วยดี ดังนั้น การแข่งขันครั้งที่ 7 จึงมีประเทศเข้าร่วมการแข่งขัน 19 ประเทศ มีนักกีฬาเข้าแข่งขันทั้งหมด 16 ชนิด คือ กรีฑา แบดมินต้น บาสเกตบอล มวย จักรยาน ฟุตบอล ฟันดาบ ยิมนาสติคส์ ฮอกกี้ ลอนเทนนิส ยิงปืน ว่ายน้ำ เทเบิลเทนนิส วอลเลย์บอล ยกน้ำหนัก และมวยปล้ำ.

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนเกมส์ 1974 · เอเชียนเกมส์ 1974และเอเชียนเกมส์ 1978 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1982

อเชียนเกมส์ 1982 เป็นการแข่งขัน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 9 จัดขึ้นที่ กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย ต้นกำเนิดกีฬาเอเชียนเกมส์ ระหว่างวันที่ 19 พฤศจิกายน ถึง 4 ธันวาคม..

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนเกมส์ 1982 · เอเชียนเกมส์ 1978และเอเชียนเกมส์ 1982 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนเกมส์ 1978

ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์ มี 56 ความสัมพันธ์ขณะที่ เอเชียนเกมส์ 1978 มี 40 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 7.29% = 7 / (56 + 40)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศจีนในเอเชียนเกมส์และเอเชียนเกมส์ 1978 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »