โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

บะกุและเสือ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง บะกุและเสือ

บะกุ vs. เสือ

วาดบะกุในสมัยญี่ปุ่นโบราณ บะกุ (แปลว่า "สมเสร็จ") เป็นปีศาจในความเชื่อของชาวญี่ปุ่น เป็นปีศาจที่คอยกินฝันร้ายของผู้คน เชื่อกันว่าบะกุนั้น มีรูปร่างคล้ายหมี และมีส่วนผสมของสัตว์หลายชนิด เช่น มีหน้าผากมีนอคล้ายแรด มีจมูกเป็นงวงคล้ายช้าง มีเท้าเหมือนเสือ มีหางเหมือนวัว ชาวญี่ปุ่นโบราณเชื่อว่า เมื่อมีฝันร้ายหรือลางร้าย ซึ่งสิ่งเหล่านี้เกิดจากการกระทำของปีศาจ เช่น จานชามเกิดบิ่นหรือแตกหักเองโดยไม่มีใครทำ กาต้มน้ำส่งเสียงดังเหมือนคนร้อง เสื้อผ้าปรากฏรอยเลือด หรือหูสุนัขที่ลู่ไปข้างหลัง เป็นต้น ให้ท่องคาถาว่า "บะกุ คุระเอะ" ซึ่งแปลว่า "บะกุ จงมากินฝันร้ายของข้า" 3 ครั้ง บะกุจะมากินฝันร้ายนั้นให้ และกลับจากร้ายเป็นดี ปีศาจทั้งหลายจะถูกสูบลงไปในพื้นดินลึก 3 ฟุต ความเชื่อเรื่องบะกุ สะท้อนออกมา ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น หมอนไม้ชนิดหนึ่งมีสลักเป็นตัวหนังสือที่มีความหมายถึง บะกุ เป็นต้น เชื่อว่าถ้านอนหนุนด้วยหมอนนี้แล้วจะไม่ฝันร้าย เชื่อกันว่า ความเชื่อเรื่องบะกุมีที่มาจากจีน ในช่วงยุคราชวงศ์ถัง มีการวางภาพวาดของบาคุไว้ที่หัวนอน เพื่อเป็นการปกป้องคุ้มครองยามหลับ นอกจากนี้ถ้าหากใช้ผ้าห่มที่ทำจากหนังของบะกุจะช่วยรักษาอาการเจ็บป่วย และรอดพ้นจากปีศาจร้ายทั้งหล. ือ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ฟิลิดีซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมวโดยชนิดที่เรียกว่าเสือมักมีขนาดลำตัวค่อนข้างใหญ่กว่าและอาศัยอยู่ภายในป่า ขนาดของลำตัวประมาณ 168 - 227 เซนติเมตรและหนักประมาณ 180 - 245 กิโลกรัม รูม่านตากลม เป็นสัตว์กินเนื้อกลุ่มหนึ่ง มีลักษณะและรูปร่างรวมทั้งพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ แตกต่างจากสัตว์ในกลุ่มอื่น หากินเวลากลางคืน มีถิ่นกำเนิดในป่า เสือส่วนใหญ่ยังคงมีความสามารถในการปีนป่ายต้นไม้ ซึ่งยกเว้นเสือชีต้า เสือทุกชนิดมีกรามที่สั้นและแข็งแรง มีเขี้ยว 2 คู่สำหรับกัดเหยื่อ ทั่วทั้งโลกมีสัตว์ที่อยู่ในวงศ์เสือและแมวประมาณ 37 ชนิด ซึ่งรวมทั้งแมวบ้านด้วย เสือจัดเป็นสัตว์นักล่าที่มีความสง่างามในตัวเอง โดยเฉพาะเสือขนาดใหญ่ที่แลดูน่าเกรงขราม ไม่ว่าจะเป็นเสือโคร่งหรือเสือดาว ผู้ที่พบเห็นเสือในครั้งแรกย่อมเกิดความประทับใจในความสง่างาม แต่ในขณะเดียวกันก็เกิดความหวาดหวั่นเกรงขามในพละกำลังและอำนาจภายในตัวของพวกมัน เสือจึงได้รับการยกย่องให้เป็นราชาแห่งสัตว์ปา และเป็นจ้าวแห่งนักล่าอย่างแท้จริง เสือ จ้าวแห่งนักล่า, ศลิษา สถาปรวัฒน์, ดร.อลัน ราบิโนวิทซ์, สำนักพิมพ์สารคดี, 2538, หน้า 14 ปัจจุบันจำนวนของเสือในประเทศไทยลดจำนวนลงเป็นอย่างมากในระยะเวลาไม่ถึง 10 ปี เสือกลับถูกล่า ป่าภายในประเทศถูกทำลายเป็นอย่างมาก สภาพธรรมชาติในพื้นที่ต่าง ๆ ถูกเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ของมนุษย์เอง ทุกวันนี้ปริมาณของเสือที่จัดอยู่ในลำดับสุดท้ายของห่วงโซ่อาหารถือเป็นสิ่งจำเป็น เพราะการสูญสิ้นหรือลดจำนวนลงอย่างมากของเสือซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อ จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและระบบนิเวศทั้งหมด การลดจำนวนอย่างรวดเร็วของเสือเพียงหนึ่งหรือสองชนิดในประเทศไทย ทำให้ปริมาณของสัตว์กินพืชเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว จนทำให้ธรรมชาติเสียความสมดุลในที.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง บะกุและเสือ

บะกุและเสือ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): หมีความเชื่อปิศาจ

หมี

หมี จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กินเนื้อ จัดอยู่ในวงศ์ Ursidae ออกลูกเป็นตัว ตาและใบหูกลมเล็ก ริมฝีปากยื่นแยกห่างออกจากเหงือก สามารถยืนและเดินด้วยขาหลังได้ ประสาทการดมกลิ่นดีกว่าประสาทตาและหู กินได้ทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร.

บะกุและหมี · หมีและเสือ · ดูเพิ่มเติม »

ความเชื่อ

วามเชื่อ (belief) หมายถึง การยอมรับว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นความจริง หรือมีการดำรงอยู่จริง โดยอาศัยประสบการณ์ตรง การไตร่ตรอง หรือการอนุมาน.

ความเชื่อและบะกุ · ความเชื่อและเสือ · ดูเพิ่มเติม »

ปิศาจ

ปีศาจ (ปิศาจ; demon) หมายถึง ผี วิญญาณชั่วร้ายให้โทษ ตรงข้ามกับเทวดาหรือทูตสวรรค์ซึ่งเป็นวิญญาณฝ่ายดีและให้คุณ เป็นคติที่มักพบในศาสนา เรื่องลี้ลับ วรรณกรรม บันเทิงคดี เรื่องปรัมปรา และนิทานพื้นบ้าน.

บะกุและปิศาจ · ปิศาจและเสือ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง บะกุและเสือ

บะกุ มี 10 ความสัมพันธ์ขณะที่ เสือ มี 169 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 1.68% = 3 / (10 + 169)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง บะกุและเสือ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »