สารบัญ
237 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษบลิทซ์ครีกบอลข่านบอลเชวิกชาวรัสเซียชาวโรมานีบาศกนิยมชตูร์มับไทลุงฟรันซิสโก ฟรังโกฟริทซ์ ท็อดท์ฟรีเมสันฟือเรอร์ฟือเรอร์บุงเคอร์พยานพระยะโฮวาพรรคกรรมกรเยอรมันพรรคประชาชนแห่งชาติเยอรมันพรรคนาซีพระมหากษัตริย์อิตาลีพอเมอเรเนียพาร์เธนอนกบฏโรงเบียร์กฎหมายเนือร์นแบร์กกฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาคกลุ่มชนเจอร์แมนิกกลุ่มล้ำยุคกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำกองทัพบกเยอรมัน (เวร์มัคท์)กองทัพแดงการบุกครองโปแลนด์การชุมนุมที่เนือร์นแบร์คการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์คการรณรงค์งดสูบบุหรี่ในนาซีเยอรมนีการทัพตูนิเซียการทัพนอร์เวย์การทัพแอฟริกาเหนือการทำความเคารพฮิตเลอร์การขจัดนาซีการคัดเลือกโดยธรรมชาติการต่อต้านยิวการประชุมพ็อทซ์ดัมการประชุมที่วานเซการแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้ายการแท้งกดัญสก์กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์นกติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพฝ่ายอักษะฝ่ายปกครองทหาร (นาซีเยอรมนี)ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ภาษาเยอรมัน... ขยายดัชนี (187 มากกว่า) »
- ฝ่ายอักษะ
- ระบอบนาซี
- รัฐฟาสซิสต์
- รัฐสิ้นสภาพในทวีปยุโรป
- รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2476
บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ
ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.
ดู นาซีเยอรมนีและบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ
บลิทซ์ครีก
วามเสียหายหลังจากบลิทซ์ครีก บลิทซ์ครีก (Blitzkrieg) การโจมตีสายฟ้าแลบ เป็นคำแผลงเป็นอังกฤษ เป็นปฏิบัติการร่วมทางยุทธวิธีของกองทัพนาซีเยอรมันนีในสงครามโลกครั้งที่สอง โดยรวมแสนยานุภาพทั้งทางภาคพื้นดินและในอากาศเข้าด้วยกัน คำว่า บลิทซ์ครีก เป็นอธิบายการโจมตีอย่างรวดเร็ว ประกอบด้วยการทิ้งระเบิดโดยเครื่องบินรบก่อนที่จะใช้ยานเกราะบุกเข้าโจมตีตามอย่างรวดเร็ว และสร้างความประหลาดใจให้กับฝ่ายข้าศึก ทำให้ฝ่ายตั้งรับไม่มีเวลาที่จะเตรียมการป้องกันใด ๆ เลย แนวคิดบลิทซ์ครีกนั้นได้รับการพัฒนาโดยชาติต่าง ๆ ระหว่างศตวรรษที่ 20 และถูกนำออกมาใช้หลายปีหลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยเยอรมนีมากที่สุด เพื่อเป็นการป้องกันการทำศึกยืดเยื้อ บลิทซ์ครีกที่โดดเด่นในประวัติศาสตร์การทหาร คือ ช่วงต้นสงครามโลกครั้งที่สอง นำโดยพลเอกไฮนซ์ กูเดเรียน บลิทซ์ครีกของฝ่ายเยอรมนีนั้นมีประสิทธิภาพมากในแนวรบด้านตะวันตกและในแนวรบด้านตะวันออกช่วงแรก ๆ ทำให้กองทัพส่วนใหญ่ไม่ทันระวังตัว และขาดการป้องกันซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการรบของฝ่ายเยอรมนี.
บอลข่าน
แผนที่ทางอากาศของคาบสมุทรบอลข่าน คาบสมุทรบอลข่าน (Balkans) เป็นชื่อทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ หมายถึงดินแดนทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 550,000 ตร.กม.
บอลเชวิก
การประชุมพรรคบอลเชวิก บอลเชวิก (Bolshevik "บอลเชอวิก"; большеви́к "บาลชือวิก") แผลงมาจากคำว่าБольшинство แปลว่า ส่วนใหญ่ หรือ หมู่มาก บอลเชวิก หมายถึงสมาชิกของกลุ่ม ๆ หนึ่งภายในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (RSDLP ย่อมาจาก Russian Social Democratic Labour Party) ซึ่งนิยมลัทธิมากซ์ กลุ่มนี้นำโดยเลนิน ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า меньшевик เมนเชวิก ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย Меньшинство แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิกนำโดย จูเลียส มาร์ตอฟ เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุงบรัสเซลส์และลอนดอน เมื่อปี ค.ศ.
ชาวรัสเซีย
วรัสเซีย (русские) เป็นกลุ่มคนเผ่าพันธุ์สลาฟ ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศรัสเซีย โดยประชากรส่วนใหญ่พูดภาษารัสเซี.
ชาวโรมานี
รมานี (Rromane, Romani people หรือ Romany หรือ Romanies หรือ Romanis หรือ Roma หรือ Roms) หรือมักถูกเรียกโดยผู้อื่นว่า ยิปซี (Gypsy) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ของยุโรปที่สืบเชื้อสายมาจากยุคกลางของอินเดีย (Middle kingdoms of India) โรมานีเป็นชนพลัดถิ่น (Romani diaspora) ที่ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในยุโรปโดยเฉพาะกลุ่มโรมาซึ่งเป็นชนกลุ่มย่อยในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก และกลุ่มใหม่ที่ไปตั้งถิ่นฐานในอเมริกา และบางส่วนในดินแดนต่างๆ ทั่วโลก ภาษาโรมานีแบ่งออกไปเป็นสาขาท้องถิ่นหลายสาขาที่มีผู้พูดราวกว่าสองล้านคน แต่จำนวนประชากรที่มีเชื้อสายโรมานีทั้งหมดมากกว่าผู้ใช้ภาษากว่าสองเท่า ชาวโรมานีอื่นพูดภาษาของท้องถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานหรือภาษาผสมระหว่างภาษาโรมานีและภาษาท้องถิ่นที่พำนัก.
บาศกนิยม
ผลงานแบบบาศกนิยม บาศกนิยม (cubism) เป็นลัทธิการสร้างสรรค์ศิลปะที่ได้รับผลสะท้อนมาจากอิทธิพลด้านความเจริญทางวิทยาศาสตร์ และจากลักษณะรูปแบบหน้ากากของชนเผ่าดั้งเดิมในแอฟริกา ซึ่งได้ปลุกเร้าการสร้างสรรค์แบบใหม่ รวมทั้งลักษณะการของศิลปินสมัยใหม่ที่พยายามแสวงหาลักษณะเฉพาะตัวให้กับตนเอง เพื่อไม่ให้ทับซ้อนกับลักษณะรูปแบบศิลปะกลุ่มอื่นที่ผ่านมาหรือที่มีอยู่ในยุคนั้น ซึ่งมีหลักสุนทรียภาพที่แสดงรูปทรงศิลปะในลักษณะผันแปรความจริง โดยให้มีลักษณะเป็นเหลี่ยมมุม เป็นลูกบาศก์ เป็นทรงเรขาคณิต เพื่อสร้างความคิดรวบยอดเชิงสามมิติให้ปรากฏในผืนระนาบสองมิติหรือสามมิติ แสดงออกทั้งงานจิตรกรรมและประติมากรรม หากเป็นงานจิตรกรรมรูปแบบผลงานก็จะสามารถแสดงลักษณะปรากฏทั้งด้านหน้า ด้านข้าง และด้านหลังบนพื้นระนาบไปพร้อมกัน บางทีก็แสดงการทับซ้อนและปิดบังระหว่างกัน รวมทั้งมีการตัดทอนรูปทรงให้ดูง่ายขึ้นกว่ารูปจริงของวัตถุหรือสภาวะที่แท้จริงของรูปทรงนั้น ๆ ด้ว.
ชตูร์มับไทลุง
ตูร์มับไทลุง (Sturmabteilung; ชื่อย่อ เอสเอ (SA);; แปลว่า "กองกำลังพายุ") เป็นหน่วยกองกำลังกึ่งทหารเดิมของพรรคนาซี หน่วยเอสเอมีบทบาทสำคัญในการก้าวขึ้นสู่อำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในทศวรรษที่ 1920 ถึง 1930 โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการคุ้มกันการเคลื่อนทัพและการระดมพลของนาซี เข้าก่อกวนการประชุมพรรคฝ่ายค้าน สู้กับหน่วยกึ่งทหารของฝ่ายตรงข้าม เช่น สันนิบาตนักสู้แนวหน้าสีแดง (Rotfrontkämpferbund) ของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี รวมถึงสร้างความหวาดกลัวให้แก่ชาวสลาวิกและโรมัน กลุ่มลัทธิ และกลุ่มยิว เช่นในช่วงการคว่ำบาตรชาวยิวของนาซี กลุ่มเอสเอบ้างก็รู้จักในยุคสมัยนั้นว่าพวกชุดกากี (Braunhemden) ทำนองเดียวกับกลุ่มชุดดำของมุโสลินี กลุ่มเอสเอมียศกึ่งทหารเป็นของตนเองซึ่งนำไปใช้กับกลุ่มนาซีหลายกลุ่ม โดยกลุ่มที่เป็นหัวหน้าก็เช่นกลุ่มชุทซ์ชทัฟเฟิล ซึ่งเคยอยู่ภายใต้กลุ่มเอสเอก่อนแยกตัวออกมาภายหลัง เหตุที่ใช้ชุดกากีเพราะว่าในสงครามโลกครั้งที่ 1 มีชุดเหล่านี้จำนวนมากและราคาถูก เพราะได้เคยมีการสั่งชุดนี้สำหรับทหารประจำอาณานิคมของดินแดนอาณานิคมของเยอรมัน กลุ่มเอสเอสูญเสียอำนาจหลังจากฮิตเลอร์สั่งให้มีการฆ่าล้างอย่างโหดเหี้ยมในเหตุการณ์คืนมีดยาว (die Nacht der langen Messer) และถูกแทนที่โดยกลุ่มเอสเอส แต่กลุ่มเอสเอก็ยังไม่ถูกเลิกถาวรจนกระทั่วอาณาจักรไรซ์ที่ 3 ยอมจำนนต่อฝ่ายสัมพันธมิตรในปี 1945.
ดู นาซีเยอรมนีและชตูร์มับไทลุง
ฟรันซิสโก ฟรังโก
ฟรันซิสโก เปาลีโน เอร์เมเนคิลโด เตโอดูโล ฟรังโก อี บาอามอนเด ซัลกาโด ปาร์โด (Francisco Paulino Hermenegildo Teódulo Franco y Bahamonde Salgado Pardo) หรือที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อ จอมพลฟรันซิสโก ฟรังโก (Francisco Franco) และ เอลโกว์ดีโย หรือ "ท่านผู้นำ" (El Coudillo) (เกิด 4 ธันวาคม พ.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและฟรันซิสโก ฟรังโก
ฟริทซ์ ท็อดท์
รัฐมนตรีแห่งไรซ์ ฟริทซ์ ท็อดท์ในเครื่องแบบหน่วยเอสเอ,ค.ศ. 1940 ฟริทซ์ ท็อดท์ (Fritz Todt) เป็นช่างวิศวกรการก่อสร้างชาวเยอรมัน, เจ้าหน้าที่นาซีระดับอาวุธโสซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็น "ผู้ตรวจการใหญ่ทางหลวงเยอรมัน" ซึ่งคอยดูแลควบคุมการก่อสร้างออโตบาห์นในเยอรมัน ต่อมาได้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุทโธปกรณ์และสรรพาวุธแห่งไรช์ เป็นผู้นำแนวคิดเศรษฐกิจแบบการทหารนำในช่วงเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้ก่อตั้งองค์การของฮิตเลอร์ภายใต้ชื่อว่า "องค์การท็อดท์" กลุ่มวิศวกรรมทางทหารซึ่งได้จัดหาโรงงานอุตสาหกรรมโดยแรงงานเกณฑ์และบริหารการจัดการก่อสร้างทั้งหมดของค่ายกักกันในช่วงสุดท้ายของจักรวรรดิไรซ์ที่สาม เขาได้เสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุเครื่องบินตกในปี..
ดู นาซีเยอรมนีและฟริทซ์ ท็อดท์
ฟรีเมสัน
ัญลักษณ์ไม้ฉากและวงเวียนของ “องค์กรฟรีเมสัน” องค์กรฟรีเมสัน (Freemasonry) เป็นองค์กรภราดรภาพที่มีที่มาของเบื้องหลังอันลึกลับตั้งแต่ราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 จนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 องค์กรฟรีเมสันในปัจจุบันมีด้วยกันหลายรูปหลายแบบในประเทศต่างๆ ทั่วโลก โดยมีสมาชิกประมาณ 5 ล้านคนที่รวมทั้งเกือบ 2 ล้านคนในสหรัฐอเมริกา และราว 480,000 คนในอังกฤษ, สกอตแลนด์ และ ไอร์แลนด์ แต่ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดองค์กรฟรีเมสันจะถือปรัชญาจริยธรรม และอภิปรัชญาเดียวกันที่ในเกือบทุกกรณีก็จะเป็นการประกาศธรรมนูญของความเชื่อใน “ผู้เหนือสิ่งทั้งปวง” (Supreme Being) องค์กรฟรีเมสันจัดระบบบริหารเป็นหน่วยที่เรียกว่า “แกรนด์ลอดจ์” (Grand Lodges) หรือ “แกรนด์โอเรียนท์” (Grand Orients) แต่ละหน่วยก็จะมีอำนาจบริหารเครือข่ายของตนเอง ที่ประกอบด้วยหน่วยย่อยหรือ “Constituent Lodges” แกรนด์ลอดจ์บ่งตนเองระหว่างกันได้โดยกระบวนการที่เรียกว่า “บัญญัติเมสัน” (Masonic Landmarks) และ “ระเบียบเมสัน” (Regular Masonic jurisdictions) นอกจากนั้นก็ยังมี “องค์กรเมสันย่อย” (Masonic bodies) ที่มีความสัมพันธ์กันองค์กรหลักแต่มีระบบการบริหารของตนเอง องค์กรฟรีเมสันใช้อุปลักษณ์ของเครื่องมือช่างหินและวัดโซโลมอนที่ทั้งสมาชิกขององค์กรและผู้วิพากษ์กล่าวว่าเป็น “ระบบของจริยธรรมที่พรางอยู่เบื้องหลังอุปมานิทัศน์ ที่ออกมาในรูปของสัญลักษณ์” องค์กรฟรีเมสัน เป็นองค์กรภราดรภาพ ที่มีประวัติความเป็นมายาวนานย้อนไปถึงต้นกำเนิดคือ องค์กรภราดรภาพของพวกช่างหินตามท้องถิ่นต่างๆ เมื่อปลายศตวรรษที่ 14 ที่มีหน้าที่คอยควบคุมดูแลมาตรฐานฝีมือการทำงานของพวกช่างหิน และเป็นองค์กรกลางที่คอยประสานงาน กับผู้ปกครอง และลูกค้า ของพวกเขา ระดับขั้นของฟรีเมสัน แบ่งออกเป็นสามระดับ ตามระดับการแบ่งฝีมือของช่างหินโดยสมาคมช่างหิน (mason guild) ในยุคกลางของยุโรป ดังนี้ ช่างฝึกหัด (Apprentice) ช่างฝีมือ (Journeyman or fellow (now called Fellowcraft)) เป็นช่างที่ผ่านการฝึก และได้รับการพิสูจน์ว่ามีฝีมือแล้วจะได้รับใบแสดงความสามารถที่จะเดินทางไปทำงานในที่อื่นๆได้) และ นายช่าง (Master Mason) เป็นผู้ที่มีฝีมือโดดเด่น และได้รับเลือกจากสมาชิกสมาคมให้เป็นผู้นำ ในปัจจุบันองค์กรฟรีเมสัน ที่เราเรียกว่า Blue Lodge ซึ่งเป็นองค์กรฐานรากของฟรีเมสัน เป็นผู้แต่งตั้งระดับเหล่านี้ให้กับสมาชิก นอกจากนี้ยังมี ระดับเพิ่มเติมไปอีกหลายระดับ แตกต่างกันไปตาม พื้นที่ปกครองของ Grand Lodge ต่างๆ โดยระดับเพิ่มเติมนี้มักจะตั้งองค์กรของตัวเองควบคุมขึ้นมาโดยเฉพาะ โดยพื้นฐานแล้ว หน่วยที่เล็กที่สุดของฟรีเมสัน คือ สภาฟรีเมสันท้องถิ่น หรือเรียกว่าลอดจ์ (Lodge) โดยจะถูกกำกับดูแล โดย สภาฟรีเมสันระดับภาค หรือประเทศ หรือเรียกว่า แกรนด์ลอดจ์ หรือ แกรนด์ โอเรียนท์ (Grand Lodge or Grand Orient) โดยส่วนมาก แบ่งพื้นที่เป็น ประเทศ จังหวัด แคว้น หรือมลรัฐ เช่นใน สหรัฐอเมริกา แบ่งพื้นที่ออกเป็นมลรัฐ ฟรีเมสันไม่มีองค์กรกลางระดับนานาชาติที่เข้ามาควบคุมหรือเป็นตัวแทนของ ฟรีเมสันทั้งหมด โดยแต่ละแกรนด์ลอดจ์ มีอิสระที่จะกำหนดข้อกำหนดเอง และมีสิทธิ์ที่จะรับรู้รับรองการมีอยู่ของแกรนด์ลอดจ์ อื่นๆ โดยอิสระ ในปัจจุบัน องค์กรฟรีเมสัน มีอยู่สองแบบ ด้วยกัน คือ องค์กรฟรีเมสันแบบปกติ (Regular Freemason) เป็นองค์กรฟรีเมสันที่เมื่อมีการประกอบพิธีการประชุมของลอดจ์ ต้องเปิดคัมภีร์ทางศาสนา กลางห้องประชุมเสมอ อีกทั้งทุกคนที่จะเข้ามาเป็นสมาชิก ต้องเชื่อในสิ่งที่ดำรงอยู่สูงสุด (นับถือศาสนา) ไม่รับสมาชิกผู้หญิง และการพูดคุยถกเถียงกันใน เรื่องการเมืองและศาสนา ในลอดจ์ เป็นเรื่องต้องห้าม อีกประเภทหนึ่งคือ ฟรีเมสันแบบภาคพื้น (Continental Freemason) หรือเรียกกันว่า ฟรีเมสันแบบเสรีนิยม โดยลอดจ์ที่เป็นฟรีเมสันแบบเสรีนิยมจะแก้ไขเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบบ้างส่วน ที่เป็นหลักยึดถือของฟรีเมสันแบบปกติ เช่นการรับผู้หญิง หรือผู้ไม่นับถือศาสนาเป็นสมาชิก หรือสามารถพูดคุยเรื่อง ศาสนา และการเมืองในลอดจ์ได้ เป็นต้น โดยฟรีเมสันแบบนี้เกิดขึ้นในภาคพื้นยุโรป คือประเทศฝรั่งเศสเป็นสำคัญ .
ฟือเรอร์
ฟือเรอร์ (Führer) ในภาษาเยอรมัน หมายถึง "ผู้นำ" โดยคำว่า "ฟือเรอร์" มักจะหมายถึง ฉายาของผู้นำนาซีเยอรมนี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และเป็นตำแหน่งสำคัญในคณะรัฐบาลสมัยนาซีเยอรมนี และองค์กรกึ่งทหาร (โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยเอ็สเอ็ส) โดยคำดังกล่าวเป็นการเอาอย่างจากคำว่า อิลดูเช ในภาษาอิตาลี ซึ่งมีความหมายอย่างเดียวกัน.
ฟือเรอร์บุงเคอร์
ำลองแผนผังของบุงเคอร์ฟือเรอร์ใต้ทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ ฟือเรอร์บุงเคอร์ (Führerbunker "บังเกอร์ท่านผู้นำ") เป็นที่หลบภัยการโจมตีทางอากาศ ตั้งอยู่ในสวนของทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ในกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี แบ่งการก่อสร้างออกเป็นสองเฟส คือในปี 1936 และ 1944 ฮิตเลอร์เข้าพำนักในฟือเรอร์บุงเคอร์เมื่อวันที่ 16 มกราคม..
ดู นาซีเยอรมนีและฟือเรอร์บุงเคอร์
พยานพระยะโฮวา
นพระยะโฮวา (Jehovah's Witnesses) คือชื่อเรียกที่มาจากคัมภีร์ไบเบิล อิสยาห์ บทที่ 43 ข้อ 10 ที่ใช้ชื่อนี้เพราะพวกเขาเป็นผู้ที่เป็นพยานให้กับพระยะโฮวา ในเรื่องที่ว่าพระยะโฮวาเป็นพระเจ้าองค์เที่ยงแท้องค์เดียวเป็นผู้เดียวที่สมควรได้รับการนมัสการจากสิ่งมีเชาว์ปัญญาทั้งหลาย และยังเป็นพยานให้กับสิ่งที่พระยะโฮวาได้ทรงทำแล้วในอดีตจนถึงปัจจุบัน.
ดู นาซีเยอรมนีและพยานพระยะโฮวา
พรรคกรรมกรเยอรมัน
รรคกรรมกรเยอรมัน (Deutsche Arbeiterpartei, ย่อ DAP) เป็นพรรคการเมืองเยอรมันซึ่งได้ถูกก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู นาซีเยอรมนีและพรรคกรรมกรเยอรมัน
พรรคประชาชนแห่งชาติเยอรมัน
รรคประชาชนแห่งชาติเยอรมัน(DNVP)เป็นพรรคฝ่ายอนุรักษ์นิยมแห่งชาติในเยอรมนีในช่วงสาธารณรัฐไวมาร.ก่อนที่พรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน(NSDAP)ยึดครองอำนาจ เป็นพรรคอนุรักษ์นิยมที่สำคัญและชาตินิยมในสาธารณรัฐไวมาร์แห่งเยอรมนี.เป็นการร่วมมือกันของฝ่ายชาตินิยม,ฟื้นฟูระบอบกษัตริย์, völkisch,และต่อต้านชาวยิวและสนับสนุนต่ออุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน(Pan-German League).
ดู นาซีเยอรมนีและพรรคประชาชนแห่งชาติเยอรมัน
พรรคนาซี
รรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (Nationalsozialistische Deutsche Arbeiterpartei, ย่อ: NSDAP) หรือ พรรคนาซี เดิมมีผู้เข้าร่วมเพียง 7 คน เป็นพรรคการเมืองที่ปกครองประเทศเยอรมนีช่วงไรช์ที่สาม ตั้งแต..
พระมหากษัตริย์อิตาลี
มงกุฎเหล็กแห่งลอมบาร์เดียที่ใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 พระมหากษัตริย์อิตาลี (rex Italiae, re d'Italia, King of Italy) เป็นตำแหน่งที่ใช้สำหรับประมุขผู้ครองคาบสมุทรอิตาลีมาตั้งแต่การล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน แต่ก็ไม่มีพระมหากษัตริย์องค์ใดที่ปกครองคาบสมุทรอิตาลีทั้งหมดมาจนถึง สมเด็จพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 2 ในปี..
ดู นาซีเยอรมนีและพระมหากษัตริย์อิตาลี
พอเมอเรเนีย
แผนที่การแบ่งบริเวณการบริหารของพอเมอเรเนียปัจจุบัน พอเมอเรเนีย (Pomerania; Pommern; Pomorze; Pòmòrze, Pòmòrskô) เป็นอาณาบริเวณในประวัติศาสตร์ที่ตั้งอยูทางฝั่งใต้ของทะเลบอลติก เป็นบริเวณที่แบ่งระหว่างโปแลนด์กับเยอรมนีปัจจุบัน ภูมิภาคพอเมอเรเนียครอบคลุมตั้งแต่แม่น้ำเรคนิทซ์ (Recknitz) ใกล้เมืองชตรัลซุนด์ทางตะวันตก ไปทางปากแม่น้ำโอเดอร์ไกล้เมืองชเชตชีน ไปยังปากแม่น้ำวิสตูลาไกล้เมืองกดัญสก์ (Gdańsk) ทางตะวันออก ภูมิภาคพอเมอเรเนียเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชาวโปแลนด์ ชาวเยอรมัน และชาวคาชูเบีย (Kashubians) เป็นบริเวณที่ได้รับผลกระทบกระเทือนอย่างหนักในคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเมื่อมีการเคลื่อนย้ายประชากร พอเมอเรเนียเป็นที่ราบต่ำของที่ราบยุโรปเหนือ (North European Plain) นอกไปจากศูนย์กลางชุมชนของเมืองใหญ่สองสามเมืองแล้ว ดินที่มีคุณภาพต่ำก็ใช้ในการทำไร่ สลับกับดินแดนที่เป็นทะเลสาบเล็ก ๆ อยู่ประปราย ป่า และเมืองเล็ก ๆ การเกษตรกรรมที่สำคัญก็ได้แก่การเลี้ยงปศุสัตว์ การทำป่า การประมง และการปลูกธัญพืช, หัวบีตที่ใช้ทำน้ำตาลและมันฝรั่ง ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวก็เป็นส่วนสำคัญของเศรษฐกิจของบริเวณนี้จากการมีบริเวณพักตากอากาศริมฝั่งทะเล ส่วนบริเวณอุตสาหกรรมอันจำกัดที่สำคัญก็มีการต่อเรือ การผลิตโลหะ น้ำตาล และกระดาษ.
พาร์เธนอน
วิหารพาร์เธนอน (Παρθενών) คือวิหารโบราณบนเนินอะโครโพลิสในกรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ สร้างเพื่อเป็นศาสนสถานบูชาเทพีอาธีน่า หรือเทพีแห่งปัญญา ความรอบรู้ ในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสต์ศักราช เป็นสิ่งก่อสร้างสถาปัตยกรรมกรีกโบราณที่มีชื่อเสียงที่สุด แสดงให้เห็นถึงความเฉลียวฉลาดของสถาปนิกในสมัยนั้นและถือได้ว่าเป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก มีขนาดกว้าง 101.4 ฟุต หรือ 30.9 เมตร และ ยาว 228.0 ฟุต หรือ 69.5 เมตร คำว่า พาร์เธนอน นั้นน่าจะมาจากประติมากรรมที่เคยตั้งอยู่ภายในวิหาร คือ Athena Parthenos ซึ่งมีความหมายว่า เทพีอันบริสุท.
กบฏโรงเบียร์
กบฏโรงเบียร์ ยังได้เป็นที่รู้จักกันคือ กบฏมิวนิก(Munich Putsch), และในเยอรมัน ได้ถูกเรียกว่า กบฏฮิตเลอร์(Hitlerputsch)หรือกบฏฮิตเลอร์-ลูเดนดอฟฟ์(Hitler-Ludendorff-Putsch) เป็นความพยายามก่อการปฏิวัติอันล้มเหลวโดยหัวหน้าพรรคนาซี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์-พร้อมกับเจ้ากรมพลาธิการ (Generalquartiermeister) แอริช ลูเดินดอร์ฟ และผู้นำหัวหน้าคัมพฟ์บุนด์คนอื่น ๆ -เพื่อยึดอำนาจในมิวนิก บาวาเรีย ในช่วงระหว่างวันที่ 8-9 พฤศจิกายน..
กฎหมายเนือร์นแบร์ก
รชกิจจานุเบกษา (Reichsgesetzblatt) เล่ม 100 ซึ่งลงประกาศกฎหมายนี้ ออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 1935 กฎหมายเนือร์นแบร์ก (Nürnberger Gesetze; Nuremberg Laws) เป็นกฎหมายการต่อต้านยิวในนาซีเยอรมนี ซึ่งเสนอต่อไรชส์ทาค เมื่อวันที่ 15 กันยายน..
ดู นาซีเยอรมนีและกฎหมายเนือร์นแบร์ก
กฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาค
ประกาศของตำรวจอันเป็นผลมาจากกฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาค คำสั่งประธานาธิบดีไรช์ว่าด้วยการป้องกันประชาชนและรัฐ หรือรู้จักกันในชื่อ กฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาค (Reichstagsbrandverordnung) เป็นคำสั่งของฝ่ายบริหารที่เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก ประธานาธิบดีเยอรมนี ออกเพื่อตอบโต้เหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค เมื่อวันที่ 27 กุมภาพัน..
ดู นาซีเยอรมนีและกฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาค
กลุ่มชนเจอร์แมนิก
การประชุมของสภาทิง (Thing) ของชนเจอร์แมนิก วาดจากภาพแกะนูนบนคอลัมน์มาร์คัส ออเรลิอัส (Marcus Aurelius) (ค.ศ. 193) กลุ่มชนเจอร์แมนิก (Germanic peoples) เป็นกลุ่มชนในประวัติศาสตร์ที่เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือของยุโรปที่พูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนซึ่งแยกมาจากกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกดั้งเดิมในช่วงสมัยก่อนยุคเหล็กก่อนโรมัน ผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากกลุ่มชนนี้กลายมาเป็นต้นตระกูลของชาติพันธุ์ต่าง ๆ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปซึ่งได้แก่ ชาวสวีเดน, ชาวเดนมาร์ก, ชาวนอร์เวย์, ชาวอังกฤษ, ชาวไอซ์แลนด์, ชาวแฟโร, ชาวเยอรมัน, ชาวออสเตรีย, ชาวดัตช์, ชาวฟรีเซียน, ชาวเฟลมิช, ชาวแอฟริกาเนอร์ และรวมภาษาสกอตด้วย ชนเจอร์แมนิกย้ายถิ่นฐานไปทั่วยุโรปในปลายยุคโบราณตอนปลายระหว่างปี..
ดู นาซีเยอรมนีและกลุ่มชนเจอร์แมนิก
กลุ่มล้ำยุค
กลุ่มล้ำยุค (avant-garde) ในภาษาฝรั่งเศสหมายถึงทหารกองหน้า (แวนการ์ด), Dictionary.com เรียกดูเมื่อ 14 มีนาคม..
กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ
一 ประเทศแผ่นดินต่ำต่างๆ กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ (Low Countries) หมายถึง ภูมิภาคหนึ่งที่อยู่ทางด้านบนของทวีปยุโรป ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของยุโรป สาเหตุที่เรียกว่าประเทศแผ่นดินต่ำนี้ เนื่องจากประเทศเหล่านี้อยู่ในพื่นที่ที่ลาดต่ำมาก คือ ต่ำกว่าน้ำทะเล ทำให้เกิดอุทกภัยได้ง่าย จึงทำให้ประเทศเหล่านี้มีการจัดการกับอุทกภัยที่ดีที่สุด ของโลกก็ว่าได้ พื้นที่ของประเทศที่อยู่ในภูมิภาคประเทศแผ่นดินต่ำ มีดังนี้ เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม ลักเซมเบิร์ก และ ฝรั่งเศส(ทางตอนเหนือ).
ดู นาซีเยอรมนีและกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ
กองทัพบกเยอรมัน (เวร์มัคท์)
กองทัพบกเยอรมันหรือเรียกว่า เฮร์ (Heer) เป็นกองทัพบกเยอรมันในส่วนหนึ่งของกองทัพเวร์มัคท์,กองทัพประจำของเยอรมันในปี 1935 จนกระทั่งถูกปลดและสลายตัวในเดือนสิงหาคม ปี 1946.กองทัพเวร์มัคฺได้รวมถึงครีกซมารีเนอ (กองทัพเรือ),และลุฟท์วัฟเฟอ (กองทัพอากศ).ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง,จำนวนทหารทั้งหมด 13 ล้านนายรับใช้ในกองทัพเยอรมัน.บุคลากรของกองทัพส่วนใหญ่มาจากการเกณฑ.
ดู นาซีเยอรมนีและกองทัพบกเยอรมัน (เวร์มัคท์)
กองทัพแดง
accessdate.
การบุกครองโปแลนด์
การบุกครองโปแลนด์ หรือเรียกการทัพกันยายน (Kampania wrześniowa) หรือสงครามตั้งรับปี 1939 (Wojna obronna 1939 roku) ในโปแลนด์ และ การทัพโปแลนด์ (Polenfeldzug) หรือ ฟัลล์ไวสส์ (Fall Weiss) ในเยอรมนี เป็นการบุกครองโปแลนด์ร่วมโดยเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสโลวาเกียซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป การบุกครองของเยอรมนีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 หนึ่งสัปดาห์ให้หลังการลงนามสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ขณะที่การบุกครองของโซเวียตเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 17 กันยายน 1939 หลังความตกลงโมโลตอฟ-โตโก ซึ่งยุติความเป็นปรปักษ์ระหว่างสหภาพโซเวียตและญี่ปุ่นในภาคตะวันออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน การทัพดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 6 ตุลาคมด้วยเยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแยกและผนวกโปแลนด์ทั้งประเทศตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–โซเวียต กำลังเยอรมนีบุกครองโปแลนด์จากทิศเหนือ ใต้ และตะวันตกในเช้าหลังเกิดกรณีกลิวิซ ขณะที่เวร์มัคท์รุกคืบ กำลังโปแลนด์ถอนจากฐานปฏิบัติการส่วนหน้าติดกับพรมแดนโปแลนด์–เยอรมนีไปแนวป้องกันที่จัดตั้งดีกว่าทางตะวันออก หลังโปแลนด์แพ้ยุทธการที่บึซราเมื่อกลางเดือนกันยายน ทำให้เยอรมนีได้เปรียบแน่นอน จากนั้นกำลังโปแลนด์ถอนตัวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ที่ซึ่งพวกเขาเตรียมการป้องกันระยะยาวที่หัวสะพานโรมาเนียและคอยการสนับสนุนและการช่วยเหลือที่คาดจากฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ทั้งสองประเทศมีสนธิสัญญากับโปแลนด์และประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 กันยายน แต่สุดท้ายแล้วทั้งสองช่วยเหลือโปแลนด์แต่เพียงเล็กน้อย การบุกครองโปแลนด์ตะวันออกของกองทัพแดงโซเวียตเมื่อวันที่ 17 กันยายนตามพิธีสารลับในสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ทำให้แผนการตั้งรับของโปแลนด์ต้องเลิกไป เมื่อเผชิญกับแนวรบที่สอง รัฐบาลโปแลนด์สรุปว่าการป้องกันหัวสะพานโรมาเนียเป็นไปไม่ได้อีกต่อไปและสั่งอพยพกำลังพลฉุกเฉินทั้งหมดไปยังประเทศโรมาเนียที่เป็นกลาง วันที่ 6 ตุลาคม หลังโปแลนด์ปราชัยที่ยุทธการที่ค็อก (Kock) กำลังเยอรมนีและโซเวียตก็ควบคุมโปแลนด์อย่างสมบูรณ์ ความสำเร็จของการบุกครองนี้เป็นจุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง แม้โปแลนด์จะไม่เคยยอมจำนนอย่างเป็นทางการก็ตาม วันที่ 8 ตุลาคม หลังสมัยการบริหารทหารทหารช่วงต้น เยอรมนีได้ผนวกโปแลนด์ตะวันตกและอดีตนครเสรีดันซิกโดยตรง และกำหนดให้ดินแดนส่วนที่เหลืออยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลทั่วไป (General Government) สหภาพโซเวียตรวมพื้นที่ที่เพิ่งได้มาเข้ากับสาธารณรัฐองค์ประกอบเบลารุสและยูเครนของตน และเริ่มการรณรงค์ปลูกฝังความเป็นโซเวียตทันที หลังการบุกครองดังกล่าว องค์การขัดขืนใต้ดินหลายกลุ่มได้ตั้งรัฐใต้ดินโปแลนด์ขึ้นในดินแดนของอดีตรัฐโปแลนด์ ในเวลาเดียวกับที่ทหารลี้ภัยจำนวนมากซึ่งสามารถหลบหนีออกนอกประเทศได้ก็เข้าร่วมกับกองทัพโปแลนด์ในทิศตะวันตก ซึ่งเป็นกองทัพที่ภักดีต่อรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลน.
ดู นาซีเยอรมนีและการบุกครองโปแลนด์
การชุมนุมที่เนือร์นแบร์ค
"โทเทเนรุง" (สรรเสริญผู้ตาย) บนระเบียงหน้า "เอเรนฮัลเลอ" (หอเกียรติยศ) ในฉากหลังเป็นที่ชุมนุมนาซี "เอเรนทรีบือเน" (เวทีเกียรติยศ) รูปจันทร์เสี้ยว ในการชุมนุมที่เนือร์นแบร์ค กันยายน ค.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและการชุมนุมที่เนือร์นแบร์ค
การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค
ซึดดอยท์เชอไซทุง (Süddeutsche Zeitung) ลงข่าว "คำพิพากษาในเนือร์นแบร์ค" ในภาพคือ: (แถวจากซ้ายไป - รูปจากบนลงมา) ''แถวที่หนึ่ง'' เกอริง, เฮสส์, ริบเบนทรอพ, โรเซนแบร์ก, ฟรังค์ และฟริก; ''แถวที่สอง'' ฟุงค์, ชไตเชอร์ และชัชท์; ''แถวที่สาม'' เดอนิทซ์, แรเดอร์ และชีรัช; ''แถวที่สี่'' เซาค์เคล, โยเดิล, พาเพิน, ไซซ์-อินควัร์ท, สเปร์, นอยรัท และบอร์มันน์ การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค (Nuremberg trials) เป็นชุดการพิจารณาคดีทางทหารที่ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะสงครามโลกครั้งที่สองเป็นผู้จัด มีจุดเด่นเป็นการฟ้องสมาชิกชั้นผู้ใหญ่ในคณะผู้นำทางการเมือง การทหาร และเศรษฐกิจของนาซีเยอรมนีซึ่งพ่ายสงคราม การพิจารณาทั้งนี้มีขึ้น ณ ตำหนักยุติธรรม เมืองเนือร์นแบร์ค รัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี โดยชุดแรกเป็น "การพิจารณาผู้กระทำความผิดอาญาสงครามกลุ่มหลัก" ในศาลทหารระหว่างประเทศ (International Military Tribunal) เริ่มในวันที่ 20 พฤศจิกายน..
ดู นาซีเยอรมนีและการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค
การรณรงค์งดสูบบุหรี่ในนาซีเยอรมนี
ษณาเชิญชวนงดสูบบุหรี่ของนาซีหัวข้อว่า "การสูบบุหรี่ลูกโซ่" กล่าวว่า "เขาไม่ได้กลืนมัน (บุหรี่) แต่เป็นมันที่กลืนเขาเข้าไป" การรณรงค์ต่อต้านบุหรี่ในนาซีเยอรมนี นับว่าเป็นการรณรงค์งดสูบบุหรี่ที่ประสบความสำเร็จที่สุดในโลก ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 จนถึงช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1940 นาซีเยอรมนีเป็นชาติแรก ๆ ที่มีการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่ในประวัติศาสตร์สมัยใหม่ การรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่ได้เจริญขึ้นอย่างมากในช่วงต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 "นักวิทยาศาสตร์มีความคิดที่จะห้ามปรามการสูบบุหรี่ในช่วงต้นของศตวรรษในหลายประเทศ แต่พวกเขาประสบความสำเร็จเพียงเล็กน้อย ยกเว้นในเยอรมนีที่ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เหล่านั้นได้รับการสนับสนุนอย่างเป็นทางการจากรัฐบาลหลังจากพรรคนาซีขึ้นสู่อำนาจ" แต่ว่าประสบความสำเร็จน้อยมาก ยกเว้นในนาซีเยอรมนีซึ่งได้มีการรณรงค์อย่างแข็งขันที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลภายใต้การนำของพรรคนาซี ผู้นำชาติสังคมนิยมได้คัดค้านการสูบบุหรี่ และวิพากษ์วิจารณ์ผลกระทบจากการสูบบุหรี่อย่างเปิดเผย การวิจัยถึงบุหรี่และผลของการสูบบุหรี่ได้รับการสนับสนุนในยุคสมัยของพรรคนาซี และกลายเป็นงานวิจัยที่มีความสำคัญมากในสมัยนั้น ส่วนตัวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เองแล้ว เขาเป็นคนเกลียดบุหรี่ และมีนโยบายในการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่ และนโยบายดังกล่าวต่างก็ได้รับการสนับสนุนจากลัทธิต่อต้านยิวและคตินิยมเชื้อชาติ การรณรงค์งดสูบบุหรี่ในนาซีเยอรมนียังรวมไปถึง การห้ามสูบบุหรี่ในรถราง รถโดยสารประจำทางและรถไฟประจำเมือง การสนับสนุนวิชาสุขศึกษา การกำหนดการปันส่วนบุหรี่ในกองทัพบก การจัดการบรรยายเรื่องยาให้แก่ทหาร และการเพิ่มภาษีบุหรี่ พวกชาติสังคมนิยมยังกำหนดให้มีการจำกัดการโฆษณาบุหรี่และการสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ รวมไปถึงการวางระเบียบร้านอาหารและบ้านกาแฟ การรณรงค์งดสูบบุหรี่ไม่ได้ประสบความสำเร็จมากนักในช่วงต้นของยุคนาซี และปริมาณการบริโภคบุหรี่ก็เพิ่มมากขึ้นในช่วง ค.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและการรณรงค์งดสูบบุหรี่ในนาซีเยอรมนี
การทัพตูนิเซีย
การทัพตูนิเซีย (Tunisia Campaign) เป็นการรบที่เกิดขึ้นในตูนิเซียในสงครามโลกครั้งที่สองระหว่างกองกำลังฝ่ายอักษะกับฝ่ายสัมพันธมิตร กองกำลังหลักของฝ่ายสัมพันธมิตรประกอบด้วยกองทัพของจักรวรรดิอังกฤษ, กองทัพอเมริกันและกองทัพฝรั่งเศส การรบครั้งนี้เริ่มต้นด้วยความสำเร็จของฝ่ายอักษะ แต่ด้วยความเหนือกว่าทั้งทางด้านยุทธปัจจัยและด้านกำลังพลที่เหนือกว่าของฝ่ายสัมพันธมิตร ทำให้สุดท้ายฝ่ายอักษะก็พ่ายแพ้ลงอย่างราบคาบ ทหารเยอรมันและอิตาลีมากกว่า 230,000 คน ถูกจับเป็นเชลยศึก รวมถึงกองกำลังส่วนใหญ่ของกองพลน้อยแอฟริกาอันโด่งดังของฝ่ายอักษะ การทัพแอฟริกาเหนือ.
ดู นาซีเยอรมนีและการทัพตูนิเซีย
การทัพนอร์เวย์
การทัพนอร์เวย์ หรือปฏิบัติการเวแซร์รืบุง (9 เมษายน - 10 มิถุนายน ค.ศ. 1940) นั้นเป็นการเผชิญหน้ากันอย่างเต็มรูปแบบเป็นครั้งแรกของสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรกับนาซีเยอรมนี เยอรมนีนั้นต้องการที่จะครอบครองนอร์เวย์เพื่อเหล็กและโลหะจากสวีเดนอีกต่อหนึ่ง ซึ่งขนส่งทางเรือจากเมืองท่านาร์วิก ด้วยการยึดครองเมืองท่าอย่างสมบูรณ์ ก็จะทำให้การขนส่งทรัพยากรดังกล่าวเพื่อป้อนเข้าสู่โรงงานอุตสาหกรรม แม้ว่าจะถูกขัดขวางด้วยการปิดล้อมทางทะเลจากอังกฤษ นอกจากนั้นแล้ว มันยังทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรและเยอรมนีสามารถรบกันได้ด้วยการรบแบบสนามเพลาะซึ่งทั้งสองฝ่ายหวาดกลัว ต่อมาเมื่อยุทธนาวีมหาสมุทรแอตแลนติกขยายออกไป สนามบินของนอร์เวย์ เช่น สนามบินโซลา ในเมืองสตาแวนเจอร์ ซึ่งเครื่องบินสำรวจเยอรมันใช้เพื่อออกปฏิบัติการในภาคพื้นมหาสมุทรแอตแลนติก.
ดู นาซีเยอรมนีและการทัพนอร์เวย์
การทัพแอฟริกาเหนือ
การทัพแอฟริกาเหนือ (North African Campaign) ใน สงครามโลกครั้งที่สอง เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ. 1940 ถึง 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1943 ในทะเลทรายแถบแอฟริกาเหนือ ครอบคลุมพื้นที่ทะเลทรายของประเทศลิเบีย อียิปต์ (การรบในทะเลทรายตะวันตก หรือที่รู้จักกันในชื่อ"สงครามทะเลทราย") และในประเทศแอลจีเรีย โมร็อกโก (ปฏิบัติการคบเพลิง) และตูนิเซีย(การทัพตูนิเซีย) เป็นการรบระหว่างฝ่ายอักษะ นำโดยนาซีเยอรมนีและจักรวรรดิอิตาลี กับฝ่ายสัมพันธมิตร นำโดยสหราชอาณาจักรและประเทศในเครือจักรภพ ในช่วงแรก จนกระทั่งสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมฝ่ายสัมพันธมิตรตั้งแต่ ค.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและการทัพแอฟริกาเหนือ
การทำความเคารพฮิตเลอร์
การทำความเคารพฮิตเลอร์ (Hitler salute) หรือ การทำความเคารพแบบนาซี (Nazi salute) หรือเป็นที่รู้จักกันในเยอรมนีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองว่า การทักทายแบบเยอรมัน (Deutscher Gruß) โดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้ดัดแปลงมาจากการทำความเคารพแบบเบลลามี หลังจากการเคลื่อนไหวของผู้นิยมลัทธิฟาสซิสต์ ภายใต้การนำของเบนิโต มุสโสลินี และการเคลื่อนไหวมวลชนอื่น ๆ โดยเป็นการแสดงถึงความยิ่งใหญ่ของฮิตเลอร์ตลอดช่วงเวลาของนาซีเยอรมนี.
ดู นาซีเยอรมนีและการทำความเคารพฮิตเลอร์
การขจัดนาซี
นงานทำการปลดป้ายถนนที่มีชื่อว่า "ถนนอดอล์ฟ ฮิตเลอร์" ออก โครงการขจัดความเป็นนาซี (Entnazifizierung; Denazification) เป็นการเริ่มต้นของฝ่ายสัมพันธมิตรที่จะขจัดเยอรมันและออสเตรียทั้งในสังคม วัฒนธรรม ข่าวสาร เศรษฐกิจ ตุลาการและการเมืองออกจากส่วนที่เหลือของอุดมการณ์ชาติสังคมนิยม(ระบอบนาซี) โดยเฉพาะได้ทำการปลดเหล่าสมาชิกของพรรคนาซีออกจากตำแหน่งและขจัดอำนาจอิทธิพลและทำการยุบหรือจัดการทำให้องค์กรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับนาซีล่มสลาย โครงการขจัดความเป็นนาซีได้เปิดตัวภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลงและได้รับการรับรองโดยการประชุมพอสดัม คำศัพท์ของ "denazification" เป็นคำแรกทางกริยาที่เป็นศัพท์ทางกฎหมาย ในปี..
การคัดเลือกโดยธรรมชาติ
Modern biology began in the nineteenth century with Charles Darwin's work on natural selection. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) เป็นขบวนการแบบค่อยเป็นค่อยไปและไม่สุ่ม ซึ่งลักษณะทางชีววิทยาจะพบมากขึ้นหรือน้อยลงในประชากรเป็นหน้าที่ของการสืบพันธุ์แตกต่างกันของผู้ให้กำเนิด มันเป็นกลไกสำคัญของวิวัฒนาการ คำว่า "การคัดเลือกโดยธรรมชาติ" นั้น ถูกทำให้แพร่หลายโดย ชาลส์ ดาร์วิน ผู้ตั้งใจให้เทียบได้กับการคัดเลือกโดยมนุษย์ (artificial selection) หรือที่ปัจจุบันเรียกว่า การคัดเลือกพันธุ์ (selective breeding) การแปรผันเกิดขึ้นในประชากรสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ซึ่งบางส่วนเกิดขึ้นเพราะการกลายพันธุ์สุ่มในจีโนมของสิ่งมีชีวิตหนึ่ง และการกลายพันธุ์นั้นถูกส่งต่อไปยังลูกหลาน ตลอดชีวิตของสิ่งมีชีวิตหนึ่ง ๆ จีโนมของสิ่งมีชีวิตนั้นจะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมซึ่งทำให้ลักษณะมีการแปรผัน (varient) สิ่งแวดล้อมของจีโนม ได้แก่ ชีววิทยาโมเลกุลในเซลล์ เซลล์อื่น สิ่งมีชีวิตอื่น ประชากร สปีชีส์ เช่นเดียวกับสิ่งแวดล้อมอชีวนะ สิ่งมี่ชีวิตที่มีลักษณะแปรผันบางอย่างอาจมีชีวิตรอดและสืบพันธุ์ได้มากกว่าสิ่งมีชีวิตที่มีการแปรผันแบบอื่น ฉะนั้น ประชากรจึงเกิดวิวัฒนาการ ตัวอย่างเช่น ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการสืบพันธุ์เองก็สำคัญเช่นกัน และเป็นประเด็นที่ชาลส์ ดาร์วินบุกเบิกในความคิดการคัดเลือกทางเพศของเขา การคัดเลือกโดยธรรมชาติมีผลต่อฟีโนไทป์ หรือคุณลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่สังเกตได้ แต่พื้นฐานทางพันธุกรรมซึ่งสืบทอดได้ของฟีโนไทป์ใด ๆ ที่ให้ข้อได้เปรียบในการสืบพันธุ์จะกลายมาปรากฏมากขึ้นในประชากร (ดูที่ ความถี่แอลลีล) เมื่อเวลาผ่านไป ขบวนการนี้สามารถส่งผลให้ประชากรมีความพิเศษในระบบนิเวศ และอาจลงเอยด้วยการถือกำเนิดขึ้นของสปีชีส์ใหม่ หรือกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่า การคัดเลือกโดยธรรมชาติเป็นขบวนการที่สำคัญ แม้จะมิใช่ขบวนการเดียว ซึ่งทำให้วิวัฒนาการเกิดขึ้นในประชากรสิ่งมีชีวิต ในการคัดเลือกโดยธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมเสมือนเป็นตะแกรงที่การแปรผันบางอย่างเท่านั้นที่ผ่านไปได้.
ดู นาซีเยอรมนีและการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
การต่อต้านยิว
การ์ตูนเยาะหยันชาวยิวจากฝรั่งเศส ค.ศ. 1898 หน้าปกหนังสือ “ทางสู่ชัยชนะของความเป็นเยอรมันต่อความเป็นยิว” โดยมารร์ ฉบับ ค.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและการต่อต้านยิว
การประชุมพ็อทซ์ดัม
"สามผู้ยิ่งใหญ่": อัตต์ลี, ทรูแมน, สตาลิน การประชุมพ็อทซ์ดัม (Potsdamer Konferenz) เป็นการประชุมระหว่างสามฝ่ายแห่งฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง,ได้แก่ สหราชอาณาจักร, สหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียต.ที่มีความเกี่ยวข้องกับการยึดครองทางทหารและทำการฟื้นฟูเยอรมนี, ชายแดน,สถานภาพของอดีตดินแดนตะวันออก, เขตแดนยุโรปทั้งหมดของสงคราม นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงการทำให้ประเทศเยอรมนีปลอดทหาร, การชดใช้ค่าเสียหาย และการฟ้องร้องต่อเหล่าอาชญากรสงคราม โดยการประชุมจัดขึ้นที่ ตำหนักของเจ้าชายวิลเฮล์มในเมือง พ็อทซ์ดัม เยอรมนีภายใต้การยึดครอง ตั้งแต่วันที่ 17 กรกฎาคม ถึงวันที่ 2 สิงหาคม 1945 หมวดหมู่:ผลที่ตามมาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.
ดู นาซีเยอรมนีและการประชุมพ็อทซ์ดัม
การประชุมที่วานเซ
หาสน์ ณ 56–58 เอเอ็ม โกเบน วานเซ (Am Großen Wannsee) ที่ประชุมวันน์เซ ปัจจุบันเป็นหออนุสรณ์และพิพิธภัณฑ์ การประชุมที่วานเซ (Wannsee Conference; Wannseekonferenz) เป็นการประชุมข้าราชการระดับสูงของนาซีเยอรมนีและผู้นำเอ็สเอ็ส จัดขึ้นที่เมืองวานเซ ชานกรุงเบอร์ลิน ณ วันที่ 20 มกราคม..
ดู นาซีเยอรมนีและการประชุมที่วานเซ
การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย
การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย หรือ มาตรการสุดท้าย (Final Solution; Die Endlösung) เป็นชื่อรหัสที่หมายถึงแผนการกำจัดชาวยิวทั่วยุโรประหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ตามนโยบายกวาดล้างชาวยิวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำพรรคแรงงานสังคมนิยมแห่งชาติเยอรมันหรือนาซี เป็นการเข่นฆ่าเพื่อล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิวครั้งใหญ่ โดยเริ่มใช้มาตรการสุดท้าย ใน..
ดู นาซีเยอรมนีและการแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย
การแท้ง
การแท้ง (abortion) คือการยุติการตั้งครรภ์โดยการนำทารกในครรภ์หรือเอ็มบริโอออกจากมดลูกก่อนให้กำเนิด เมื่อเกิดโดยไม่เจตนามักเรียกว่า การแท้งเอง และเรียกว่า การทำแท้ง เมื่อทำโดยเจตนา เมื่อไม่มีกฎหมายห้าม การทำแท้งในประเทศพัฒนาแล้วเป็นหนึ่งในกระบวนการทางการแพทย์ที่ปลอดภัยที่สุด แพทย์แผนปัจจุบันทำแท้งด้วยยาหรือศัลยกรรม การใช้ยาไมฟีพริสโตน (mifepristone) ร่วมกับโพรสตาแกลนดินเป็นวิธีทำแท้งแบบใช้ยาที่ปลอดภัยและให้ประสิทธิผลดีระหว่างไตรมาสแรกกับไตรมาสที่สองของการตั้งครรภ์ หลังการแท้งสามารถใช้การคุมกำเนิด เช่น ยาคุมกำเนิด หรือ ห่วงอนามัยคุมกำเนิด ได้ทันที การทำแท้งไม่เพิ่มโอกาสเสี่ยงการเกิดโรคทั้งทางจิตและทางกายภาพเมื่อทำอย่างปลอดภัยและถูกกฎหมาย ในทางตรงข้าม การทำแท้งอย่างไม่ปลอดภัย เช่น การทำแท้งโดยผู้ไม่มีทักษะ การทำแท้งด้วยอุปกรณ์ไม่ปลอดภัย หรือการทำแท้งในสถานที่ไม่สะอาด นำไปสู่การเสียชีวิตของคนกว่า 47,000 คน และทำให้คนกว่า 5 ล้านคนต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลในแต่ละปี องค์การอนามัยโลกสนับสนุนให้ผู้หญิงทุกคนมีทางเลือกที่จะทำแท้งอย่างปลอดภัยและถูกกฎหมาย ในแต่ละปีมีการทำแท้งเกิดขึ้นประมาณ 56 ล้านครั้งทั่วโลก โดยมีประมาณ 45% ที่ทำอย่างไม่ปลอดภัย อัตราการทำแท้งแทบไม่เปลี่ยนแปลงระหว่าง..
กดัญสก์
กดัญสก์ (Gdańsk) หรือชื่อเดิม ดันซิก (Danzig) เป็นเมืองบนชายฝั่งบอลติก ในตอนเหนือของประเทศโปแลนด์ เป็นเขตมหานครที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 4 เป็นเมืองท่าที่สำคัญของโปแลนด์ และยังเป็นเมืองหลักของจังหวัดปอมอแช (พอเมอเรเนีย) ตั้งอยู่บนอ่าวกดัญสก์ (ทะเลบอลติก) และปากแม่น้ำมอตลาว.
กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น
กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น (Anti-Comintern Pact) คือ สนธิสัญญาเกิดจากความร่วมมือระหว่างนาซีเยอรมนีและจักรวรรดิญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและกติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น
กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพ
นื้อหาของข้อตกลงลับ (เป็นภาษาเยอรมัน) กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพ (Molotov–Ribbentrop Pact) เป็นสนธิสัญญาที่ได้ชื่อตามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของโซเวียต วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของนาซีเยอรมนี โยอาคิม ฟอน ริบเบนทรอพ โดยมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า กติกาสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนีกับสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (German–Soviet Non-aggression Pact) และได้รับการลงนามในกรุงมอสโก เมื่อช่วงเช้าของวันที่ 24 สิงหาคม 1939 (แต่ในกติกาสัญญาระบุเป็นวันที่ 23 สิงหาคม)Blank Pages by G.C.Malcher ISBN 1-897984-00-6 Page 7 ความตกลงดังล่าวเป็นการประกาศวางตัวเป็นกลางหากภาคีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถูกโจมตีโดยประเทศที่สาม ภาคีผู้ลงนามทั้งสองสัญญาจะไม่เข้าร่วมกลุ่มกับอำนาจอื่นซึ่ง "พุ่งเป้าหมายไปยังคู่เจรจาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งโดยตรงหรือโดยอ้อม" กติกาสัญญาดังกล่าวเป็นที่รู้จักกันในหลายชื่อด้วยกัน ซึ่งรวมไปถึง กติกาสัญญานาซี–โซเวียต (Nazi–Soviet Pact), กติกาสัญญาฮิตเลอร์–สตาลิน, กติกาสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนี–โซเวียต หรือบางครั้งก็เรียกว่า พันธมิตรนาซี–โซเวียตBenjamin B.
ดู นาซีเยอรมนีและกติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพ
ฝ่ายอักษะ
ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..
ฝ่ายปกครองทหาร (นาซีเยอรมนี)
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง นาซีเยอรมนีได้ก่อตั้งระบอบการปกครองภายใต้การนำโดยทหารในดินแดนยึดครองซึ่งเป็นที่รู้จักกันคือ ฝ่ายปกครองทหาร หรือ อำนาจฝ่ายปกครองทหาร (de: Militärverwaltung) ซึ่งจะแตกต่างกันกับไรชส์คอมมิสซาเรียท ซึ่งอยู่ภายใต้การนำโดยเจ้าหน้าที่พรรคนาซี ฝ่ายปกครองทหารมักจะมีผู้นำโดย ผู้บัญชาการทหาร (Militärbefehlshaber, ชื่อย่ออย่างเป็นทางการว่า MilBfh) หมวดหมู่:นาซีเยอรมนี.
ดู นาซีเยอรมนีและฝ่ายปกครองทหาร (นาซีเยอรมนี)
ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่
วะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ (Great Depression) เป็นเหตุการณ์เศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ที่เกิดในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป ในปี..
ดู นาซีเยอรมนีและภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่
ภาษาเยอรมัน
ษาเยอรมัน (German; Deutsch) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกด้านตะวันตก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในสหภาพยุโรป ส่วนใหญ่พูดในประเทศเยอรมนี ออสเตรีย ลิกเตนสไตน์ ส่วนมากของสวิตเซอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจในอิตาลี แคว้นทางตะวันออกของเบลเยียม บางส่วนของโรมาเนีย แคว้นอาลซัสและบางส่วนของแคว้นลอแรนในฝรั่งเศส นอกจากนี้ อาณานิคมเดิมของประเทศเหล่านี้ เช่น นามิเบีย มีประชากรที่พูดภาษาเยอรมันได้พอประมาณ และยังมีชนกลุ่มน้อยที่พูดภาษาเยอรมันในหลายประเทศทางยุโรปตะวันออก เช่น รัสเซีย ฮังการี และสโลวีเนีย รวมถึงอเมริกาเหนือ (โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา) รวมถึงบางประเทศในละตินอเมริกา เช่น อาร์เจนตินา และในบราซิล โดยเฉพาะในรัฐ รีโอกรันดีโดซูล ซันตากาตารีนา ปารานา และเอสปีรีตูซันตู ชาวอามิช รวมถึงชาวเมนโนไนต์บางคนก็เป็นภาษาเยอรมันอย่างหนึ่ง ประมาณ 120 ล้านคน คือ 1/4 ของชาวยุโรปทั้งหมด พูดภาษาเยอรมัน ภาษาเยอรมันเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนทั่วโลกมาเป็นอันดับ 3 และเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ในยุโรป (เป็นรองภาษาอังกฤษ) สหรัฐอเมริกา และเอเชียตะวันออก (ประเทศญี่ปุ่น) เป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรป ผู้รู้ภาษาเยอรมันในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป.
มะเร็ง
มะเร็ง หรือทางการแพทย์ว่า เนื้องอกร้าย (malignant tumor) เป็นกลุ่มของโรคที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติ คือ เซลล์จะแบ่งตัวและเจริญอย่างควบคุมไม่ได้ ก่อเป็นเนื้องอกร้าย และมีศักยภาพในการรุกรานร่างกายส่วนข้างเคียง มะเร็งอาจแพร่กระจายไปยังร่างกายส่วนที่อยู่ห่างไกลได้ผ่านระบบน้ำเหลืองหรือกระแสเลือด แต่ไม่ใช่เนื้องอกทุกชนิดจะเป็นมะเร็ง เพราะเนื้องอกไม่ร้ายจะไม่ลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียงและไม่กระจายไปทั่วร่างกาย อาการและอาการแสดงของโรคมะเร็งที่เป็นไปได้รวมถึง:..
มะเร็งเต้านม
แมมโมแกรม: (ซ้าย) เต้านมปกติ (ขวา) เต้านมมะเร็ง มะเร็งเต้านม (Breast cancer) เป็นโรคมะเร็งที่พัฒนาจากเนื้อเยื่อเต้านม อาจมีอาการแสดง ได้แก่ มีก้อนในเต้านม มีการเปลี่ยนแปลงรูปทรงของเต้านม ผิวหนังมีรอยบุ๋ม มีสารน้ำไหลจากหัวนม หรือมีปื้นผิวหนังมีเกล็ดแดง ในผู้ที่มีการแพร่ของโรคไปไกล อาจมีปวดกระดูก ปุ่มน้ำเหลืองโต หายใจลำบาก มะเร็งเต้านมทั่วโลกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในหญิง โดยคิดเป็น 25% ของผู้ป่วยมะเร็งทั้งหมด ในปี 2555 โรคนี้มีผู้ป่วย 1.68 ล้านคน และผู้เสียชีวิต 522,000 คน พบมากกว่าในประเทศพัฒนาแล้ว และพบในหญิงมากกว่าชาย 100 เท.
มัคท์แอร์ไกรฟุง
แผ่นกระดานชนวนระลึกถึงสมาชิกของไรชส์ทาค จำนวน 96 คน ซึ่งถูกกำจัดโดยพรรคนาซีหลังจากที่พรรคนาซีก้าวขึ้นสู่อำนาจในปี 1933 ณ กรุงเบอร์ลิน มัคท์แอร์ไกรฟุง (Machtergreifung) เป็นคำในภาษาเยอรมัน หมายความว่า "การยึดอำนาจ" คำคำนี้มักจะหมายถึง การขึ้นสู่อำนาจของพรรคนาซีในสาธารณรัฐไวมาร์ เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและมัคท์แอร์ไกรฟุง
มารีนึส ฟัน เดอร์ลึบเบอ
มารีนึส ฟัน เดอร์ลึบเบอ (Marinus van der Lubbe) เป็นสมาชิกสภาคอมมิวนิสต์ชาวดัตช์ เขาถูกประหารชีวีตหลังมีส่วนรู้เห็นในการลอบวางเพลิงอาคารรัฐสภาไรชส์ทาค หรือเป็นที่รู้จักในเหตุการณ์ เหตุเพลิงไหม้อาคารรัฐสภาไรชส์ท.
ดู นาซีเยอรมนีและมารีนึส ฟัน เดอร์ลึบเบอ
มาร์ทิน บอร์มันน์
มาร์ติน บอร์มันน์ (Martin Bormann) เกิดวันที่ 17 มิถุนายน.ศ 1900 ที่รัฐซัคเซิน-อันฮัลท์,จักรวรรดิเยอรมันเขาเสียชีวิตด้วยการฆ่าตัวตายในวันที่ 2 พฤษภาคม.ศ 1945ที่ฟือเลอร์บุงเกอร์กรุงเบอร์ลิน เขาเป็นเลขธิการของพรรคนาซีและเพื่อนของฮิตเลอร.
ดู นาซีเยอรมนีและมาร์ทิน บอร์มันน์
มิวนิก
มิวนิก (Munich) หรือในภาษาเยอรมันว่า มึนเชิน (München) เป็นเมืองที่อยู่ทางใต้ของประเทศเยอรมนี และเป็นเมืองหลวงของรัฐบาวาเรีย ถือเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสามของประเทศรองจากเบอร์ลินและฮัมบวร์ค และเป็นหนึ่งในเมืองมั่งคั่งที่สุดของยุโรปตัวเมืองมีประชากร 1.3 ล้านคน และ 2.7 ล้านคนในเขตเมือง ตัวเมืองตั้งอยู่บนแม่น้ำอีซาร์ เหนือเทือกเขาแอลป์ มิวนิกเป็นเมืองที่มีเศรษฐกิจเข้มแข็งที่สุดในประเทศเยอรมนี โครงการริเริ่ม “Neue Soziale Marktwirtschaft (INSM)” (เศรษฐกิจตลาดสังคมใหม่) และนิตยสาร “Wirtschafts Woche” (ธุรกิจรายสัปดาห์) ให้คะแนนมิวนิกสูงที่สุดในการสำรวจเปรียบเทียบ ในเดือนมิถุนายน พ.ศ.
ยุวชนฮิตเลอร์
วชนฮิตเลอร์ (Hitler Youth; Hitlerjugend ฮิตเลอร์ยูเกนด์, มักย่อเป็น HJ ในภาษาเยอรมัน) เป็นองค์การเยาวชนของพรรคนาซีในประเทศเยอรมนี จุดกำเนิดย้อนไปถึง..
ดู นาซีเยอรมนีและยุวชนฮิตเลอร์
ยุทธการที่บริเตน
ยุทธการบริเตน (Battle of Britain) คือการรบทางอากาศที่กองทัพอากาศเยอรมันหรือลุฟท์วัฟเฟอ (Luftwaffe) เปิดการโจมตีทางอากาศเพื่อชิงความได้เปรียบกับกองทัพอากาศหลวงของสหราชอาณาจักร ก่อนที่จะดำเนินการบุกทางทะเลและการทิ้งทหารพลร่มจากอากาศในปฏิบัติการสิงโตทะเล (Unternehmen Seelöwe) ที่ทางเยอรมันได้วางแผนไว้ก่อนหน้า ต้นเหตุของการรบครั้งนี้มาจากความคิดของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และนายทหารในกองทัพบกเยอรมันที่เชื่อว่าการบุกหมู่เกาะบริเตนข้ามทะเลจะไม่สามารถทำได้โดยง่ายถ้ากองทัพอากาศหลวงไม่ถูกทำลายเสียก่อน เป้าหมายหลักของลุฟวาฟเฟิลในการเปิดศึกทางอากาศคือเพื่อบั่นทอนหรือทำลายกองกำลังทางอากาศของอังกฤษจนอ่อนแอกว่าที่จะยับยั้งการบุกได้ ส่วนเป้าหมายรองก็คือทำลายโรงงานผลิตเครื่องบินและสาธารณูปโภคต่างๆ รวมทั้งทิ้งระเบิดใส่พื้นที่ที่มีความสำคัญทางการเมือง เพื่อข่มขู่ชาวบริเตนให้ยอมแพ้หรือยอมสงบศึกด้วย กระนั้น แม้เยอรมนีจะมีเครื่องบินรบที่ดีกว่าและนักบินที่มีประสบการณ์มากกว่า (สืบเนื่องจากการบุกครองโปแลนด์ก่อนหน้านี้) แต่ความเด็ดขาดของกองทัพอากาศหลวงและจำนวนเครื่องบินที่มากกว่า ทำให้ฝ่ายเยอรมันประสบกับความล้มเหลวในการทำลาย หรือแม้แต่จะบั่นทอนกำลังของกองทัพอากาศหลวงของอังกฤษ (หรือแม้แต่จะทำลายขวัญกำลังใจของชาวบริเตน)และพ่ายแพ้ไปในที่สุดซึ่งความพ่ายแพ้ครั้งนี้ของเยอรมันถือเป็นหนึ่งในความพ่ายแพ่ครั้งสำคัญของเยอรมันที่จะนำไปสู่ชัยชนะเหนือฝ่ายอักษะของฝ่ายสัมพันธมิตรในที่สุดเพราะเวลาต่อมานาซีเยอรมันได้หันเหไปโจมตีสหภาพโซเวียตแทนทำให้อังกฤษสามารถตั้งตัวได้และได้พันธมิตรใหม่เข้าร่วมต่อสู้กับนาซีเยอรมันคือ สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ยุทธการบริเตนถือเป็นการรบครั้งแรกที่สู้กันทางอากาศตลอดทั้งศึก รวมถึงเป็นศึกที่มีปฏิบัติการณ์ทิ้งระเบิดที่ยาวนานและสูญเสียมากที่สุดเท่าที่เคยมีมาจนถึงปัจจุบัน และเป็นศึกที่มีการทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์ (ที่มีจุดประสงค์เพื่อทำลายเศรษฐกิจ หรือการผลิตของศัตรู ไม่ใช่การทำลายข้าศึกโดยตรง) ที่ถูกคิดค้นขึ้นตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง แต่ยังไม่ได้ถูกนำมาใช้จริง หมวดหมู่:แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง) หมวดหมู่:ยุทธการและปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:ปฏิบัติการและยุทธการทางอากาศ.
ดู นาซีเยอรมนีและยุทธการที่บริเตน
ยุทธการที่มอสโก
ทธการมอสโก เป็นชื่อที่นักประวัติศาสตร์โซเวียตตั้งโดยหมายถึงการสู้รบที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์สองช่วงบนพื้นที่ 600 กิโลเมตรบนแนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างเดือนตุลาคม..
ดู นาซีเยอรมนีและยุทธการที่มอสโก
ยุทธการที่สตาลินกราด
ทธการสตาลินกราด เป็นยุทธการใหญ่ของสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งนาซีเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายหนึ่ง สู้รบกับสหภาพโซเวียตอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อแย่งชิงการควบคุมนครสตาลินกราด (ปัจจุบันคือ วอลโกกราด ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหพันธรัฐรัสเซีย) ยุทธการดำเนินไประหว่างวันที่ 21 สิงหาคม..
ดู นาซีเยอรมนีและยุทธการที่สตาลินกราด
ยุทธการที่คูสค์
ทธการที่คูสค์ (Курская битва, Битва на Курской дуге) เกิดขึ้นเมื่อกำลังเยอรมนีและโซเวียตเผชิญหน้ากันในแนวรบด้านตะวันออกระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง บริเวณย่านชานนครคูสค์ (Kursk) ห่างจากกรุงมอสโกไปทางใต้ 450 กิโลเมตร ในสหภาพโซเวียต ช่วงเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม..
ดู นาซีเยอรมนีและยุทธการที่คูสค์
ยุทธการเกาะครีต
ทธการเกาะครีต (Luftlandeschlacht um Kreta; Μάχη της Κρήτης) เป็นชื่อของการรบในสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งดำเนินไปบนเกาะครีต ประเทศกรีซ โดยเริ่มต้นในเช้าวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและยุทธการเกาะครีต
ยุโรปตะวันออก
แผนที่ยุโรปตะวันออก ยุโรปตะวันออก (Eastern Europe) มีพื้นที่อยู่ระหว่างละติจูดที่ 40 - 53 องศาเหนือ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ สภาพความเป็นอยู่เป็นแบบชนบท ประกอบไปด้วยประเทศที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต, อดีตเช็กโกสโลวาเกีย (ปัจจุบันคือเช็กเกียและสโลวาเกีย), โปแลนด์, ฮังการี, โรมาเนีย, บัลแกเรีย และอดีตยูโกสลาเวีย ประเทศส่วนใหญ่ในยุโรปตะวันออกในอดีต ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ แต่ในปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาเป็นประชาธิปไตยบ้างแล้ว ศาสนาที่นับถือส่วนใหญ่ในภูมิภาคนี้คือศาสนาคริสต์ ภาษาที่ใช้เป็นภาษากลุ่มโรแมนซ์และกลุ่มสลาวอนิก.
ดู นาซีเยอรมนีและยุโรปตะวันออก
ยูโกสลาเวีย
ูโกสลาเวีย (Yugoslavia; สลาวิกใต้: Jugoslavija; เซอร์เบีย: Југославија) เป็นชื่ออดีตประเทศบริเวณคาบสมุทรบอลข่านในทวีปยุโรป ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ความหมายของคำว่ายูโกสลาเวียคือ "ดินแดนของชาวสลาฟตอนใต้".
ระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ
ระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ (totalitarianism) เป็นระบบการเมืองที่รัฐถืออำนาจเบ็ดเสร็จเหนือสังคมและมุ่งควบคุมทุกแง่มุมของชีวิตสาธารณะและชีวิตส่วนตัวตามที่เห็นจำเป็นRobert ConquestReflections on a Ravaged Century (2000) ISBN 0-393-04818-7, page 74 มโนทัศน์ระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จพัฒนาขึ้นครั้งแรกในความหมายเชิงบวกในคริสต์ทศวรรษ 1920 โดยฟาสซิสต์อิตาลี มโนทัศน์ดังกล่าวกลายมาโดดเด่นในวจนิพนธ์การเมืองต่อต้านคอมมิวนิสต์ของตะวันตกระหว่างสงครามเย็น เพื่อเน้นความคล้ายที่รับรู้ระหว่างนาซีเยอรมนีและระบอบฟาสซิสต์อื่นด้านหนึ่ง กับคอมมิวนิสต์โซเวียตอีกด้านหนึ่ง.
ดู นาซีเยอรมนีและระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ
ระบอบนาซี
นาซี (Nazism; บ้างสะกดว่า Naziism "JAPAN: Imitation of Naziism?"; Nationalsozialismus) หรือ ชาติสังคมนิยม เป็นอุดมการณ์และวิถีปฏิบัติของพรรคนาซีและนาซีเยอรมนีPayne, Stanley G.
ระบอบเผด็จการ
ระบอบเผด็จการ (Dictatorship) หมายถึง รูปแบบการปกครองแบบอัตตาธิปไตย ซึ่งรัฐบาลอยู่ภายใต้การบริหารของบุคคลเพียงคนเดียว หรือ ผู้เผด็จการ โดยไม่มีการสืบทอดตำแหน่งตามสายเลือด คำว่า เผด็จการ อาจมีได้หลายความหมายเช่น.
ดู นาซีเยอรมนีและระบอบเผด็จการ
รักร่วมเพศ
รักร่วมเพศ (homosexuality) หมายถึงพฤติกรรมทางเพศหรือความสนใจของคนในเพศเดียวกันหรือรสนิยมทางเพศ ในเรื่องรสนิยมทางเพศหมายถึง "มีเพศสัมพันธ์หรือความรักในทางโรแมนติกพิเศษกับบุคคลในเพศเดียวกัน" และยังหมายถึง "ความรู้สึกส่วนตัวและการแสดงออกทางสังคมโดยยึดจากความชอบ พฤติกรรมที่พวกเขาแสดงออก และการเป็นสมาชิกในกลุ่มสังคมเดียวกันของพวกเขา" รักร่วมเพศ, ไบเซ็กชวล และรักต่างเพศ ถือเป็นกลุ่มคนหลัก 3 ประเภทของรสนิยมทางเพศ สัดส่วนของประชากรที่เป็นกลุ่มคนรักเพศเดียวกันค่อนข้างยากที่จะประเมินLeVay, Simon (1996).
รัฐบรันเดินบวร์ค
รันเดินบวร์ค (Brandenburg) เป็นรัฐหนึ่งใน 16 รัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศ ด้วยเป็นหนึ่งในรัฐใหม่ที่ก่อตั้งขึ้นใน..
ดู นาซีเยอรมนีและรัฐบรันเดินบวร์ค
รัฐบัญญัติมอบอำนาจ
ตเลอร์ปราศรัยต่อไรชส์ทาค รัฐบัญญัติมอบอำนาจ (Enabling Act; Ermächtigungsgesetz) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า กฎหมายเพื่อเยียวยาความยากลำบากของประชาชนและชาติ (Gesetz zur Behebung der Not von Volk und Reich) เป็นกฎหมายที่ผ่านโดยไรชส์ทาคแห่งเยอรมนี และได้รับการลงนามจากประธานาธิบดีเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก ในวันที่ 23 มีนาคม..
ดู นาซีเยอรมนีและรัฐบัญญัติมอบอำนาจ
รัฐบาลเฟล็นส์บวร์ค
รัฐบาลเฟล็นส์บวร์ค (Flensburger Regierung), หรือเป็นที่รู้จักกันคือ คณะรัฐมนตรีเฟล็นส์บวร์ค (Flensburger Kabinett),รัฐบาลเดอนิทซ์ (Regierung Dönitz), หรือ คณะรัฐมนตรีชเวริน ฟอน โครซิจค์ (Kabinett Schwerin von Krosigk),เป็นรัฐบาลที่มีอายุสั้นของนาซีเยอรมนี ในช่วงระยะเวลาสามสัปดาห์ของช่วงสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป.รัฐบาลได้ถูกก่อตั้งขึ้นภายหลังจากฟือเรอร์อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้กระทำอัตวินิบาตกรรม เมื่อวันที่ 30 เมษายนในระหว่างยุทธการเบอร์ลิน.
ดู นาซีเยอรมนีและรัฐบาลเฟล็นส์บวร์ค
รัฐพรรคการเมืองเดียว
รัฐพรรคการเมืองเดียว หรือ รัฐพรรคการเมืองเดี่ยว เป็นระบอบการปกครองของประเทศที่อนุญาตให้มีพรรคการเมืองเพียงพรรดเดียว ส่วนใหญ่ประเทศที่มีพรรคการเมืองเดียวจะเป็นประเทศคอมมิวนิสต์ อาทิเช่น จีน,ลาว,คิวบา แต่ก็มีบางประเทศที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์แต่ก็อนุญาตหรือมีพรรคการเมืองเดียว อาทิ เอริเทรีย,เวสเทิร์นสะฮารา ทั้งนี้การขึ้นอยู่กับกฎหมาย สถานการณ์ภายใน และรัฐธรรมนูญของแต่ละประเท.
ดู นาซีเยอรมนีและรัฐพรรคการเมืองเดียว
รัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและมอเรเวีย
รัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและมอเรเวีย (Protektorat Böhmen und Mähren; Protektorát Čechy a Morava) เป็นรัฐอารักขาของนาซีเยอรมนีได้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 16 มีนาคม..
ดู นาซีเยอรมนีและรัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและมอเรเวีย
รางวัลโนเบลสาขาเคมี
หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..
ดู นาซีเยอรมนีและรางวัลโนเบลสาขาเคมี
รูดอล์ฟ เฮสส์
รูดอล์ฟ วัลเทอร์ ริชาร์ด เฮสส์ (26 เมษายน 1894 – 17 สิงหาคม 1987) เป็นนักการเมืองคนสำคัญในนาซีเยอรมนี ได้รับแต่งตั้งเป็นรองฟือเรอร์ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในปี 1933 เขาดำรงตำแหน่งจนปี 1941 เมื่อเขาบินเดี่ยวไปประเทศสกอตแลนด์เพื่อพยายามเจรจาสันติภาพกับสหราชอาณาจักรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เขาถูกจับเป็นนักโทษและสุดท้ายถูกพิพากษาลงโทษฐานอาชญากรรมต่อสันติภาพ รับโทษจำคุกตลอดชีวิต เฮสส์สมัครเข้าเป็นทหารในกรมทหารปืนใหญ่สนามบาวาเรียที่ 7 เป็นทหารราบเมื่อสงครามโลกครั้งที่หนึ่งอุบัติ เขาได้รับบาดเจ็บหลายครั้งระหว่างสงคราม และได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์กางเขนเหล็ก ชั้นสองในปี 1915 ไม่นานก่อนสงครามยุติ เฮสส์ขึ้นทะเบียนเพื่อฝึกเป็นนักบิน แต่มิได้ปฏิบัติหน้าที่ในบทบาทนี้ เขาออกจากกองทัพในเดือนธันวาคม 1918 ด้วยยศร้อยโทสำรอง (Leutnant der Reserve) ในฤดูใบไม้ร่วงปี 1919 เฮสส์สมัครเรียนในมหาวิทยาลัยมิวนิก ที่ซึ่งเขาศึกษาวิชาภูมิรัฐศาสตร์กับคาร์ล เฮาโชแฟร์ ผู้สนับสนุนมโนทัศน์เลเบนซเราม์ ("ที่อยู่อาศัย") ซึ่งต่อมากลายเป็นเสาหลักของอุดมการณ์พรรคนาซี เฮสส์เข้าร่วมพรรคนาซีเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 1920 และร่วมกับฮิตเลอร์ก่อกบฏโรงเบียร์เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 1923 อันเป็นความพยายามของนาซีที่ล้มเหลวเพื่อยึดรัฐบาลบาวาเรีย ระหว่างรับโทษจำคุกจากความพยายามรัฐประหารนี้ เฮสส์ช่วยฮิตเลอร์เขียนงานของเขา ไมน์คัมพฟ์ ซึ่งต่อมากลายเป็นรากฐานแนวนโยบายของพรรคนาซี เมื่อนาซียึดอำนาจในปี 1933 เฮสส์ได้รับแต่งตั้งเป็นรองฟือเรอร์ของพรรคนาซีและได้รับตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีของฮิตเลอร์ เขาเป็นผู้ทรงอำนาจสูงสุดอันดับสามในประเทศเยอรมนี รองแต่เพียงฮิตเลอร์และแฮร์มันน์ เกอริง นอกเหนือจากการปรากฏตัวแทนฮิตเลอร์ในการปราศรัยและชุมนุม เฮสส์ลงนามผ่านกฎหมายหลายฉบับซึ่งรวมกฎหมายเนือร์นแบร์กปี 1935 ซึ่งถอดสิทธิของชาวยิวในประเทศเยอรมนีนำไปสู่ฮอโลคอสต์ เฮสส์ยังสนใจการบิน โดยเรียนบินอากาศยานที่ซับซ้อนขึ้นซึ่งมาพัฒนาเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติ เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 1941 เขาบินเดี่ยวไปประเทศสกอตแลนด์ ซึ่งเขาหวังจัดการเจรจาสันติภาพกับดุ๊กแฮมิลตัน ซึ่งเขาเชื่อว่าเป็นคนสำคัญในฝ่ายค้านของรัฐบาลอังกฤษ เฮสส์ถูกจับกุมทันทีที่มาถึงและถูกอังกฤษควบคุมตัวจนสิ้นสงคราม(หลังจากฮิตเลอร์ได้ทราบการกระทำของเฮสส์ทำให้เขาโกรธมากและทำการปลดเขาออกจากรองฟือเรอร์และได้แต่งตั้งมาร์ติน บอรมันแทน) เมื่อเขากลับประเทศเยอรมนีเพื่อรับการไต่สวนในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์กอาชญากรสงครามคนสำคัญในปี 1946 ตลอดการไต่สวน เขาอ้างว่าป่วยเป็นภาวะเสียความจำ แต่ภายหลังรับว่าเป็นอุบาย เฮสส์ถูกพิพากษาลงโทษฐานอาชญากรรมต่อสันติภาพและคบคิดกับผู้นำเยอรมันอื่นเพื่อก่ออาชญากรรมและถูกย้ายไปเรือนจำซแพนเดาในปี 1947 ซึ่งเขารับโทษจำคุกตลอดชีวิต ความพยายามซ้ำ ๆ ของสมาชิกครอบครัวและนักการเมืองคนสำคัญเพื่อให้ปล่อยตัวเขาถูกสหภาพโซเวียตขัดขวาง ขณะยังถูกควบคุมตัวในซแพนเดา เขาเสียชีวิตโดยดูเหมือนฆ่าตัวตายในปี 1987 เมื่ออายุ 93 ปี หลังเสียชีวิต เรือนจำถูกทำลายเพื่อมิให้กลายเป็นที่บูชาของนีโอนาซี หมวดหมู่:นาซี หมวดหมู่:นักการเมืองเยอรมัน หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หมวดหมู่:ทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:เชลยศึกสงครามโลกครั้งที่สองชาวเยอรมันที่ถูกจับโดยสหราชอาณาจักร.
ดู นาซีเยอรมนีและรูดอล์ฟ เฮสส์
ลักเซมเบิร์ก
ลักเซมเบิร์ก (Luxembourg) อาจหมายถึง.
ลัทธิฟาสซิสต์
ัญลักษณ์ลัทธิฟาสซิสต์ ลัทธิฟาสซิสต์ (Fascism) เป็นชาติ-อำนาจนิยมมูลวิวัติรูปแบบหนึ่งTurner, Henry Ashby, Reappraisals of Fascism.
ดู นาซีเยอรมนีและลัทธิฟาสซิสต์
ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์
หอไอน์สไตน์ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมแนวสำแดงพลังอารมณ์ที่พอทสดัมในเยอรมนี ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ หรือ เอกซเพรสชันนิซึม (expressionism) คือขบวนการทางวัฒนธรรมที่เริ่มขึ้นในเยอรมนีเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่เป็นปฏิกิริยาต่อปฏิฐานนิยม (positivism) และขบวนการศิลปะอื่น ๆ เช่น ธรรมชาตินิยม (naturalism) และลัทธิประทับใจ (impressionism) วัตถุประสงค์ของขบวนการนี้ก็เพื่อการแสวงหาความหมายของ "ความรู้สึกมีชีวิตชีวา" (being alive)Victorino Tejera, 1966, pages 85,140, Art and Human Intelligence, Vision Press Limited, London และประสบการณ์ทางอารมณ์แทนความเป็นจริงทางวัตถุ แนวโน้มของศิลปินกลุ่มนี้จะบิดเบือนความเป็นจริงเพื่อที่จะแสดงผลที่มีต่ออารมณ์ และเป็นศิลปะอัตวิสัย (subjective art form) ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ปรากฏในงานศิลปะหลายรูปหลายแบบซึ่งได้แก่ จิตรกรรม วรรณกรรม การละคร ภาพยนตร์ สถาปัตยกรรม และการดนตรี และมักจะเป็นคำที่มีนัยยะถึงอารมณ์รุนแรงภายใน (angst) โดยทั่วไปแล้วจิตรกรเช่น มัททีอัส กรือเนวัลด์ และเอลเกรโก ก็อาจจะเรียกได้ว่าเป็นจิตรกรแนวสำแดงพลังอารมณ์ แม้ว่าจะเป็นคำที่มักจะใช้กับงานศิลปะของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ก็ตาม.
ดู นาซีเยอรมนีและลัทธิสำแดงพลังอารมณ์
ลัทธิอำนาจนิยม
อำนาจนิยม (authoritarianism) เป็นรูปแบบการจัดระเบียบทางสังคมซึ่งมีลักษณะของการอ่อนน้อมต่ออำนาจหน้าที่ ตามปกติมักตรงข้ามกับปัจเจกนิยมและอิสรนิยม ในทางการเมือง รัฐบาลอำนาจเป็นรัฐบาลซึ่งอำนาจหน้าที่ทางการเมืองกระจุกตัวอยู่กับนักการเมืองกลุ่มเล็ก อำนาจนิยม เป็นระบอบการเมืองที่มีฐานอยู่บนอุดมการณ์ทางการเมืองแบบเผด็จการชนิดที่ผู้ปกครองสามารถใช้อำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเหนือรัฐ หรือกลุ่มคนใดๆ ในการธำรงไว้ซึ่งเป้าหมายสูงสุด คือ การรักษาอำนาจของตน (Kurian, 2011: 103) โดยมักจะไม่คำนึงถึงสิทธิ เสรีภาพของประชาชน ปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นที่เป็นปฏิปักษ์กับผู้นำ ควบคุมสื่อมวลชน ผูกขาดการใช้อำนาจและจำกัดการตรวจสอบ กล่าวได้ว่า ระบอบอำนาจนิยมเป็นระบอบการเมืองที่ใช้แพร่หลายมากที่สุดเป็นระยะเวลายาวนานที่สุด ในประวัติศาสตร์การปกครองของมนุษยชาติ ทุกวันนี้ “อำนาจนิยม” เป็นคำที่ถูกใช้ถึงบ่อยครั้งที่สุด เมื่อกล่าวถึงระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตย ลักษณะสำคัญของระบอบอำนาจนิยม คือ การกระทำและการตัดสินใจของผู้ปกครองไม่ถูกจำกัดโดยสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของประชาชน ในขณะที่สิทธิ เสรีภาพของประชาชนมีอยู่อย่างจำกัด กล่าวอีกนัยหนึ่ง สิทธิทางการเมืองของประชาชน หากมีอยู่บ้าง ก็จำกัดเต็มที ด้วยเหตุที่ผู้ปกครองอำนาจนิยมจะสร้างกฎระเบียบ มาตรการที่เข้มงวด เพื่อจำกัดกิจกรรมของบุคคลและกลุ่มบุคคลที่ต้องการมีส่วนร่วมในการจัดสรรสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม ในระบอบอำนาจนิยม ประชาชนส่วนใหญ่ในสังคมมักไม่ได้รับอนุญาตให้แสดงออกทางการเมืองใดๆ ยกเว้น กิจกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากอำนาจรัฐ ฉะนั้น การต่อสู้ทางการเมืองในรูปแบบการชุมนุมประท้วงและเดินขบวนตามจังหวะและโอกาส จึงแทบจะเป็นรูปแบบการมีส่วนร่วมชนิดเดียวที่ทำได้ ในขณะที่เสรีภาพของสื่อมวลชนและประชาชนที่จะวิพากษ์วิจารณ์และตั้งคำถามต่อระบบการเมืองจะถูกตรวจสอบ หากฝ่าฝืนจะมีมาตรการลงโทษ อำนาจนิยมมีลักษณะของอำนาจที่เข้มข้นและรวมเข้าสู่ศูนย์กลางอย่างมาก ซึ่งรักษาไว้โดยการปราบปรามทางการเมืองและการกีดกันคู่แข่งที่เป็นไปได้ รัฐบาลอำนาจนิยมใช้พรรคการเมืองและองค์การมวลชนเพื่อระดมคนมารอเป้าหมายของรัฐบาล อย่างไรก็ตาม ในระบอบอำนาจนิยม ประชาชนสามารถดำเนินชีวิตประจำวันในส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องกับมิติทางการเมืองได้อย่างปกติ สามารถเลือกประกอบอาชีพ นับถือศาสนา และสังสรรค์หาความสุขได้โดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมโดยตรงจากรัฐบาล แต่กระนั้น ในบางประเทศสิทธิและเสรีภาพในการดำเนินชีวิตอาจถูกควบคุมโดยธรรมเนียมปฏิบัติ บรรทัดฐานหรือความเชื่อทางศาสนาที่เข้มงวด ซึ่งอาจเป็นส่วนหนึ่งหรือคนละส่วนกับอำนาจรัฐในระบบการเมืองก็ได้ ประเทศที่จัดได้ว่าเป็นระบอบอำนาจนิยม เช่น อิหร่าน สหภาพเมียนมาร์ (พม่า--Union of Myanmar) ซาอุดิอาระเบีย และอินโดนีเซีย ภายใต้นายพลซูฮาร์โต เป็นต้น ข้อมูลที่น่าสนใจ คือ ประสบการณ์ทางการเมืองของประเทศในลาตินอเมริกา นำมาสู่คำเรียกขาน “ระบอบราชการอำนาจนิยม” (bureaucratic authoritarianism) ที่ใช้อธิบายประเทศจำนวนหนึ่งที่เคยเป็นประชาธิปไตย แต่เกิดหักเหจนในที่สุดระบอบประชาธิปไตยต้องล่มสลาย และถูกแทนที่ด้วยแนวร่วมระหว่างคณะทหารกับพลเรือนที่ทำการรัฐประหารยึดกุมสถาบันการเมืองที่มาจากการเลือกตั้ง ชนชั้นนำที่ประกอบด้วย ทหาร ข้าราชการพลเรือน นักเทคนิคระดับสูง (technocrats) ตลอดจนนักธุรกิจชั้นนำดำเนินนโยบายที่เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม แต่ปิดกั้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบาย และการเข้ามาแข่งขันในตลาดการเมือง โดยคณะทหารและระบบราชการดังกล่าว แสดงบทบาททางการเมืองในฐานะที่เป็นสถาบัน ไม่ใช่ตัวบุคคล นักวิชาการลาตินอเมริกาวิเคราะห์ว่า ระบอบราชการอำนาจนิยม เป็นผลจากการพัฒนาอุตสาหกรรมทุนนิยมแบบพึ่งพา ประเทศที่จัดว่าใช้ระบอบราชการอำนาจนิยม เช่น บราซิล อาร์เจนตินา และ ชิลี ในยุคปัจจุบันที่ปรากฏมากที่สุดคือ “อำนาจนิยมที่มาจากการเลือกตั้ง” (electoral authoritarianisms) หรือระบอบอำนาจนิยมที่มีเปลือกนอกฉาบด้วยผู้นำที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งปรากฏให้เห็นในหลายประเทศแถบตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือ (Linz, 2000: 34; Badie, 2011: 107) ในระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน กระบวนการอันสำคัญและจำเป็นกระบวนการหนึ่งที่มิอาจขาดหายไปได้เลยก็คือ การเลือกตั้ง (election) เพราะเป็นกระบวนการที่จะทำให้ประชาชนเจ้าของอำนาจได้แสดงออกซึ่งเจตจำนงเสรีของแต่ละบุคคล ทว่าการเลือกตั้งก็อาจมิใช่ตัวบ่งชี้ถึงความเป็นประชาธิปไตยเสมอไป เพราะระบอบอำนาจนิยมในหลายประเทศได้อาศัยกระบวนการเลือกตั้งมาเป็นเครื่องมือในการสร้างความชอบธรรมในการปกครอง และการใช้อำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเพื่อประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้ง ด้วยการอ้างเสียงสนับสนุนข้างมาก ทำให้เกิดอำนาจนิยมแบบใหม่ที่เรียกว่า อำนาจนิยมที่มาจากการเลือกตั้ง (electoral authoritarianism) ทำให้เกิดข้อถกเถียงว่า การเลือกตั้งมิได้เท่ากับการมีประชาธิปไตยเสมอไป หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ การเลือกตั้งเป็นปัจจัยที่ “จำเป็น” แต่อาจไม่ “เพียงพอ” ที่จะแบ่งระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ออกจากระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตย เส้นแบ่งใหม่ที่เกิดขึ้นระหว่างการเลือกตั้งของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย และระบอบอำนาจนิยมที่แฝงเร้นอยู่ในคราบประชาธิปไตยตัวแทนจอมปลอม (authoritarianism disguised in the form of representative democracy) จึงอยู่ที่มิติด้านคุณภาพของการเลือกตั้งและประสิทธิภาพของกลไกตรวจสอบด้วย กล่าวคือ การเลือกตั้งจะต้องเป็นการเลือกตั้งที่เสรี เที่ยงธรรม และโปร่งใส (free, fair, and transparent election) ที่ปราศจากการแทรกแซงจากปัจจัยภายนอกอื่นๆ อาทิ การซื้อสิทธิ์ขายเสียง การแทรกแซงของคณะทหาร ไม่มีการครอบงำ หรือจำกัดคู่แข่งทางการเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง จึงจะนับได้ว่าเป็นการเลือกตั้งที่เพียงพอและจำเป็นที่จะนำไปสู่ระบอบเสรีประชาธิปไตยได้อย่างแท้จริง (Badie, 2011: 112-114) และเมื่อได้ชัยชนะและมีเสียงข้างมากแล้ว หากใช้กลไกเสียงข้างมากบ่อนทำลายกลไกตรวจสอบ ก็อาจนำไปสู่อำนาจนิยมซึ่งเกิดขึ้นภายใต้เสื้อคลุมประชาธิปไตย นอกจากนั้น ความแตกต่างระหว่างอำนาจนิยมและประชาธิปไตยที่สำคัญไม่แพ้การเลือกตั้ง คือ การมีหลักนิติธรรมที่ไม่เอนเอียง มีรัฐบาลที่ตรวจสอบได้ และมีกระบวนการยุติธรรมที่เป็นอิสระปราศจากการแทรกแซงหรืออคต.
ดู นาซีเยอรมนีและลัทธิอำนาจนิยม
ลัทธิคลาสสิกใหม่
"แจกันเมดีชี" แจกันกระเบื้อง ตกแต่งด้วยสีปอมเปอีดำและแดง, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ราว ค.ศ. 1830 ลัทธิคลาสสิกใหม่ (neoclassicism, neo-classicism) เป็นชื่อที่ใช้สำหรับขบวนการทางวัฒนธรรมของศิลปะการตกแต่ง ทัศนศิลป์ วรรณคดี การละคร ดนตรี และสถาปัตยกรรมที่มาจากศิลปะคลาสสิกและวัฒนธรรมซึ่งส่วนใหญ่มาจากกรีกโบราณหรือโรมันโบราณ) ขบวนการเหล่านี้มีความนิยมระหว่างกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 จนถึงปลายคริสต์ศตวรรษ 19.
ดู นาซีเยอรมนีและลัทธิคลาสสิกใหม่
ลัทธิประทับใจ
''Avenue de l'Opéra'') โดยกามีย์ ปีซาโร ลัทธิประทับใจ หรือ อิมเพรสชันนิซึม (impressionism) เป็นขบวนการศิลปะที่เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเริ่มต้นจากการรวมตัวกันอย่างหลวม ๆ ของจิตรกรทั้งหลายที่มีนิวาสถานอยู่ในกรุงปารีส พวกเขาเริ่มจัดแสดงงานศิลปะในช่วงทศวรรษที่ 1860 ชื่อของขบวนการนี้มีที่มาจากภาพวาดของโกลด มอแน ที่มีชื่อว่า Impression, Sunrise ("Impression, soleil levant" ในภาษาฝรั่งเศส) และนักวิจารณ์ศิลปะนามว่าหลุยส์ เลอรัว (Louis Leroy) ก็ได้ให้กำเนิดคำคำนี้ขึ้นมาอย่างไม่ตั้งใจในบทวิจารณ์ศิลปะเชิงเสียดสีซึ่งตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์เลอชารีวารี (Le Charivari) อิทธิพลของลัทธิประทับใจยังแผ่ออกจากวงการศิลปะไปยังดนตรีและวรรณกรรม.
ดู นาซีเยอรมนีและลัทธิประทับใจ
ลัทธิเหนือจริง
“Arrested Expansion หรือ Cardiac Arrest” โดย จอร์จ กรี (George Grie) ลัทธิเหนือจริง หรือ เซอร์เรียลลิซึม (Surrealism) เป็น “ลัทธิ” หรือ “ขบวนการ” ทางวรรณศิลป์และทัศนศิลป์ที่เกิดขึ้นในฝรั่งเศสช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง อ็องเดร เบรอตง (Andre Breton) เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มดาดา (Dadaism) ที่มีเป้าหมายใช้ความก้าวร้าวรุนแรงเพื่อต่อต้านสงคราม ต่อต้านค่านิยมของชนชั้นกลางทุกชนิดรวมทั้งคริสต์ศาสนา ต้องการทำลายขนบประเพณีที่ชนชั้นกลางสะสมไว้รวมทั้งศิลปวรรณคดีด้วย หลังจากร่วมทำกิจกรรมกับกลุ่มดาดาอยู่ระยะหนึ่งเบรอตงกับเพื่อนก็แยกตัวออกมาตั้งกลุ่มใหม่ คือ กลุ่มเซอร์เรียลลิซึม ซึ่งยังรับเอาความก้าวร้าวมุ่งทำลายค่านิยมของชนชั้นกลางของดาดามาเป็นฐานแต่มุ่งสร้างค่านิยมใหม.
ดู นาซีเยอรมนีและลัทธิเหนือจริง
ลุฟท์วัฟเฟอ
ลุฟท์วัฟเฟอ (Luftwaffe) เป็นเหล่าทัพการสงครามทางอากาศของกองทัพเยอรมันเวร์มัคท์ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพอากาศเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง, ลุฟท์ชไตรท์แครฟเทอ (Luftstreitkräfte) แห่งกองทัพจักรวรรดิเยอรมัน และหน่วยนักบินทหารเรือ มารีเนอ-ฟีเกอร์อับไทลุงของไคแซร์ลีเชอ มารีเนอ (Kaiserliche Marine), ได้ถูกยุบในเดือนพฤษภาคม..
ลุทซ์ กรัฟ ชเวริน ฟอน โครซิจค์
ันน์ ลุดวิจ กรัฟ ชเวริน ฟอน โครซิจค์ (Johann Ludwig Graf Schwerin von Krosigk) ชื่อเมื่อเกิดว่า โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน โครซิจค์ และรู้จักในชื่อ ลุทซ์ ฟอน โครซิจค์ (22 สิงหาคม ค.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและลุทซ์ กรัฟ ชเวริน ฟอน โครซิจค์
วรอตสวัฟ
วรอตสวัฟ (Wrocław) หรือ เบรสเลา (Breslau) เป็นเมืองหลักของจังหวัดดอลนือชล็อนสก์ ประเทศโปแลนด์ และถือว่าเป็นที่นัดพบสำคัญในทวีปยุโรป มีความหลากหลายและการเปี่ยมล้นด้วยวัฒนธรรมของประวัติศาสตร์ในเมืองนี้ เป็นดังสะพานเชื่อม ที่เชื่อมระหว่างคนในแต่ละรุ่น แต่ละวัฒนธรรมเข้าด้วยกัน เป็นแบบเมืองที่ทันสมัยของเมืองใหญ่ ที่มีพื้นฐานทางประวัติศาสตร์ ชีวิตที่เต็มด้วยวัฒนธรรมและการศึกษา และมากไปกว่านั้น เมืองวรอตสวัฟใกล้เขตชายแดนของสองประเทศ นั่นคือชายแดนติดกับสาธารณรัฐเช็ก และชายแดนติดกับประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ห่างกรุงเบอร์ลิน 350 กิโลเมตร, ห่างจากเมืองปราก 280 กิโลเมตร, ห่างจากกรุงเวียนนา 390 กิโลเมตร และห่างจากกรุงวอร์ซอ 340 กิโลเมตร มีประชากร 632,240 คน ทำให้เป็นเมืองใหญ่อันดับ 4 ของประเทศโปแลนด์ Breslau.
วิลเฮล์ม ฟริค
วิลเฮล์ม ฟริค (12 มีนาคม 1877 - 16 ตุลาคม 1946) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมันที่โดดเด่นที่สุดของพรรคนาซีซึ่งทำหน้าที่เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแห่งไรซ์ในคณะรัฐมนตรีฮิตเลอร์ (1933-1943) และเป็นผู้สำเร็จราชการคนสุดท้ายของรัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและโมราเวี.หลังสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สอง,เขาได้ถูกตั้งข้อกล่าวหาว่ามีส่วนร่วมในการวางแผนและดำเนินการรุกราน,อาชญากรรมสงครามและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์กและถูกพบว่ามีความผิดจริงจึงถูกพิพากษาโทษประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ ด้วยอายุวัย 69 ปี.
ดู นาซีเยอรมนีและวิลเฮล์ม ฟริค
ศาลประชาชน (เยอรมนี)
250px ศาลประชาชนหรือโฟล์คซดกริชท์ชอฟ (Volksgerichtshof,People's Court) เป็นศาลพิเศษ (Sondergericht) แห่งนาซีเยอรมนี,จัดตั้งขึ้นปฏิบัติการด้านนอกของกรอบรัฐธรรมนูญของกฎหม.สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เดิมในอดีตสภาขุนนางปรัสเซียนในกรุงเบอร์ลิน,ต่อมาย้ายไปที่อดีต Königliches Wilhelms-Gymnasium ที่ Bellevuestrasse 15 ในพอสดาเมอร์ พลาซ (Potsdamer Platz) ศาลได้ก่อตั้งขึ้นในปี 1934 ตามคำสั่งผู้นำนาซี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในการตอบสนองต่อความไม่พอใจของเขาที่ผลการพิจารณาคดีเหตุเพลิงไหม้อาคารรัฐสภาไรชส์ทาค,ซึ่งทั้งหมดแต่หนึ่งในจำเลยกลับพ้นผิด ศาลมีขอบเขตเหนืออำนาจตามลำดับที่ค่อนข้างกว้างของ"ความผิดทางการเมือง", ซึ่งรวมถึงการก่ออาชญากรรม เช่น กิจกรรมตลาดมืด,ทำงานล่าช้า,ความเชื่อว่าจะพ่ายแพ้สงคราม(Defeatism)และการก่อกบฏต่อจักรวรรดิไรซ์ที่สาม.อาชญากรรมเหล่านี้ถูกมองโดยศาลคือWehrkraftzersetzung ("การสลายตัวของความสามารถในการป้องกัน")และถูกลงโทษอย่างรุนแรง;โทษประหารชีวิตได้ถูกกระจายออกไปในหลายกรณี ศาลได้ลงมือจากจำนวนมากมายของโทษประหารชีวิตของประธานผู้พิพากษา โรลันด์ ไฟรซเลอร์,รวมทั้งที่ตามมาด้วยแผนการลอบสังหารฮิตเลอร์ในวันที่ 20 กรกฏาคม 1944.ผู้คนจำนวนมากที่พบว่ามีความผิดโดยศาลจะได้รับการดำเนินการในเรือนจำ Plötzensee ในกรุงเบอร์ลิน การดำเนินการของศาลมักจะถูกแม้จะน้อยกว่าการพิจารณาคดีแสดง(show trials)ในบางกรณี อย่างเช่น โซเฟีย โชลล์(Sophie Scholl)และพี่ชายของเธอ ฮันส์ โชลล์(Hans Scholl)และผู้สนับสนุนในกลุ่มนักเคลื่อนไหว กุหลาบสีขาว(die Weiße Rose) การพิจารณาคดีได้ข้อสรุปในเวลาที่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมงโดยไม่มีหลักฐานที่นำเสนอหรือมีข้อโต้แย้งที่ทำโดยทั้งสองฝ่าย ประธานศาลมักจะทำหน้าที่เป็นอัยการ,การประณามต่อจำเลย,แล้วออกเสียงคำตัดสินและประโยคของเขาโดยไม่ได้รับการคัดค้านจากทนายฝ่ายจำเลย,ที่มักจะยังคงเงียบตลอด ซึ่งมักจะเข้าข้างฝ่ายโจกท์,ไปยังจุดที่ถูกลากก่อนที่มันจะเป็นประหนึ่งการลงโทษประหารชีวิต ในขณะที่นาซีเยอรมนีไม่ได้เป็นกฏของกฏหมายรัฐ,ศาลประชาชนได้ชำระบ่อยด้วยแม้กฏหมายที่ได้ระบุและขั้นตอนของการพิจารณาคดีเยอรมันปกติและทำให้โดดเด่นได้อย่างง่ายดายด้วยการเป็น"ศาลเถื่อน"(kangaroo court).
ดู นาซีเยอรมนีและศาลประชาชน (เยอรมนี)
สมัยระหว่างสงคราม
ำว่า สมัยระหว่างสงคราม (interwar period; interbellum, inter- "ระหว่าง" + bellum "สงคราม") มักหมายถึง ยุคสมัยระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่งยุติลง และสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้น คือ เริ่มต้นด้วยการสงบศึกกับเยอรมนีอันยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่งใน..
ดู นาซีเยอรมนีและสมัยระหว่างสงคราม
สวัสติกะ
รื่องหมายสวัสติกะ บนพระพุทธรูป สวัสติกะ (ภาษาอังกฤษ: Swastika; สันสกฤต स्वस्तिक svastika) เป็นเครื่องหมายกากบาทที่ตรงส่วนปลายทำมุมฉาก โดยมีทั้งลักษณะที่ทิศทางด้านซ้าย หรือด้านขวา เครื่องหมายสวัสติกะ มีการใช้เป็นสัญลักษณ์ใน ศาสนาฮินดู และ พุทธศาสนา ในประเทศตะวันตกรู้จักกันมากในสัญลักษณ์ของฝ่ายนาซี โดยสวัสติกะของนาซีจะเอียงทำมุม 45 องศากับแนวระนาบ สวัสติกะของฮินดูจะมีจุด ประดับที่มุมต่างๆ ของสัญลักษณ์ สัญลักษณ์สวัสติกะของฝ่ายนาซี จะมีลักษณะทิศทางทางด้านขวา หากสังเกตดูจะพบว่าเป็นรูปอักษรโรมันตัว S 2 ตัวซ้อนกัน ซึ่งย่อมาจากคำในภาษาเยอรมัน โดย S ตัวหนึ่งมาจากคำว่า "Stadt" แปลว่า บ้านเมือง และอีกตัวหนึ่งมาจากคำว่า "Sicherheit" แปลว่า ปลอดภั.
สหภาพแรงงาน
หภาพแรงงาน (Labour Union หรือ Labor Union) คือการรวมตัวกันของกลุ่มลูกจ้างโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้มีการดำเนินการตาม หรือเปลี่ยนแปลงข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง เมื่อประมาณหลายปีที่แล้ว สหภาพแรงงานได้ถือกำเนิดขึ้นและได้พัฒนาไปในรูปแบบที่แตกต่างกัน เนื่องจากบริบททางการเมืองและเศรษฐกิจที่แตกต่างกันในแต่ละประเทศ ดังนี้จึงส่งผลให้วัตถุประสงค์ และกิจกรรมหลักของสหภาพแรงงานจึงแตกต่างกันไปด้วย อย่างไรก็ตามอาจสรุปหน้าที่หลักของสหภาพแรงงานได้ดังนี้.
สหภาพโซเวียต
หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..
สหรัฐ
หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).
สหราชอาณาจักร
หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..
ดู นาซีเยอรมนีและสหราชอาณาจักร
สันนิบาตชาติ
ันนิบาตชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นใน..
สันนิบาตสาวเยอรมัน
ันนิบาตสาวเยอรมัน (Bund Deutscher Mädel ย่อ: BDM) เป็นสมาคมฝ่ายสตรีในองค์การยุวชนฮิตเลอร์ของพรรคนาซี ถือเป็นองค์กรสตรีเพียงองค์กรเดียวที่ถูกต้องตามกฎหมายในประเทศเยอรมนี สันนิบาตสาวเยอรมันมีต้นกำเนิดตั้งแต่ทศวรรษที่ 1920 โดยมีชื่อเมื่อก่อตั้งว่า แมดเชินชาฟเทิน (Mädchenschaften) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ สมาคมสตรีแห่งยุวชนฮิตเลอร์ (Schwesternschaften der Hitler-Jugend) ต่อมาใน..
ดู นาซีเยอรมนีและสันนิบาตสาวเยอรมัน
สันนิบาตสตรีชาติสังคมนิยม
ันนิบาตสตรีชาติสังคมนิยม(German: Nationalsozialistische Frauenschaft, ย่อ NS-Frauenschaft)เป็นสมาชิกฝ่ายสตรีแห่งพรรคนาซี.ก่อตั้งในเดือนตุลาคม ปี..
ดู นาซีเยอรมนีและสันนิบาตสตรีชาติสังคมนิยม
สันนิบาติชาติสังคมนิยมแห่งไรช์เพื่อกายบริหาร
ันนิบาติชาติสังคมนิยมแห่งไรช์เพื่อกายบริหาร (Nationalsozialistischer Reichsbund für Leibesübungen, ย่อคำว่า NSRL),เป็นองค์กรร่ม (umbrella organization) สำหรับการกีฬาและพละศึกษาในนาซีเยอรมนี NSRLได้เป็นที่รู้จักกันคือสันนิบาตเยอรมันแห่งไรซ์สำหรับการออกกำลังทางกายภาพ (Deutscher Reichsbund für Leibesübungen, abbreviated DRL) จนกระทั่งปี 1938.องค์กรได้ถูกขยายไปยังประเทศออสเตรียภายหลังจากการผนวกประเทศดินแดนโดยนาซีเยอรมนี NSRL ได้นำโดย Reichssportführer,ผู้ซึ่งภายหลังในปี..
ดู นาซีเยอรมนีและสันนิบาติชาติสังคมนิยมแห่งไรช์เพื่อกายบริหาร
สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2
รณรัฐโปแลนด์ที่ 2 หรือเครือจักรภพโปแลนด์ที่สองหรือโปแลนด์ระหว่างสงคราม หมายความถึงประเทศโปแลนด์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง (ค.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2
สาธารณรัฐไวมาร์
รณรัฐไวมาร์ (Weimarer Republik) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกประเทศเยอรมนีในยุคสาธารณรัฐระหว่างปี..
ดู นาซีเยอรมนีและสาธารณรัฐไวมาร์
สงครามกลางเมืองสเปน
งครามกลางเมืองสเปน (Spanish Civil War) เป็นการรบในประเทศสเปนที่เกิดจากความขัดแย้งระหว่างฝ่ายสนับสนุนกับฝ่ายต่อต้านสาธารณรัฐสเปนที่ 2 ได้แก่ "ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐ" ประกอบด้วยกลุ่มมัชฌิมา กลุ่มสังคมนิยม กลุ่มคอมมิวนิสต์ รวมทั้งชาวกาตาลาและชาวบาสก์ที่หัวรักถิ่นและเป็นอนาธิปไตย กับ "ฝ่ายชาตินิยม" ที่เป็นฝ่ายก่อการกบฏ รวมถึงพวกนิยมกษัตริย์ พวกการ์ลิสต์ พวกคาทอลิกหัวเก่า และพวกฟาสซิสต์ฟรังกิสต์ ซึ่งกองทัพสเปนเองก็ได้แตกแยกออกเป็นสองฝ่าย แต่ละฝ่ายก็พยายามระดมหาพันธมิตรต่างประเทศมาช่วยรบ ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐดึงสหภาพโซเวียตและเม็กซิโก ส่วนฝ่ายชาตินิยมดึงพวกฟาสซิสต์จากอิตาลีและนาซีเยอรมนี สงครามดังกล่าวนับว่าเป็นการเร่งความขัดแย้งที่นำไปสู่สงครามโลกครั้งที่สอง และถูกมองว่าเป็นสงครามตัวแทนระหว่างสองลัทธิ คือ คอมมิวนิสต์ สหภาพโซเวียตและฟาสซิสต์ ฝ่ายอักษะ สงครามดังกล่าวได้มีการนำรถถังและการทิ้งระเบิดทางอากาศมาใช้ และถูกกล่าวขานถึงความโหดร้ายของสงครามและความแตกแยกทางการเมืองจากนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่หลายคน อย่างเช่น เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์, มาร์ธา เกลฮอร์น, จอร์จ ออร์เวลล์, และโรเบิร์ต คาป.
ดู นาซีเยอรมนีและสงครามกลางเมืองสเปน
สงครามลวง
ปสเตอร์ซึ่งถูกพบเห็นได้ทั่วไปในอังกฤษระหว่าง "สงครามลวง" สงครามลวง เป็นช่วงต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งแต่เดือนกันยายน..
สงครามต่อเนื่อง
งครามต่อเนื่อง ประกอบด้วยสงครามระหว่างฟินแลนด์และสหภาพโซเวียต ตั้งแต่ปี..
ดู นาซีเยอรมนีและสงครามต่อเนื่อง
สงครามโลกครั้งที่สอง
งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.
ดู นาซีเยอรมนีและสงครามโลกครั้งที่สอง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..
ดู นาซีเยอรมนีและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามเย็น
กำแพงเบอร์ลินจากฝั่งตะวันตก กำแพงถูกสร้างใน ค.ศ. 1961 เพื่อป้องกันมิให้ชาวเยอรมันตะวันออกหนีและหยุดการหลั่งไหลของแรงงานซึ่งเป็นภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ มันเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็นและการทลายกำแพงใน ค.ศ.
สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี
นธิสัญญาการในการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี หรือเรียกว่า สนธิสัญญาสองบวกสี่ (Zwei-plus-Vier-Vertrag) มีการเจรจาขึ้นในปี..
ดู นาซีเยอรมนีและสนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี
สนธิสัญญาแวร์ซาย
''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและสนธิสัญญาแวร์ซาย
อลังการศิลป์
ตึกเทศบาลเมืองบัฟฟาโลซิตีในนิวยอร์ก อลังการศิลป์ หรือ ศิลปะตกแต่ง หรือ อาร์ตเดโค (Art Deco) เป็นขบวนการการออกแบบนานาชาติระหว่าง ค.ศ.
ออทโท ฮาน
ออทโท ฮาน (Otto Hahn) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน เขาเป็นผู้บุกเบิกสาขากัมมันตภาพรังสีและรังสีเคมี และได้รับการยอมรับนับถือเป็น "บิดาแห่งเคมีนิวเคลียร์" เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีในปี..
อัลแบร์ท ชเปียร์
แบร์โทลด์ คอนราด แฮร์มันน์ อัลแบร์ท ชเปียร์ (Berthold Konrad Hermann Albert Speer;; 19 มีนาคม ค.ศ. 1905 – 1 กันยายน ค.ศ. 1981) เป็นสถาปนิกชาวเยอรมัน เป็นหัวหน้าสถาปนิกของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ก่อนได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงสรรพาวุธของนาซีเยอรมนี ชเปียร์ยอมรับผิดในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ทำให้ได้รับฉายา "นาซีผู้กล่าวคำขอโทษ" (the Nazi who said sorry) อย่างไรก็ตาม ชเปียร์ปฏิเสธไม่รู้เห็นเกี่ยวกับฮอโลคอสต์ ชเปียร์เกิดเมื่อปี..
ดู นาซีเยอรมนีและอัลแบร์ท ชเปียร์
อัลเฟรด โรเซินแบร์ก
อัลเฟรด แอนสท์ โรเซินแบร์ก (Alfred Ernst Rosenberg) เป็นนักทฤษฏีชาวเยอรมันและอุดมการณ์ที่มีอิทธิพลของพรรคนาซี.โรเซินแบร์กเป็นผู้ที่ได้รับการแนะนำให้รู้จักกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เป็นครั้งแรกโดย Dietrich Eckart และต่อมาเขาก็ได้จัดทำข้อความโพสต์ที่สำคัญหลายอย่างในรัฐบาลนาซี.
ดู นาซีเยอรมนีและอัลเฟรด โรเซินแบร์ก
อัคซีโยน เท4
อัคซีโยน เท4 (German) เป็นการกำหนดหลังสงครามสำหรับโครงการการบังคับการุณยฆาตของนาซีเยอรมนี.
อันชลุสส์
ตำรวจชายแดนเยอรมัน-ออสเตรียกำลังรื้อถอนที่กั้นชายแดนในเหตุการณ์อันชลุสส์ ปี 1938. อันชลุสส์ (Anschluss, Anschluß, ท. การผนวก หรือ การเชื่อมโยง) เป็นคำโฆษณาชวนเชื่อนาซีสำหรับการบุกครองและการรวมประเทศออสเตรียเข้ากับเยอรมนีในเดือนมีนาคม..
อาร์ทูร์ ไซสส์-อินคัวร์ท
อาร์ทูร์ ไซสส์-อินคัวร์ท (Arthur Seyss-Inquart) เป็นนักการเมืองนิยมนาซีชาวออสเตรีย เป็นผู้ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งประเทศออสเตรียเป็นเวลาเพียงสองวัน ตั้งแต่ 11-13 มีนาคม ปี 1938 ก่อนที่จะมีการอันชลุสส์ (Anschluss) คือการผนวกออสเตรียเข้ารวมกับนาซีเยอรมนี,เขาได้ลงนามในกฎหมายรัฐธรรมนูญในฐานะประมุขแห่งรัฐ หลังจากที่ประธานาธิบดีวิลเฮล์ม มิคลัสได้ลาออก.
ดู นาซีเยอรมนีและอาร์ทูร์ ไซสส์-อินคัวร์ท
อิสเตรีย
มุทรอิสเตรีย อิสเตรีย (Istria; โครเอเชีย, สโลวีเนีย: Istra; Istriot: Eîstria; เยอรมัน: Istrien) หรือชื่อเก่าในภาษาละตินคือ Histria เป็นคาบสมุทรขนาดกลางในทะเลเอเดรียติก คาบสมุทรเป็นที่ตั้งสำคัญของอ่าวในทะเลเอเดรียติกคือ Gulf of Trieste และ Kvarner Gulf คาบสมุทรอิสเตรียเป็นดินแดนของสามประเทศคือ ประเทศโครเอเชีย, ประเทศสโลวีเนีย, และ ประเทศอิตาลี.
อุนแทร์เมนเชน
อุนแทร์เมนเชน(ต่ำกว่ามนุษย์, sub-man, subhuman; พหูพจน์: Untermenschen)เป็นคำศัพท์ที่กลายเป็นที่น่าอับอายเมื่อพวกนาซีได้ใช้คำนี้เพื่อการอธิบายถึงพวกที่ไม่ใช่ชาวอารยัน "คนที่ต่ำต้อย" มักจะถูกเรียก "ฝูงคนจากตะวันออก" นั่นคือชาวยิว ชาวโรมานี และชนชาวสลาฟ-ส่วนใหญ่เป็นชาวโปล ชาวเซิร์บ และต่อมาก็เป็นชาวรัสเซีย at Wayback machine.
ดู นาซีเยอรมนีและอุนแทร์เมนเชน
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..
ดู นาซีเยอรมนีและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์
ฮยัลมาร์ ชัคท์
ัลมาร์ โฮราเซอ เกรลี ชัคท์ (Hjalmar Horace Greeley Schacht) เป็นนักเศรษฐศาสตร์, นายธนาคาร, นักการเมืองฝ่ายขวา-กลางและผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์เยอรมันในปี..
ดู นาซีเยอรมนีและฮยัลมาร์ ชัคท์
ฮอสท์-เวสเซิล-ลีด
อสท์-เวสเซิล-ลีด (Horst-Wessel-Lied; เพลงฮอสท์ เวสเซิล) หรือที่รู้จักจากคำขึ้นต้น ดีฟาเนอฮอค (Die Fahne hoch; ธงอยู่สูงเด่น) เป็นเพลงประจำพรรคนาซีตั้งแต..
ดู นาซีเยอรมนีและฮอสท์-เวสเซิล-ลีด
ฮอโลคอสต์
"การเลือกสรร" ในค่ายกักกันเอาชวิทซ์ พฤษภาคม/มิถุนายน 1944; ผู้ที่ถูกส่งไปอยู่ทางขวา คือ ไปใช้แรงงานทาส ส่วนผู้ที่ถูกส่งไปทางซ้าย คือ ไปห้องรมแก๊ส จากภาพ เป็นชาวยิวฮังการีที่เพิ่งมาถึงค่าย ผู้ถ่าย คือ แอร์นสท์ ฮอฟมันน์หรือเบอร์นาร์ด วอลเตอร์แห่งหน่วยเอสเอส ฮอโลคอสต์, โฮโลคอสต์ (The Holocaust) หรือรู้จักในอีกชื่อว่า haShoah (ภาษาฮีบรู: השואה), Churben (ภาษายิดดิช: חורבן) เป็นพันธุฆาตชาวยิวในยุโรปประมาณ 6 ล้านคนระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โครงการฆาตกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐโดยเยอรมนี นำโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ทั่วทั้งดินแดนที่เยอรมนียึดครอง จากชาวยิว 9 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในทวีปยุโรปก่อนฮอโลคอสต์ ประมาณสองในสามถูกสังหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กชาวยิวกว่า 1 ล้านคนถูกสังหารในฮอโลคอสต์ เช่นเดียวกับหญิงชาวยิวประมาณ 2 ล้านคน และชายชาวยิว 3 ล้านคน นักวิชาการบางส่วนเสนอว่า นิยามของฮอโลคอสต์ยังควรรวมถึงพันธุฆาตประชากรกลุ่มอื่นอีกหลายล้านคนของนาซี รวมทั้งชาวโรมานี นักคอมมิวนิสต์ เชลยศึกโซเวียต พลเรือนโปแลนด์และโซเวียต พวกรักเพศเดียวกัน ผู้ทุพพลภาพ พยานพระยะโฮวา และคู่แข่งทางการเมืองและศาสนาอื่น ๆ ไม่ว่ากลุ่มชาติพันธุ์เยอรมันหรือไม่ก็ตาม นิยามนี้เป็นนิยามที่สามัญที่สุดนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดจนถึงคริสต์ทศวรรษ 1960 หากใช้นิยามนี้ จำนวนเหยื่อฮอโลคอสต์ทั้งสิ้นอยู่ระหว่าง 11 ถึง 17 ล้านคน เฮนรี ฟีแลนเดอร์นิยามฮอโลคอสต์ว่า "การสังหารหมู่มนุษย์ เพราะพวกเขาเป็นสมาชิกของกลุ่มที่นิยามทางชีวภาพ" หมายความว่า "พวกนาซีใช้นโยบายการกำจัดที่คงเส้นคงวาและครอบคลุมเฉพาะกับมนุษย์สามกลุ่ม ผู้พิการ ชาวยิวและพวกยิปซี" การเบียดเบียนและพันธุฆาตมีการดำเนินแบ่งเป็นขั้น มีกฎหมายหลายฉบับที่ดึงชาวยิวออกจากประชาสังคม ที่เห็นชัดที่สุดคือ กฎหมายเนือร์นแบร์ก ซึ่งใช้บังคับในเยอรมนีหลายปีก่อนสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้น มีการสร้างค่ายกักกันซึ่งผู้ถูกกักกันถูกบังคับให้ใช้แรงงานทาสกระทั่งเสียชีวิตด้วยการหมดแรงหรือโรค ที่ใดที่เยอรมนียึดครองดินแดนใหม่ในยุโรปตะวันออก หน่วยเฉพาะที่เรียกว่า ไอน์ซัทซกรุพเพน จะฆาตกรรมยิวและคู่แข่งทางการเมืองในการยิงหมู่ ผู้ยึดครองกำหนดให้ชาวยิวและโรมานีถูกจำกัดอยู่ในเกตโตที่แออัดยัดเยียดก่อนถูกขนส่งโดยรถสินค้าไปยังค่ายมรณะ ที่ซึ่ง หากพวกเขารอดชีวิตจากการเดินทาง จะถูกสังหารไปโดยมากในห้องรมแก.
ฮัมบวร์ค
ัมบวร์ค (Hamburg) เป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศเยอรมนี รองลงมาจาก เบอร์ลิน และเป็นเมืองที่ใหญ่อันดับ 8 ของยุโรป โดยมีประชากรอาศัยอยู่ในเมืองฮัมบวร์คมากกว่า 1.8 ล้านคน ในขณะที่รวมปริมณฑลรอบ ๆ ไปด้วยแล้วจะทำให้ นครฮัมบวร์คมีประชากรทั้งสิ้น 5 ล้านคน ท่าเรือฮัมบวร์คเป็นท่าเรือสำคัญ ซึ่งนับเป็นท่าเรือที่ใหญ่เป็นอันดับสองของสหภาพยุโรป และใหญ่เป็นอันดับที่ 10 ของโลก พื้นที่ท่าเรือส่วนใหญ่เป็นบริเวณปลอดภาษี ฮัมบวร์ค ถือเป็นศูนย์กลางการขนส่งที่สำคัญและถือเป็นหนึ่งใน เมืองที่รวยที่สุดในยุโรปและเป็นเขตเมือง อุตสาหกรรมที่แห่งหนึ่งที่สำคัญของ เยอรมันมีบริษัท ห้างร้านที่สำคัญ ๆ ของเยอรมนี อยู่ที่เมืองนี้ และที่สะคัญ ฮัมบวร์คได้รับการศูนย์กลางทางการเงินที่สำคัญมานานหลายศตวรรษและเป็นที่ตั้งของธนาคารที่เก่าแก่ในประเทศเยอรมันคือ ธนาคารแบร์มเบริก ธนาคารนองจากนนี้ ฮัมบวร์คยังเป็น เมืองที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญสำหรับนักท่องเที่ยวทั้งในประเทศและต่างประเทศจากการจัดอันดับโดยได้อันดับที่ ที่ 17 ของโลกในปี 2555 และในปี 2553 ก็ได้อันดับที่ 10 ชื่ออย่างเป็นทางการของฮัมบวร์คคือ นครอิสระและฮันเซียติกแห่งฮัมบวร์ค (เยอรมัน: Freie und Hansestadt Hamburg) คำว่าฮันเซียติกนั้นหมายถึงการเป็นสมาชิกสันนิบาตฮันเซียติกของฮัมบวร์คตั้งแต่ยุคกลาง และบ่งบอกว่าฮัมบวร์คมีฐานะเป็นนครรัฐ ถือเป็น 1 ใน 16 รัฐสหพันธ์ของเยอรมนี ฮัมบวร์คอยู่ทางทิศใต้ของคาบสมุทรจัตแลนด์ ตำแหน่งทางภูมิศาสตร์นั้นอยู่ระหว่างสแกนดิเนเวียกับพื้นทวีปยุโรป ระหว่างทะเลเหนือกับทะเลบอลติก ปัจจุบันฮัมบวร์คเป็นศูนย์กลางการค้านานาชาติ และศูนย์กลางวัฒนธรรมของเยอรมนีทางภาคเหนือ.
ฮันส์ ฟรังค์
ันส์ มิคาเอล ฟรังค์ (Hans Michael Frank) เป็นชาวเยอรมัน เกิดวันที่ 23 พฤษภาคม ปี..
ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น
accessdate.
ดู นาซีเยอรมนีและผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น
จรวดวี-2
V-2 (Vergeltungswaffe 2, ชื่อทางเทคนิค "อาวุธล้างแค้น 2") Aggregat-4 (A4) เป็นขีปนาวุธระยะสั้นที่ถูกพัฒนาขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศเยอรมนีโดยมีเป้าหมายเฉพาะเจาะจงที่กรุงลอนดอนและต่อมาที่แอนต์เวิร์ป โดยปกติจะเรียกว่าจรวด V-2, เป็นจรวดเชื้อเพลิงเหลว-ที่เป็นขีปนาวุธต่อสู้ขีปนาวุธที่มีพิสัยทำการในระยะไกล เป็นครั้งแรกของโลกและเป็นที่รู้จักครั้งแรกในฐานะที่เป็นสิ่งประดิษฐ์ของมนุษย์ที่จะเข้าสู่บริเวณพื้นที่รอบนอกอวกาศ มันเป็นต้นกำเนิดของจรวดสมัยใหม่, รวมทั้งผู้ที่นำมาใช้ในโครงการอวกาศโดยสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ในระหว่างผลพวงของสงครามโลกครั้งที่สองรัฐบาลอเมริกัน, โซเวียต, และอังกฤษทั้งหมดได้เข้าถึงจรวด V-2 ซึ่งการออกแบบทางเทคนิคนั้นได้ผลดีเช่นเดียวกับที่นักวิทยาศาสตร์เยอรมันที่เคยรับผิดชอบในการสร้างจรวดที่สามารถสร้างมันขึ้นมาใช้งานได้ผลจริง ๆ มาแล้ว, จรวด V-2 ประสบความสำเร็จในการทดสอบครั้งแรกในวันที่ 3 ตุลาคม ค.ศ.1942 โดยถูกปล่อยจากแท่นทดสอบที่ 6 สนามบินพีเนมุนด์ในเยอรมนี.
จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..
ดู นาซีเยอรมนีและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
จักรวรรดิเยอรมัน
ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..
ดู นาซีเยอรมนีและจักรวรรดิเยอรมัน
ธรรมศาลา
ลาธรรมยิวในเมืองทรานี ในศาสนายูดาห์ ธรรมศาลา (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ ศาลาธรรม (ศัพท์โรมันคาทอลิก) (synagogue; συναγωγή; หมายถึง การชุมนุมหรือรวมตัว) เป็นศาสนสถานที่ใช้รวมกลุ่มกันทำการอธิษฐาน ทว่าสำหรับชาวยิวแล้ว พวกเขาไม่จำเป็นต้องไปธรรมศาลาเพื่อประกอบพิธี หากรวมตัวได้ครบองค์ประชุม (Quorum) ที่ประกอบด้วยผู้ชายที่บรรลุนิติภาวะแล้วจำนวนสิบคน เรียกว่า "องค์คณะสิบ" หรือ "มินยัน" (Minyan) ก็สามารถประกอบพิธีได้ เมื่อก่อนไม่อนุญาตให้สตรีเป็นหนึ่งในองค์คณะสิบ แต่เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2001, ยิวอนุรักษ์นิกายอนุญาตให้สตรีเป็นหนึ่งในคณะมินยันได้ ในชุมชนยิวปัจจุบัน ธรรมศาลาไม่ได้มีไว้สำหรับพิธีกรรมทางศาสนาเท่านั้น แต่ยังมีสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น เช่น สถานที่จัดเลี้ยง โรงเรียนสอนศาสนา ห้องสมุด ศูนย์รับเลี้ยงเด็กเวลากลางวัน และครัวโคเชอร์ (Kosher) ตามหลักมาตรฐานอาหารยิว.
ถ่านหิน
นหิน ถ่านหิน คือ หินตะกอนชนิดหนึ่งที่เกิดจากการตกตะกอนสะสมของซากพืชในยุคดึกดำบรรพ์เป็นเวลายาวนานหลายล้านปี จนตะกอนนั้นได้เปลี่ยนสภาพไปและมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นธาตุคาร์บอน โดยมีธาตุอื่นๆทั้งที่เป็นก๊าซและของเหลวปนอยู่ด้วยในสัดส่วนที่น้อยกว่าและเป็นแร่เชื้อเพลิงสามารถติดไฟได้ มีสีน้ำตาลอ่อนจนถึงสีดำ มีทั้งชนิดผิวมันและผิวด้าน น้ำหนักเบา ถ่านหินประกอบด้วยธาตุที่สำคัญ 4 อย่างได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และออกซิเจน นอกจากนั้น มีธาตุหรือสารอื่น เช่น กำมะถัน เจือปนเล็กน้อย ถ่านหินที่มีจำนวนคาร์บอนสูงและมีธาตุอื่น ๆ ต่ำ เมื่อนำมาเผาจะให้ความร้อนมาก ถือว่าเป็นถ่านหินคุณภาพดี.
ทวีปแอฟริกา
แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.
ทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์
ทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ (Reichskanzlei ไรชส์คันซไล) คือชื่อที่ใช้เรียกสำนักงานและที่พำนักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี (ไรชส์คันซเลอร์) ในยุคไรช์เยอรมันระหว่าง..
ดู นาซีเยอรมนีและทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์
ทุพภิกขภัย
ทุพภิกขภัย (famine) คือสภาวะของการขาดแคลนอาหารอย่างกว้างขวางซึ่งอาจใช้กับสภาวะที่เกิดในสัตว์ชนิดใดก็ได้ วิกฤติการณ์ดังกล่าวมักจะตามมาด้วยสภาวะทุพโภชนาการ, การอดอยาก, โรคระบาด และการเพิ่มจำนวนการเสียชีวิต องค์ประกอบสำคัญในการบรรเทาสภาวะทุพภิกขภัยก็ได้แก่การแจกจ่ายสารอาหารรอง เช่นวิตามินและ แร่ธาตุจากซองอาหารบำบัดที่ประกอบด้วยสารเสริมอาหาร หรือให้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโดยตรงhttp://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,1914655, 00.html Can one pill tame the illness no one wants to talk about? ประเภทการบรรเทาสภาวะทุพภิกขภัยแบบหนึ่งการให้เงินหรือให้ตั๋วแก่ผู้ที่อดอยากเพื่อนำไปซื้อหรือแลกเปลี่ยนเป็นอาหารจากเกษตรกรท้องถิ่น แทนที่จะนำทุนไปซื้ออาหารจากประเทศผู้บริจาค กฎหมายมักต้องระบุ เพราะเป็นการเสียเงินค่าขนส่ง การแก้ปัญหาความขาดแคลนระยะยาวก็ทำได้โดยการลงทุนในการเกษตรกรรมแบบใหม่ในภูมิภาคที่ยังไม่มีระบบดังกล่าว เช่นการใช้ปุ๋ย และสร้างระบบการชลประทานอันวิธีสำคัญที่ใช้ในการกำจัดความหิวโหยในประเทศพัฒนาแล้ว แต่กฎของธนาคารโลกจำกัดการให้ทุนช่วยเหลือเกษตรกร และการใช้ปุ๋ยก็ได้รับการต่อต้านจากนักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบางกลุ่มเพราะมีผลตามมาอย่างคาดไม่ถึง คือ ปริมาณน้ำและถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์ลดลงhttp://www.theatlantic.com/issues/97jan/borlaug/borlaug.htm Forgotten benefactor of humanity.
ทุนนิยม
"พีระมิดระบบทุนนิยม" ถูกตีพิมพ์ลงหนังสือพิมพ์ในปี..
ข้าวไรย์
ข้าวไรย์ (rye) เป็นพืชชนิดหนึ่งในตระกูลข้าวสาลี ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกันกับข้าวสาลีและข้าวบาร์เลย์มาก เมล็ดของมันเป็นธัญพืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง อีกทั้งมีประโยชน์มากสำหรับมนุษย์และสัตว์ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปแปรรูปทำเป็นแป้ง ขนมปัง วิสกี้และเบียร์ได้อีกด้วย หมวดหมู่:ธัญพืช หมวดหมู่:หญ้า หมวดหมู่:อาหารหลัก ar:شيلم.
ดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน
ลงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีมีชื่อว่า ดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน (Das Lied der Deutschen, แปลว่า "เพลงแห่งชาวเยอรมัน) หรือในอีกชื่อหนึ่ง คือ ดัสดอยท์ชลันด์ลีด (Das Deutschlandlied, แปลว่า "เพลงแห่งเยอรมนี") สำหรับในต่างประเทศในบางครั้งจะรู้จักกันในชื่อ "ดอยท์ชลันด์อือเบอร์อัลเลส" (Deutschland über alles, แปลว่า "เยอรมนีเหนือทุกสิ่ง") ซึ่งเป็นวรรคแรกและท่อนแยกของเพลงนี้ในบทที่ 1 แต่ชื่อดังกล่าวไม่ใช่ชื่อของเพลงนี้อย่างแท้จริง ทำนองของเพลงนี้ประพันธ์โดย โจเซฟ ไฮเดิน เมื่อปี..
ดู นาซีเยอรมนีและดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน
คริสตาเดลเฟียน
Christadelphian Hall, Bath, England คริสตาเดลเฟียน (Christadelphians; ชื่อหมายถึง "พี่น้องในพระคริสต์") เป็นคริสตจักรโปรเตสแตนต์เล็ก ๆ ในอังกฤษและออสเตรเลี.
ดู นาซีเยอรมนีและคริสตาเดลเฟียน
ครีกซมารีเนอ
รีกซมารีเนอ (สงครามกองทัพเรือ) เป็นกองทัพเรือของนาซีเยอรมนีในช่วงปี 1935 ถึง 1945.ได้ถูกแทนที่จากกองทัพเรือแห่งจักรวรรดิเยอรมันและสมัยระหว่างสงคราม ไรซ์มารีเนอ.ครีกซมารีเนอเป็นหนึ่งในสามเหล่าทัพอย่างเป็นทางการพร้อมกับเฮร์ (กองทัพบก),และลุฟท์วัฟเฟอ (กองทัพอากาศ) ของกองทัพเวร์มัคท์,กองกำลังติดอาวุธของนาซีเยอรมนี.
คลองคีล
200px คลองคีล คลองคีล (Kiel Canal; Nord-Ostsee-Kanal ท. "คลองทะเลเหนือ--บอลติก") หรือก่อน..
ความตกลงมิวนิก
นแดนซูเดเทินลันด์ ความตกลงมิวนิก (Munich Agreement; Mnichovská dohoda; Mníchovská dohoda; Münchner Abkommen; Accords de Munich) เป็นการประชุมระหว่างประเทศในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เพื่อตกลงเกี่ยวกับแคว้นซูเดเทินลันด์และดินแดนเชโกสโลวาเกีย จัดขึ้นในวันที่ 30 กันยายน ค.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและความตกลงมิวนิก
ความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง
ตราสัญลักษณ์ของ KdF. แผ่นผับของ KdF.. การเต้นรำและยิมนาสสติกใน KdF, ปี ค.ศ. 1933. Kraft durch Freude (ภาษาเยอรมันจาก Strength through Joy, ย่อมาจาก KdF) เป็นโครงการขององค์กรดำเนินสันทนาการของรัฐขนาดใหญ่ในนาซีเยอรมนี,ได้เป็นส่วนหนึ่งของแนวร่วมแรงงานเยอรมัน (German Labour Front - Deutsche Arbeitsfront, DAF) องค์กรแรงงานแห่งชาติเยอรมันในช่วงเวลานั้น,จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือในการส่งเสริมคุณประโยชน์ของชาติสังคมนิยมต่อประชาชน,ในเวลาไม่ช้าได้กลายเป็นการดำเนินการการท่องเที่ยวที่ใหญ่ที่สุดในโลกในปี..
ดู นาซีเยอรมนีและความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง
คอนชตันทิน ฟอน นอยรัท
อนชตันทิน เฮอร์มันน์ คาร์ล ไฟร์แฮร์ ฟอน นอยรัท (Konstantin Hermann Karl Freiherr von Neurath) เป็นนักการทูตชาวเยอรมันผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งไรช์แห่งเยอรมนี ระหว่างปี..
ดู นาซีเยอรมนีและคอนชตันทิน ฟอน นอยรัท
คาร์ล เดอนิทซ์
ร์ล เดอนิทซ์ (Karl Dönitz; 16 กันยายน 1891 – 24 ธันวาคม 1980) เป็นจอมพลเรือชาวเยอรมันผู้มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์กองทัพเรือสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เดอนิทซ์สืบทอดตำแหน่งประมุขแห่งรัฐเยอรมนีต่อจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เขาเริ่มอาชีพในกองทัพเรือจักรวรรดิเยอรมันก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในปี 1918 ขณะที่เขาบังคับการเรือดำน้ำ UB-68 เรือถูกกองทัพบริติชจมและเดอนิทซ์ถูกจับเป็นเชลย ระหว่างอยู่ในค่ายเชลยศึก เขาสรุปสิ่งที่ต่อมาเขาเรียกว่ารูเดลทักทิค ("ยุทธวิธีฝูง" หรือเรียกทั่วไปว่า "ฝูงหมาป่า") เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติ เขาเป็นนายทหารเรือดำน้ำอาวุโสในครีกส์มารีเนอ ในเดือนมกราคม 1943 เขาได้ยศกรอสส์อัดมีรัล (จอมพลเรือ) และสืบตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือจากจอมพลเรือ เอริช แรดเดอร์ วันที่ 30 เมษายน 1945 หลังอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ถึงแก่อสัญกรรมและตามพินัยกรรมฉบับหลังสุดของฮิตเลอร์ เดอนิทซ์ถูกเสนอชื่อเป็นผู้สืบทอดประมุขแห่งรัฐจากฮิตเลอร์ ทั้งตำแหน่งประธานาธิบดีเยอรมนีและผู้บัญชาการทหารสูงสุด วันที่ 7 พฤษภาคม 1945 เขาสั่งให้อัลเฟรด โยเดิล หัวหน้าเสนาธิการของกองบัญชาการทหารสูงสุด ลงนามตราสารยอมจำนนในแรมส์ ประเทศฝรั่งเศส เดอนิทช์ยังเป็นหัวหน้ารัฐบาลเฟลนซ์บุร์กจนถูกฝ่ายสัมพันธมิตรยุบเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม ที่การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก เขาถูกพิพากษาลงโทษฐานอาชญากรรมสงครามและตัดสินลงโทษจำคุกสิบปี หลังการปล่อยตัว เขาใช้ชีวิตเงียบ ๆ ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งใกล้ฮัมบุร์กจนเสียชีวิตในปี 1980.
ดู นาซีเยอรมนีและคาร์ล เดอนิทซ์
คืนกระจกแตก
ืนกระจกแตก หรือเรียกอีกชื่อว่า คริสทัลล์นัคท์ (Kristallnacht) เป็นเหตุการณ์การสังหารหมู่ชาวยิวในนาซีเยอรมนีเมื่อวันที่ 9-10 พฤศจิกายน 1938 ที่ได้ถูกดำเนินการโดยหน่วยชตูร์มับไทลุง (SA) และกองกำลังพลเรือนชาวเยอรมัน เจ้าหน้าที่ตำรวจเยอรมันได้แต่เฝ้าดูสถานการณ์โดยไม่เข้าแทรกแซงใดๆเลย คำเรียกว่า คริสทัลล์นัคท์ มาจากเศษกระจกที่ได้แตกเกลื่อนไปตามถนน หลังจากที่หน้าต่างของอาคารร้านค้าที่มีชาวยิวเป็นเจ้าของและธรรมศาลาถูกทุบตีจนแตก จำนวนของการเสียชีวิตที่เกิดจากการสังหารหมู่ที่มีความแตกต่างกัน รายงานในช่วงแรกคาดว่าชาวยิว 91 คนถูกฆ่าตายระหว่างการโจมตี การวิเคราะห์สมัยใหม่แหล่งวิชาการเยอรมันโดยนักประวัติศาสตร์ เช่น ริชาร์ด เจอีแวนส์ ทำให้จำนวนเพิ่มสูงขึ้นมาก เมื่อเสียชีวิตจากการกระทำผิดหลังการจับกุมและการฆ่าตัวตายที่ตามมาจะถูกรวมยอดผู้เสียชีวิตปีนขึ้นไปเป็นจำนวนร้อย นอกจากนั้นชาวยิวกว่า 30,000 คนถูกจับกุมและคุมขังในค่ายกักกันนาซี บ้านของชาวยิว, โรงพยาบาลและโรงเรียนถูกรื้อค้น, การโจมตีทำลายอาคารด้วยค้อน.
คืนมีดยาว
ืนมีดยาว(Nacht der langen Messer นัชแดร์ลังเงินเมสเซอร์) ยังได้เป็นที่รู้จักกันคือ ปฏิบัติการฮัมมิงเบิร์ด (เยอรมัน: Unternehmen Kolibri)หรือในเยอรมันเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า กบฏเริม (Röhm Putsch) (สะกดคำภาษาเยอรมัน: Röhm-Putsch),เป็นการกวาดล้างเมื่อเกิดขึ้นในนาซีเยอรมนี ตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน ถึง 2 กรกฎาคม..
คณะรัฐมนตรีฮิตเลอร์
ณะรัฐมนตรีฮิตเลอร์ โดยพฤตินัยได้ก่อตั้งรัฐบาลแห่งนาซีเยอรมนีระหว่างวันที่ 30 มกราคม และ 30 เมษายน ปี..
ดู นาซีเยอรมนีและคณะรัฐมนตรีฮิตเลอร์
คตินิยมสิทธิสตรี
ตินิยมสิทธิสตรี คตินิยมสิทธิสตรี (feminism) เป็นกลุ่มขบวนการและอุดมการณ์ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อนิยาม จัดตั้งและปกป้องสิทธิทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมแก่สตรี ซึ่งรวมถึงการแสวงจัดตั้งโอกาสที่เท่าเทียมแก่สตรีในการศึกษาและการจ้างงานด้วย ชาร์ล ฟูรีเย นักปรัชญาชาวฝรั่งเศส ได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นผู้ให้กำเนิดคำว่า "เฟมินิสม์" ในปี 1837 คำว่า "เฟมินิสม์" และ "เฟมินิสต์" ปรากฏครั้งแรกในฝรั่งเศสและเนเธอร์แลนด์ในปี 1872 บริเตนใหญ่ในคริสต์ทศวรรษ 1890 และสหรัฐอเมริกาในปี 1910Cott, Nancy F.
ดู นาซีเยอรมนีและคตินิยมสิทธิสตรี
คติโฟวิสต์
ติโฟวิสต์ (Les Fauves) เป็นลัทธิของจิตรกรรมลัทธิหนึ่ง ลัทธินี้ใช้สีสดใส ตัดกันอย่างรุ่นแรง นำลีลาของเส้นมาใช้ใหม่ รูปแบบง่าย เรียบ สีที่นิยมใช้ คือ สีเขียว สีม่วง สีแดงอิฐ สีส้ม เกิดขึ้นและนิยมในประเทศฝรั่งเศสเท่านั้น อ็องรี มาติส (Henri Matisse) เป็นผู้นำที่สำคัญของคติโฟวิสต..
ค่ายกักกันดาเคา
ทางอากาศของค่ายในอดีต ภาพถ่ายทางอากาศของอนุสรณ์สถานดาเคาในปัจจุบัน ค่ายกักกันดาเคา (Konzentrationslager (KZ) Dachau) เป็นค่ายกักกันนาซีแห่งแรกที่เปิดในเยอรมนี ตั้งอยู่บนที่ดินของโรงงานผลิตอาวุธร้างใกล้กับเมืองสมัยกลางชื่อว่า ดาเคา ห่างจากเมืองมิวนิกในรัฐบาวาเรียไปทางตะวันตกเฉียงเหนือราว 16 กิโลเมตร ซึ่งตั้งอยู่ทางภาคใต้ของเยอรมนี ค่ายนี้เปิดเมื่อวันที่ 22 มีนาคม..
ดู นาซีเยอรมนีและค่ายกักกันดาเคา
ค่ายกักกันนาซี
กองกำลังสหรัฐอเมริกา ณ ค่ายกักกันซึ่งได้รับการปลดปล่อย แสดงให้พลเรือนชาวเยอรมันเห็นพร้อมกับหลักฐาน: รถบรรทุกซึ่งเต็มไปด้วยซากศพ นาซีเยอรมนีได้จัดตั้งค่ายกักกันขึ้นตลอดดินแดนยึดครองของตน ค่ายกักกันนาซีในช่วงแรก ๆ เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างมากในเยอรมนีภายหลังเหตุการณ์เพลิงไหม้รัฐสภาไรช์สทัก ในปี..
ดู นาซีเยอรมนีและค่ายกักกันนาซี
ตราสารยอมจำนนของเยอรมนี
ตราสารยอมจำนนซึ่งลงนามในแรมส์ วันที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 ตราสารยอมจำนนของเยอรมนี เป็นตราสารจัดให้มีการหยุดยิงเป็นอันสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ตราสารดังกล่าวลงนามโดยผู้แทนจากกองบัญชาการใหญ่แห่งเวร์มัคท์ (OKW) และกำลังรบนอกประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม..
ดู นาซีเยอรมนีและตราสารยอมจำนนของเยอรมนี
ตรีเยสเต
ตรีเยสเต (Trieste; Trst; Triest) เป็นเมืองท่าที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอิตาลี เป็นเมืองหลักของจังหวัดตรีเยสเตและแคว้นปกครองตนเองฟรียูลี-เวเน็ตเซียจูเลีย ตั้งอยู่บนอ่าวตรีเยสเต ด้านตะวันออกเฉียงเหนือสุดของทะเลเอเดรียติก ตรีเยสเตมีท่าเรือที่มีคุณภาพและสะดวกในการขนส่งสินค้าทางเรือ ด้านอุตสาหกรรมของเมืองได้แก่ การสร้างเรือ โรงกลั่นปิโตรเลียม การผลิตผลิตภัณฑ์จากเหล็กและเหล็กกล้า สิ่งทอ เครื่องจักร และอุตสาหกรรมอาหาร บริเวณเมืองเก่าของตรีเยสเตตั้งอยู่บนที่ลาดเชิงเขาของซาน จีอัสโตฮิลล์ ส่วนเมืองสมัยใหม่ตั้งอยู่ริมท่าเรือใกล้ชายฝั่ง ตรีเยสเตมีจุดน่าสนใจหลายอย่าง เช่น อัฒจันทร์กลางแจ้งโบราณตั้งแต่สมัยโรมัน มหาวิทยาลัยแห่งตรีเยสเต ซึ่งเคยใช้เป็นสถาบันสำหรับพัฒนาการเรียนฟิสิก..
ตลาดเสรี
ตลาดเสรี คือตลาดในอุดมคติ ที่การตัดสินใจและกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งหมดของปัจเจกบุคคล ที่เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนเงินตรา สินค้า และบริการ กระทำด้วยความ สมัครใจ นั่นคือไม่มีการบีบบังคับและการลักทรัพย์ (บางครั้งนิยามของ "การบีบบังคับ" จะครอบคลุมถึง "การลักทรัพย์" ด้วย) เมื่อกล่าวโดยทั่วไป เศรษฐกิจตลาดเสรี หมายถึงระบบเศรษฐกิจที่มีตลาดที่ ค่อนข้าง เสรี เช่นในระบบเศรษฐกิจเมื่อรัฐบาลใช้นโยบายปล่อยให้ทำไป ซึ่งจะแตกต่างกับระบบ แบบผสม หรือ แบบนิยมอำนาจรัฐ ในทางเศรษฐศาสตร์มักใช้คำว่า "ตลาด" หรือ "กลไกตลาด" เพื่อหมายถึงการจัดสรรการผลิตโดยผ่านทางอุปสงค์และอุปทาน ตลาดเสรีได้รับการสนับสนุนโดยผู้นิยมในเศรษฐศาสตร์แนวเสรีนิยม หมวดหมู่:การตลาด หมวดหมู่:เศรษฐศาสตร์.
ตำรวจ
ตำรวจในประเทศอิตาลี ตำรวจ เป็นชื่อเรียกของเจ้าหน้าที่ของรัฐ มีหน้าที่ตรวจตรารักษาความสงบ จับกุม และปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย เรียกชื่อตามหน้าที่รับผิดชอบ เช่น ตำรวจกองปราบ ตำรวจดับเพลิง ตำรวจน้ำ ตำรวจตระเวนชายแดน ตำรวจรถไฟ ตำรวจป่าไม้ ตำรวจจราจร ตำรวจนครบาล ตำรวจทางหลวง ตำรวจภูธร ตำรวจลับ ตำรวจวัง ตำรวจสภา ตำรวจสันติบาล ตำรวจหลวง.
ฉนวนโปแลนด์
The Polish Corridor in 1923–1939 ฉนวนโปแลนด์ (Polnischer Korridor; Pomorze, Korytarz polski), หรือที่รู้จักในชื่อ ฉนวนดานซิก, ฉนวนสู่ทะเล หรือ ฉนวนกดัญสก์, เป็นดินแดนของภูมิภาคPomerelia (จังหวัดปอมอแช, พอเมอเรเนียตะวันออก, อดีตเป็นส่วนหนึ่งของปรัสเซียตะวันตก) โดยดินแดนเป็นของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง ซึ่งทำให้โปแลนด์มีทางออกสู่ทะเลและแยกปรัสเซียตะวันออกออกจากเยอรมนีแผ่นดินใหญ่ ส่งผลให้อาณาเขตโดยประมาณของฉนวนกลับไปมีขนาดเท่ายุค Polish Crown ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ Royal Prussia ในปี 1466–1772.
ซูเดเทินลันด์
ซูเดเทินลันด์ (Sudetenland; เช็กและSudety; Kraj Sudetów) คือชื่อดินแดนในภาษาเยอรมัน (และถูกใช้ในภาษาอังกฤษในช่วงครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 20) ที่ใช้หมายถึงอาณาเขตทางตอนเหนือ ใต้ และตะวันตก ของเชโกสโลวาเกีย อันเป็นบริเวณที่ประชากรเชื้อสายเยอรมันและใช้ภาษาเยอรมันเป็นภาษาแม่อาศัยอยู่จำนวนมาก โดยเฉพาะเขตปกครองที่ติดชายแดนอย่าง โบฮีเมีย โมราเวีย และส่วนของไซลีเซียซึ่งตั้งอยู่ในอาณาเขตของเชโกสโลวาเกีย ซึ่งในขณะนั้นเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของออสเตรียไปจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุดลง ซูเดเทินลันด์ เป็นการสมาสคำในภาษาเยอรมันระหว่าง ลันด์ ซึ่งหมายถึงประเทศหรือดินแดน กับคำว่า ซูเดเทิน ซึ่งเป็นชื่อภาษาเยอรมันของเทือกเขาซูเดเทส (Sudetes) ที่ทอดตัวยาวตามแนวเขตแดนทางตอนเหนือของสาธารณรัฐเช็กและไซลีเซียล่าง (Lower Silesia; ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของโปแลนด์) อย่างไรก็ตามซูเดเทินลันด์เป็นคำที่ใช้หมายถึงดินแดนส่วนที่เลยไปจากแนวเทือกเขาดังกล่าวไปมากพอสมควร ในประวัติศาสตร์ไม่ปรากฎคำว่า ซูเดเทินลันด์ ไปจนกระทั่งช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 และไม่เป็นที่รู้จักหรือใช้กันอย่างแพร่หลายไปจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุดลง เมื่อจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีของชาวเยอรมันล่มสลาย ส่งผลให้เกิดการแตกกระจายออกเป็นรัฐต่าง ๆ มากมาย ชาวเยอรมันซูเดเทินที่อาศัยอยู่แต่ดั้งเดิมจึงกลายเป็นชาวเยอรมันผลัดถิ่นในประเทศใหม่อย่างเชโกสโลวาเกียไปโดยปริยาย ต่อมาคำนี้มีความสำคัญมากขึ้นจากวิกฤตการณ์ซูเดเทิน (Sudeten crisis) ปี..
ดู นาซีเยอรมนีและซูเดเทินลันด์
ปฏิบัติการบากราติออน
ปฏิบัติการบากราติออน (Oперация Багратион, Operaion Bagration) เป็นชื่อรหัสของปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์เบลาร..
ดู นาซีเยอรมนีและปฏิบัติการบากราติออน
ปฏิบัติการบาร์บารอสซา
ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและปฏิบัติการบาร์บารอสซา
ปฏิบัติการสิงโตทะเล
ปฏิบัติการสิงโตทะเลในการบุกเกาะอังกฤษ ปฏิบัติการสิงโตทะเล (Operation Sealion), (Unternehmen Seelöwe)เป็นชื่อรหัสของนาซีเยอรมนีสำหรับการบุกสหราชอาณาจักรในระหว่างยุทธการที่บริเตนในสงครามโลกครั้งที่สอง.หลังจากฝรั่งเศสถูกยึดครอง,นาซีได้คาดการณ์ว่าอังกฤษต้องการแสวงหาข้อตกลงสันติภาพ,และการรุกรานได้รับการพิจารณาว่าเป็นทางเลือกสุดท้ายเท่านั้น ถ้ามีทางเลือกอื่นๆได้ล้มเหลวทั้งหม.เท่าที่สุด,ปฏิบัติการในครั้งนี้จะต้องมีทั้งกองทัพอากาศและกองทัพเรือที่เหนือกว่าในการก้าวข้ามช่องแคบอังกฤษและลงจอดยกพลขึ้นบก.ทั้งที่เยอรมันเคยประสบความสำเร็จในช่วงแรกสงคราม.เรือบรรทุกจำนวนมากไม่เหมาะแก่การรวมพล.แต่ปฏิบัติการสิงโตทะเลถูกเลื่อนออกไปอย่างไม่มีกำหนด เมื่อวันที่ 17 กันยายน 1940 และไม่เคยปฏิบัติการ.
ดู นาซีเยอรมนีและปฏิบัติการสิงโตทะเล
ปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด
ปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด (Operation Overlord) เป็นส่วนหนึ่งของการรบในแนวรบด้านตะวันตก ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองในปี..
ดู นาซีเยอรมนีและปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด
ประมุขแห่งรัฐ
ประมุขแห่งรัฐ (head of state) เป็นคำที่ใช้ในกฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายระหว่างประเทศ รัฐศาสตร์และพิธีการทูตเมื่อหมายถึงข้าราชการ (official) ที่ดำรงตำแหน่งสูงสุดในรัฐเอกราชหนึ่ง ๆ และมีอำนาจเด็ดขาดหรือจำกัดที่จะปฏิบัติเป็นผู้แทนสาธารณะสูงสุด (chief public representative) ของรัฐ ประมุขแห่งรัฐในประเทศส่วนใหญ่เป็นบุคคลธรรมดาที่ดำรงตำแหน่ง หากในบางประเทศ คณะบุคคลอยู่ในตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ เช่น สภาสหพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ ประธานาธิบดีบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และผู้ครองนครร่วม (Captains Regent) ซานมารีโน คำว่า "ประมุขแห่งรัฐ" มักใช้เพื่อแยกความแตกต่างจากคำว่า "หัวหน้ารัฐบาล" ยกตัวอย่าง ในอนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ข้อ 7 และอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมที่กระทำต่อบุคคลที่ได้รับความคุ้มครองระหว่างประเทศ รวมทั้งตัวแทนทางทูต ข้อ 1 เช่น ระบบรัฐสภาอย่างสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี พระมหากษัตริย์และประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นประมุขแห่งรัฐในสองประเทศนี้ตามลำดับ ขณะที่นายกรัฐมนตรีได้รับการยอมรับเป็นหัวหน้ารัฐบาล อย่างไรก็ดี ในสาธารณรัฐที่มีระบบประธานาธิบดี เช่น สหรัฐอเมริกาและสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล ประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล ซึ่งบุคคลที่เป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลยังอาจเกิดได้ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชและบางครั้งเช่นเดียวกับระบอบเผด็จการอื่น ๆ บทบาทของประมุขแห่งรัฐโดยทั่วไป รวมทั้งการใช้อำนาจทางการเมือง และหน้าที่ ถูกกำหนดในรัฐธรรมนูญและกฎหมายของประเทศนั้น ๆ อนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูตปฏิบัติภายใต้ข้อสันนิษฐานว่า หัวหน้าคณะทูต (คือ เอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต) ของประเทศผู้ส่งถูกถือว่าเป็นของประมุขแห่งรัฐรัฐผู้รับ มักคิดกันว่าประมุขแห่งรัฐเป็น "ผู้นำ" อย่างเป็นทางการของรัฐชาติหนึ่ง ๆ ปัจจุบัน หลายประเทศคาดหวังให้ประมุขแห่งรัฐของตนรวมค่านิยมของชาติในแบบนิยมที่คล้ายกัน.
ดู นาซีเยอรมนีและประมุขแห่งรัฐ
ประวัติศาสตร์เยอรมนี
ประวัติศาสตร์เยอรมนี เริ่มต้นด้วยการต้านทานการยึดครองโดยชาวโรมันของชนเจอร์มานิค ซึ่งเมื่อจักรวรรดิโรมันล่มสลายชนชาติเยอรมันก็กลายเป็นกลุ่มชนผู้มีอำนาจในยุโรปเข้าแทนที่ชาวโรมัน จนนำไปสู่กำเนิดจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือ จักรวรรดิที่ 1 ในสมัยกลาง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ธำรงอยู่กว่าพันปีแต่ก็เป็นเพียงจักรวรรดิที่มองไม่เห็น เพราะรัฐต่าง ๆ ในเยอรมันร้อยกว่ารัฐต่างแยกตัวเป็นอิสระจากพระจักรพรรดิ จนนโปเลียนยกเลิกจักรวรรดินี้ไปกลายเป็นสมาพันธรัฐเยอรมัน เป็นกลุ่มของรัฐต่าง ๆ จนราชอาณาจักรปรัสเซียสามารถรวมประเทศเยอรมนีได้โดยการนำของบิสมาร์ก ก็กลายเป็นจักรวรรดิเยอรมัน หรือ จักรวรรดิที่ 2 แต่ด้วยการปฏิวัติล้มระบอบกษัตริย์หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ทำให้เยอรมนีกลายเป็นสาธารณรัฐไวมาร์ แต่ถูก อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำลัทธินาซียึดอำนาจเปลี่ยนเป็นระบอบเผด็จการและแผ่ขยายดินแดนไปทั่วยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สองหรือ จักรวรรดิที่ 3 แต่ฮิตเลอร์พ่ายแพ้สงคราม เยอรมนีจึงถูกแบ่งเป็นสองส่วน คือ เยอรมนีตะวันออก และ เยอรมนีตะวันตก จนรวมกันกลายเป็นประเทศเยอรมนีอีกครั้งใน ค.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและประวัติศาสตร์เยอรมนี
ประเทศกรีซ
กรีซ (Greece; Ελλάδα, Elládha เอลาฑา หรือ Ελλάς, Ellás) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเฮลเลนิก (Hellenic Republic; Ελληνική Δημοκρατία, Ellinikí Dhimokratía) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป ตอนใต้สุดของคาบสมุทรบอลข่าน มีพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศบัลแกเรีย มาซิโดเนีย และแอลเบเนีย มีพรมแดนทางตะวันออกติดกับประเทศตุรกี อยู่ติดทะเลอีเจียนทางด้านตะวันออก ติดทะเลไอโอเนียนและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านตะวันตกและใต้ กรีซนับว่าเป็นแหล่งอารยธรรมตะวันตกอันยิ่งใหญ่ และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ซึ่งกรีซได้แผ่อิทธิพลไปยัง 3 ทวีป ชาวกรีกเรียกประเทศตัวเองว่า Hellas ซึ่งภาษากรีกในปัจจุบันออกเสียง ว่า Ellas โดยในการพูดทั่วไปจะใช้คำว่า Ellada และมักจะเรียกตัวเองว่า Hellenes แม้กระทั่งในภาษาอังกฤษ ซึ่งคำภาษาอังกฤษ "Greece" มาจากชื่อละตินว่า Graecia หมายถึงพื้นที่ทางเหนือของกรีซในปัจจุบัน ซึ่งมีกลุ่มคนที่เรียกว่า Graikos อาศัยอยู.
ประเทศฝรั่งเศส
ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.
ดู นาซีเยอรมนีและประเทศฝรั่งเศส
ประเทศมาดากัสการ์
มาดากัสการ์ (Madagascar; Madagasikara) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมาดากัสการ์ (République de Madagascar; Repoblikan'i Madagasikara) คือชาติเกาะในมหาสมุทรอินเดีย ตั้งอยู่นอกชายฝั่งทางตะวันออกของแอฟริกา ใกล้กับโมซัมบิก เกาะมาดากัสการ์ที่เป็นเกาะหลักเป็นเกาะใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก เป็นถิ่นของสายพันธุ์พืชและสัตว์ถึงร้อยละ 5 ของโลก และมีมากกว่าร้อยละ 80 ที่เป็นสัตว์หรือพืชเฉพาะถิ่นมาดากัสการ์ ที่เด่นคือตัวลีเมอร์ซึ่งอยู่ในตระกูลไพรเมต ตัวฟอสซา (fossa) ซึ่งกินเนื้อ นกเฉพาะถิ่น 3 ตระกูล และต้นบาวบับ (baobab) 6 ชนิด ภาษาหลักคือภาษามาลากาซี สมดุลทางธรรมชาติของมาดากัสการ์ถูกคุกคาม เนื่องจากป่าส่วนใหญ่เสียหาย และลีเมอร์ได้สูญพันธุ์ถึง 15 สายพัน.
ดู นาซีเยอรมนีและประเทศมาดากัสการ์
ประเทศยูเครน
ประเทศยูเครน (Ukraine) หรือ อูกรายีนะ (Україна, Ukrayina) เป็นประเทศในยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับประเทศรัสเซีย ทางเหนือติดต่อกับเบลารุส ทางตะวันตกติดต่อกับโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับโรมาเนียและมอลโดวา ทางใต้และตะวันออกเฉียงใต้จรดทะเลดำและทะเลอะซอฟตามลำดับ ยูเครนมีพื้นที่ 603,628 กม.
ประเทศลิทัวเนีย
ลิทัวเนีย (Lithuania; Lietuva เลฺยียทุวะ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐลิทัวเนีย (Republic of Lithuania; Lietuvos Respublika) ตั้งอยู่กลางทวีปยุโรป ทางฝั่งตะวันออกของทะเลบอลติก ทิศเหนือจรดลัตเวีย ทิศตะวันออกและทิศใตัจรดเบลารุส และทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดโปแลนด์และรัสเซีย (แคว้นคาลินินกราด) เคยเป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซี.
ดู นาซีเยอรมนีและประเทศลิทัวเนีย
ประเทศสโลวาเกีย
ลวาเกีย (Slovakia; Slovensko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสโลวัก (Slovak Republic; Slovenská republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางตะวันตกเฉียงเหนือติดต่อกับเช็กเกีย ทางเหนือติดต่อกับโปแลนด์ ทางตะวันออกติดต่อกับยูเครน ทางใต้ติดต่อกับฮังการี และทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับออสเตรีย เมืองใหญ่ที่สุดของประเทศคือเมืองหลวงบราติสลาวา ปัจจุบันสโลวาเกียเป็นรัฐสมาชิกรัฐหนึ่งของสหภาพยุโรป และได้เปลี่ยนสกุลเงินของประเทศจากกอรูนาสโลวักมาเป็นยูโรเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและประเทศสโลวาเกีย
ประเทศออสเตรีย
ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.
ดู นาซีเยอรมนีและประเทศออสเตรีย
ประเทศอียิปต์
รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.
ดู นาซีเยอรมนีและประเทศอียิปต์
ประเทศเชโกสโลวาเกีย
right right เชโกสโลวาเกีย เป็นอดีตประเทศในยุโรปกลาง ปัจจุบันแยกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและประเทศสโลวาเกี.
ดู นาซีเยอรมนีและประเทศเชโกสโลวาเกีย
ประเทศเช็กเกีย
็กเกีย (Czechia; Česko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเช็ก (Czech Republic; Česká republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อยู่ในภูมิภาคยุโรปกลาง พรมแดนทางตอนเหนือจรดประเทศโปแลนด์ ทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือจรดเยอรมนี ทางใต้จรดออสเตรีย และทางตะวันออกจรดสโลวาเกีย เช็กเกียประกอบด้วยภูมิภาคที่เก่าแก่สองส่วน คือ โบฮีเมียและมอเรเวีย และส่วนหนึ่งของภูมิภาคที่สาม เรียกว่า ไซลีเซีย ประเทศนี้ได้เข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและประเทศเช็กเกีย
ประเทศเยอรมนีตะวันออก
อรมนีตะวันออก (East Germany) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (Deutsche Demokratische Republik - DDR; German Democratic Republic - GDR) เป็นประเทศคอมมิวนิสต์ที่ดำรงอยู่ในช่วงปี 1949 ถึงปี 1990 โดยเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนเยอรมันที่ถูกปกครองโดยอดีตสหภาพโซเวียต หลังจากการยึดครองเยอรมนีของกองทัพโซเวียตสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีตะวันออกเป็นประเทศหนึ่งที่เข้าร่วมสนธิสัญญาวอร์ซอ ในช่วงสงครามเย็น โดยเยอรมนีตะวันออกได้นิยามตัวเองว่าเป็นรัฐสังคมนิยม "ของคนงานและชาวนา"Patrick Major, Jonathan Osmond, The Workers' and Peasants' State: Communism and Society in East Germany Under Ulbricht 1945–71, Manchester University Press, 2002, และเขตที่ถูกยึดครอง ได้รับการปกครองโดยกองกำลังโซเวียตในตอนท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง เขตยึดครองโซเวียตตามข้อตกลงพ็อทซ์ดัมซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกติดกับแนว Oder-Neisse เขตยึดครองโซเวียตล้อมรอบเบอร์ลินตะวันตก แต่ไม่รวมถึง เป็นผลให้เบอร์ลินตะวันตกยังคงอยู่นอกเขตอำนาจของเยอรมนีตะวันออก สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีก่อตั้งขึ้นในเขตโซเวียต ขณะที่สหพันธรัฐจัดตั้งขึ้นในสามเขตตะวันตก เยอรมนีตะวันออกเป็นรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต เจ้าหน้าที่ยึดครองโซเวียตได้เริ่มถ่ายโอนความรับผิดชอบในการบริหารให้กับผู้นำคอมมิวนิสต์เยอรมันในปี 1948 และเริ่มมีบทบาทเป็นรัฐเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 1949 อย่างไรก็ตามกองทัพโซเวียตยังคงกำลังอยู่ในประเทศตลอดช่วงสงครามเย็น จนถึง 1989 เยอรมนีตะวันออกถูกปกครองโดยพรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี แม้ว่าพรรคอื่น ๆ ในนามขององค์กรพันธมิตร National Front of Democratic Germany 29 October 1989.
ดู นาซีเยอรมนีและประเทศเยอรมนีตะวันออก
ประเทศเยอรมนีตะวันตก
ประเทศเยอรมนีตะวันตก (West Germany) เป็นคำเรียกอย่างไม่เป็นทางการของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในช่วงปี..
ดู นาซีเยอรมนีและประเทศเยอรมนีตะวันตก
ปรัสเซีย
ปรัสเซีย (Prussia) หรือ พร็อยเซิน (Preußen) หรือ โบรุสเซีย (ละติน: Borussia) เป็นรัฐที่รุ่งเรืองที่สุดในบรรดารัฐทั้งหลายของชนชาติเยอรมัน มีจุดกำเนิดจากดัชชีปรัสเซียและรัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์ค อันเป็นรัฐหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งตั้งอยู่ตอนกลางของภูมิภาคที่ชื่อว่าพร็อยเซิน รัฐแห่งนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์นเป็นเวลาหลายศตวรรษ การมีกองทัพที่เข็มแข็งทำให้ปรัสเซียประสบความสำเร็จในการแผ่ขยายดินแดน ปรัสเซียมีเมืองหลวงเดิมอยู่ที่เคอนิจส์แบร์กก่อนที่จะย้ายเมืองหลวงไปยังเบอร์ลินในปี 1701 ในการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา (ปี 1814–15) ซึ่งจัดระเบียบทวีปยุโรปเสียใหม่ภายหลังถูกทำให้ปั่นป่วนจากสงครามนโปเลียน ปรัสเซียได้รับดินแดนส่วนใหญ่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเยอรมนีซึ่งรวมถึงรัฐร่ำรวยถ่านหินอย่างรัฐรูร์ (Ruhr) อิทธิพลทางเศรษฐกิจและทางการเมืองของปรัสเซียได้เติบโตอย่างรวดเร็ว ปรัสเซีบกลายเป็นหัวใจของสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือในปี 1867 และของจักรวรรดิเยอรมันในปี 1871 ปรัสเซียในยุคจักรวรรดิเยอรมนี้มีอาณาเขตไพศาลมากกว่ารัฐเยอรมันที่เหลือรวมกันเสียอีก ชนชั้นนำของปรัสเซียมักจะระบุว่าตัวเองนั้นเป็น "ชาวเยอรมัน" มากกว่าบอกว่าตัวเองนั้นเป็น "ชาวปรัสเซีย".
ปัญหาชาวยิว
ปัญหาชาวยิว (Jewish question) ครอบคลุมปัญหาและการแก้ปัญหาแวดล้อมสถานะพลเมือง กฎหมายและสัญชาติอันไม่เท่าเทียมทางประวัติศาสตร์ระหว่างชนกลุ่มน้อยชาวยิวอัชเคนาซิและผู้ที่มิใช่ยิว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในทวีปยุโรป ปัญหาแรกอภิปรายและถกเถียงกันในหมู่ชนชั้นสูง นักการเมืองและนักเขียนในยุโรปตะวันตกและยุโรปกลางระหว่างยุคภูมิธรรมและการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งปัญหานี้รวมไปถึงการขาดคุณสมบัติทางพลเมืองทางเศรษฐกิจและกฎหมายของยิว ความเท่าเทียม การปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นอิสระและภูมิธรรมยิว (Jewish Enlightenment) ปัญหา ซึ่งรวมไปถึงการผสมกลมกลืนในการพลัดถิ่นและลัทธิไซออนิสต์ ยังคงดำเนินต่อไปถึงคริสต์ศตวรรษที่ยี่สิบ คำดังกล่าวเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับช่วงที่การต่อต้านยิวเพิ่มขึ้นเมื่อคริสต์ทศวรรษ 1880 เช่นเดียวกับความพยายามในการสถาปนารัฐยิว.
ปัญหาเยอรมัน
ำถามเยอรมัน (Deutsche Frage; German Question) คือประเด็นการอภิปรายในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเฉพาะในช่วงการปฏิวัติ พ.ศ. 2391 ถึงวิธีการที่ดีที่สุดในการรวมชาติเยอรมัน (Unification of Germany) โดยตั้งแต..
ปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)
ปาเลสไตน์ (فلسطين ฟาลัสติน) (Palestine) เป็นชื่อสามัญของภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ในเอเชียตะวันตกระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับแม่น้ำจอร์แดน และ ดินแดนใกล้เคียงต่าง ๆ Carl S.
ดู นาซีเยอรมนีและปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)
นายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.
แม่น้ำไรน์
แผนที่แดงเส้นทางแม่น้ำจากเทือกเขาแอลป์สู่ทะเลเหนือ ไรน์ (Rhine; Rein; Rhein; Rhin; Rijn) เป็นแม่น้ำที่สำคัญที่สุดในทวีปยุโรป มีความยาวทั้งสิ้น 1,230 กิโลเมตร ยาวเป็นอันดับสองรองจากแม่น้ำดานูบ มีต้นน้ำจากเทือกเขาแอลป์ ไหลผ่านประเทศสวิตเซอร์แลนด์, ลิกเตนสไตน์, ออสเตรีย, เยอรมนี, ฝรั่งเศส, ลักเซมเบิร์ก, เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ไปออกทะเลเหนือ แม่น้ำไรน์เป็นเส้นทางคมนาคมขนส่งทางน้ำที่สำคัญ สามารถขนสินค้าเข้าสู่ภายในแผ่นดินยุโรปได้อย่างสะดวก อีกทั้งยังมีความสำคัญทางด้านยุทธศาสตร์และภูมิศาสตร์ในการเป็นเส้นแบ่งเขตแดนที่สำคัญของยุโรป ร ร ร ร ร ร ร หมวดหมู่:แม่น้ำในทวีปยุโรป.
แร่ใยหิน
ก้อนแร่และเส้นใย แร่ใยหิน (asbestos) เป็นกลุ่มของแร่ซิลิเกตที่เกิดตามธรรมชาติหกชนิดที่นิยมนำมาใช้ทางการค้าเพราะคุณสมบัติเฉพาะตัวที่ดี แร่ใยหินมีผลึกที่เป็นเส้นใยยาว (อัตราส่วนขนาดต่อความยาวราว 1:20) การหายใจเอาใยหินเข้าไปเป็นเวลานานอาจก่อให้เกิดโรคปอดได้ ซึ่งมักพบบ่อยในคนงานเหมืองใยหิน การทำเหมืองแร่ใยหินเริ่มขึ้นกว่า 4,000 ปีมาแล้ว แต่มีขนาดจำกัดจนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 การทำเหมืองแร่ใยหินมีปริมาณสูงสุดในราว..
แอนสท์ เริม
แอนสท์ ยูเลียส กุนเทอร์ เริม (Ernst Julius Günther Röhm; 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1887 - 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1934) เป็นนายทหารเยอรมันและสมาชิกผู้ร่วมก่อตั้งของพรรคนาซี ในฐานะที่เป็นหนึ่งในสมาชิกแรกของพรรคกรรมกรเยอรมัน เขาเป็นเพื่อนสนิทและพันธมิตรเริ่มต้นของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และผู้ร่วมก่อตั้งของชตูร์มมับไทลุงหรือเอสเอ (SA, "กองพันพายุ") ซึ่งเป็นอาสาสมัครของพรรคนาซีและต่อมาเป็นผู้บัญชาการ ปี..
แฮร์มันน์ เกอริง
แฮร์มันน์ วิลเฮล์ม เกอริง (Hermann Wilhelm Göring) เป็นผู้นำทางทหารของไรช์ที่สามที่ตำแหน่งจอมพลไรช์ และยังเป็นผู้นำระดับสูงของพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (พรรคนาซี) เขามีบทบาทสำคัญในการขยายระบบเผด็จการของพรรคนาซีให้ครอบคลุมทั่วเยอรมนี รวมทั้งสร้างเสริมแสนยานุภาพทางทหารของเยอรมนีโดยเฉพาะกองทัพอากาศให้มีความแข็งแกร่ง ภายหลังนาซีล่มสลาย เขาถูกตัดสินประหารชีวิตในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก แต่เขาก็จบชีวิตตนเองด้วยการกลืนไซยาไนด์ก่อนหน้าการประหารชีวิตไม่กี่ชั่วโมง และก่อนกลืนไซยาไนด์เขาได้ตระโกนว่า "ไฮล์ ฮิตเลอร์".
ดู นาซีเยอรมนีและแฮร์มันน์ เกอริง
แฮร์แบร์ท บาเคอ
แฮร์แบร์ท ฟรีดิซ วิลเฮล์ม บาเคอ(1 พฤษภาคม ค.ศ. 1896 – 6 เมษายน ค.ศ. 1947) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมันและเจ้าหน้าที่หน่วยเอ็สเอ็สในช่วงยุคนาซี เขาได้พัฒนาและทำให้เกิดสัมฤทธิ์ผลของแผนความหิวที่มองเห็นการตายด้วยความอดอยากของชาวสลาฟและชาวยิวนับล้านคนว่าเป็น"พวกกินเสียของเปล่า" ภายหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซาในปี..
ดู นาซีเยอรมนีและแฮร์แบร์ท บาเคอ
แผนสี่ปี
แผนสี่ปี (Four Year Plan) เป็นหนึ่งในมาตรการทางเศรษฐกิจที่ได้ริเริ่มโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ซึ่งได้มอบหมายให้จอมพลไรช์ แฮร์มันน์ เกอริงในการดูแลรับผิดชอบ เกอริงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้มีอำนาจเต็มแห่งไรช์ (Reich Plenipotentiary) ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดอำนาจหน้าที่ของสมาชิกคณะรัฐมนตรี รวมถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการเศรษฐกิจ, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร แผนงานนี้เป็นหนึ่งในหลายแผนงานของรัฐบาลที่คิดขึ้นโดยฮิตเลอร์และพรรคนาซี ซึ่งรวมถึงหน่วยงานต่างๆ เช่น องค์การท็อดท์ และการรวมตัวกันของหน่วยเอ็สเอ็สและกองกำลังตำรวจเยอรมัน รวมถึงตำรวจลับเกสตาโพภายใต้บัญชาการของไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ วัตถุประสงค์หลักของแผนสี่ปีคือ การจัดหาอาวุธของเยอรมนีและเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการพึ่งพาตัวเองในระยะเวลาสี่ปี,นับตั้งแต่ปี..
แผนความหิว
แผนความหิว (der Hungerplan; der Backe-Plan) เป็นแผนการที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองเพื่อเข้ายึดเสบียงอาหารจากสหภาพโซเวียตและมอบให้แก่ทหารและพลเรือนชาวเยอรมัน แผนการนี้ได้นำไปสู่ความตายโดยความอดอยากของชนชาวสลาฟที่ถูกมองว่า"เชื้อชาติที่ต่ำต้อย"นับล้านคน ภายหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซาในปี..
แคว้นคาลินินกราด
แคว้นคาลีนินกราด (Калинингра́дская о́бласть) เป็นเขตการปกครองของสหพันธรัฐรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทะเลบอลติก.
ดู นาซีเยอรมนีและแคว้นคาลินินกราด
แคว้นปกครองตนเองซิซิลี
ซิซิลี (Sicily) หรือ ซีชีเลีย (Sicilia; Sicìlia) เป็นหนึ่งในยี่สิบแคว้นและหนึ่งในห้าแคว้นปกครองตนเองของประเทศอิตาลี มีลักษณะเป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางภาคใต้ของประเทศโดยมีช่องแคบเมสซีนาคั่นระหว่างตัวเกาะกับแผ่นดินใหญ่ เกาะมีพื้นที่ 25,708 ตารางกิโลเมตร นับเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของอิตาลีและในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน จุดสูงสุดของเกาะคือภูเขาไฟเอตนา (3,320 เมตร) บนเกาะมีประชากรอาศัยอยู่กว่า 5 ล้านคน เมืองสำคัญได้แก่ ปาแลร์โม (เมืองหลัก) เมสซีนา กาตาเนีย ซีรากูซา ตราปานี เอนนา คัลตานิสเซตตา และอากรีเจนโต ซิซิลีมีประวัติต่อเนื่องยาวนานกว่า 4,000 ปี ด้วยเหตุที่เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญแห่งหนึ่งของยุโรป ซิซิลีจึงตกเป็นเป้าหมายของการยึดครองจากชนชาติที่มีอำนาจเข้มแข็งในช่วงเวลาต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่ชาวกรีก โรมัน คาร์เทจ อาหรับ นอร์มัน เยอรมัน ฝรั่งเศส และสเปน แต่ละชาติผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเข้ามาปกครองดินแดนนี้ ขณะเดียวกันก็ได้นำเอาศิลปวัฒนธรรมของตนเข้ามาด้วย เกาะนี้จึงมีสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมที่หลากหลายผสมผสานกัน หากแต่ลงตัว นอกจากนี้ยังอุดมไปด้วยความงามทางธรรมชาติของทั้งชายหาด ทะเล และภูเขาไฟ และด้วยความที่อยู่ห่างไกลออกมา จึงสามารถสัมผัสได้ถึงความเป็นอิตาลีดั้งเดิมอย่างที่หาไม่พบอีกแล้วตามเมืองใหญ่ในอิตาลีภาคพื้นทวีป.
ดู นาซีเยอรมนีและแคว้นปกครองตนเองซิซิลี
แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)
แนวรบด้านตะวันตก ของการสู้รบบนภาคพื้นทวีปยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สองโอบล้อมบริเวณพื้นที่ตั้งแต่เดนมาร์ก นอร์เวย์ ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และภาคตะวันตกของเยอรมนี ปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สองบริเวณยุโรปตอนใต้และบริเวณอื่นๆ ถูกจัดว่าไม่เกี่ยวกับแนวรบด้านตะวันตกนี้ การต่อสู้ในแนวรบด้านตะวันตกถูกแบ่งโดยปฏิบัติการสู้รบครั้งใหญ่ๆ ด้วยกันสองครั้ง คือ ช่วงแรกที่เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และฝรั่งเศส ยอมจำนนต่อกองทัพนาซีเยอรมนีในช่วงเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน ค.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)
โฟล์กสวาเกน
ฟล์กสวาเกน (Volkswagen, ย่อว่า VW) เป็นรถยนต์ที่ถือกำเนิดในเยอรมันในสมัยของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ซึ่งถูกตั้งโจทย์ว่าต้องเป็นรถที่มีสมรรถนะดีพอ ประโยชน์ใช้สอยมากพอ และราคาถูกเท่ารถจักรยานยนต์ (ในสมัยนั้น) อีกด้วย โดยผู้ออกแบบรถ คือ แฟร์ดีนันด์ พอร์เชอ ผู้ให้กำเนิดรถยนต์ยี่ห้อปอร์เช่ (Porsche) โฟล์กสวาเกนหมายถึง "รถของประชาชน" ในภาษาเยอรมัน คำขวัญปัจจุบันคือ Das Auto (ภาษาเยอรมัน แปลว่า รถยนต์) โฟล์คสวาเกน เป็นผู้ผลิตรถยนต์เยอรมันและเป็นยี่ห้อที่ยิ่งใหญ่ที่สุดที่ขายในกลุ่มโฟล์คสวาเกนซึ่งปัจจุบันเป็นเจ้าของหลายยี่ห้อด้วยกันอาทิ ออดี้,เบนท์ลีย์, บูกัตติ, ลัมโบร์กีนี, ซีท ถือหุ้น 49.9% ของปอร์เช่, สโกด้า และรถบรรทุกสแกนเนีย รถโฟร์คสวาเกน รู้จักกันส่วนมากว่า "รถเต่า" (ชื่อรุ่นของมันคือ Beetle อ่านว่า บีเทิล) ซึ่งมีมาตั้งแต่รุ่นแรกสุด ออกแบบมาคล้ายกับ เต่า และยังคงความเป็นเอกลักษณ์ไว้จนถึงปัจจุบัน.
โพกรม
การจลาจลเฮ็พ-เฮ็พ (Hep-Hep riots) ในปี ค.ศ. 1819 ทางด้านซ้ายชาวนาสตรีสองคนโจมตีชายชาวยิวด้วยคราดและไม้กวาด ทางด้านขวาชายใส่แว่นตามีหางใส่เสื้อกั๊กหกกระดุมผู้อาจจะเป็นเภสัชกรหรือครูAmos Elon (2002), ''The Pity of It All: A History of the Jews in Germany, 1743–1933''.
โพราจมอส
การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวโรมานี หรือ ฮอโลคอสต์ โรมานี—ยังเป็นที่รู้จักกันคือ โพราจมอส (Romani pronunciation), พราราจิมอส (Pharrajimos คือ "ตัดให้ขาด", "ตัดออกเป็นท่อน", "ทำลาย") และซามูดาริเพน (Samudaripen คือ "การสังหารหมู่") เป็นความพยายามโดยนาซีเยอรมนีและประเทศพันธมิตรในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองในการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวโรมานีในแผ่นดินยุโรป ภายใต้อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ กฤษฎีกาเพิ่มเติมเพื่อกฎหมายเนือร์นแบร์กที่ได้ประกาศออกไป เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน..
โยเซฟ เกิบเบลส์
ล์ โยเซฟ เกิบเบลส์ (Paul Joseph Goebbels) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ โยเซฟ เกิบเบลส์ นักจิตวิทยามวลชน และแกนนำคนสำคัญฝ่ายพลเรือนของพรรคนาซี ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งจักรวรรดิที่สามหลังจากที่อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ฆ่าตัวตาย ได้ชื่อว่าเป็นเสมือนมือซ้ายของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (ขณะที่มือขวาคือ ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์).
ดู นาซีเยอรมนีและโยเซฟ เกิบเบลส์
โรลันด์ ไฟรซเลอร์
โรลันด์ ไฟรซเลอร์ โรลันด์ ไฟรซเลอร์ (Roland Freisler)(30 ตุลาคม 1893 – 3 กุมภาพันธ์ 1945) เป็นทนายความชั้นเลิศและเป็นผู้พิพากษานาซีของจักรวรรดิไรซ์ที่สาม เขาเป็นเลขานุการรัฐของกระทรวงยุติธรรมไรช์ และเป็นประธานของโฟล์คซดกริชท์ชอฟ ("ศาลประชาชน") และเป็นหนึ่งในผู้เข้าร่วมการประชุมที่วานเซในปี 1942 ซึ่งเป็นการประชุมเพื่อวางแผนการกำจัดชาวยิวในยุโรปของจักรวรรดิไรซ์ที่สาม โรลันด์ ไฟรซเลอร์นั้นเป็นที่รู้จักกันในฐานะผู้พิพากษาศาลเถื่อนของนาซีเยอรมันที่มีความดุดันแข็งกร้าวที่สุด มักพูดจาต่อว่าอย่างฉะฉานกับฝ่ายจำเลยที่เป็นนักโทษทางการเมืองและผู้ต่อต้านรัฐบาลนาซี เขาได้ตัดสินโทษประหารชีวิตนักโทษไปจำนวน 2,600 คน ในจำนวนนี้รวมถึงขบวนการกุหลาบสีขาว (กลุ่มนักศึกษาชาวเยอรมันที่ต่อต้านความเผด็จการของฮิตเลอร์และพรรคนาซี) และกลุ่มต่อต้านฝ่ายทหารและพลเรือนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับแผนลับ 20 กรกฎาคม โรลันด์ ไฟรซเลอร์เสียชีวิตเนื่องจากกองทัพอากาศสัมพันธมิตรทิ้งระเบิดในกรุงเบอร์ลิน เขาจึงถูกเศษซากอาคารถล่มทับในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 1945 หมวดหมู่:นักกฎหมายชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นาซี หมวดหมู่:เชลยศึกสงครามโลกครั้งที่หนึ่งชาวเยอรมัน.
ดู นาซีเยอรมนีและโรลันด์ ไฟรซเลอร์
โอลิมปิกฤดูร้อน 1936
มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10 ประจำปี..
ดู นาซีเยอรมนีและโอลิมปิกฤดูร้อน 1936
โจเซฟ สตาลิน
ซฟ สตาลิน (รัสเซีย: Иосиф Виссарионович Сталин Iosif Vissarionovich Stalin อิโอซิฟ วิซซาริโอโนวิช สตาลิน; อังกฤษ: Joseph Stalin) (1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878 - 5 มีนาคม ค.ศ.
ไกลช์ชัลทุง
กลช์ชัลทุง (Gleichschaltung) หมายถึง "การประสานงาน" หรือ "การทำให้เป็นแบบเดียวกัน" เป็นคำที่ใช้เรียกการเปลี่ยนแปลงของพรรคนาซีในการเปลี่ยนรูปแบบการปกครองเยอรมนีเป็นแบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง จุดประสงค์ของแนวความคิดดังกล่าว คือ การกำจัดลัทธิเฉพาะบุคคล โดยการบีบบังคับให้ทุกคนปฏิบัติตามหลักการเดียวกัน และกำหนดกรอบความคิดให้อยู่ในความเหมาะสม ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของกองกำลังตำรวจอย่างเข้มงว.
ไกเซอร์
วิลเฮล์มที่ 2 แห่งจักรวรรดิเยอรมัน ไกเซอร์ (Kaiser) คือพระอิสริยยศเยอรมันซึ่งเทียบได้กับจักรพรรดิ มีรากศัพท์มาจากคำว่าซีซาร์ของอาณาจักรโรมัน เช่นเดียวกับคำว่าซาร์ในภาษารัสเซีย ตำแหน่งนี้เป็นตำแหน่งที่สูงที่สุด คำว่าไกเซอร์เป็นคำทั่วไปที่ใช้เรียกจักรพรรดิในภาษาฮอลแลนด์ จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์เรียกตนเองว่า ไกเซอร์ เนื่องจากมองว่าอาณาจักรของตนนั้นสืบทอดมาจากจักรวรรดิโรมัน จึงได้ใช้ชื่อนี้เพื่อแสดงถึงต้นกำเนิดเก่าก่อน นอกจากนี้ พระเจ้าแผ่นดินแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีที่มาจากราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค ก็ใช้พระอิสริยยศว่า "ไกเซอร์" เช่นกัน ไกเซอร์แห่งจักรวรรดิออสเตรีย (ค.ศ.
ไรชส์มาร์ค
รชส์มาร์ค (Reichsmark) เป็นสกุลเงินของเยอรมนีมาตั้งแต่ปี..
ไรชส์ทาค (นาซีเยอรมนี)
ประกาศสงครามกับสหรัฐ ที่ไรชส์ทาค ในวันที่ 11 ธันวาคม 1941 ไรชส์ทาค (Reichstag) ในสมัยไรช์ที่สามมีชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรชส์ทาคมหาเยอรมัน (Großdeutscher Reichstag) เป็นฝ่ายนิติบัญญัติเยอรมันซึ่งเริ่มขึ้นตั้งแต่ที่ได้ตรากฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาคขึ้นใน..
ดู นาซีเยอรมนีและไรชส์ทาค (นาซีเยอรมนี)
ไรชส์คอมมิสซาเรียท
ไรช์มหาเยอรมัน (สีแดง) และพันธมิตรและดินแดนที่ถูกยึดครอง (สีส้ม) ในปี ค.ศ. 1942 ไรชส์คอมมิสซาเรียท (Reich Commissariat) เป็นชื่อเยอรมันสำหรับประเภทของเขตการปกครองโดยเจ้าหน้าที่รัฐบาลซึ่งเป็นที่รู้จักกันคือ ไรชส์คอมมิสซาร์ (Reich Commissioner) แม้ว่าสำนักงานดังกล่าวจะมีอยู่หลายแห่งในช่วงตลอดระยะเวลาของจักรวรรดิเยอรมันและสมัยนาซีในจำนวนของอาณาเขตที่แตกต่างกัน (อย่างเช่น โครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ, การวางแผนเชิงพื้นที่, การล้างชาติพันธุ์ เป็นต้น) มันเป็นสิ่งที่ปกติที่ถูกใช้เพื่ออ้างถึงการจัดตั้งเขตการปกครองแบบกึ่งอาณานิคมซึ่งก่อตั้งขึ้นโดยนาซีเยอรมนีในหลายประเทศที่ถูกยึดครองในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ในขณะที่ตั้งอยู่ในภายนอกเยอรมันไรช์อย่างเป็นทางการในแง่ของกฎหมาย หน่วยงานเหล่านี้ถูกควบคุมโดยตรงจากเจ้าหน้าที่พลเรือนที่มีอำนาจสูงสุด (ไรชส์คอมมิสซาร์) ผู้มีหน้าที่ในการปกครองดินแดนที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ว่าการรัฐเยอรมันทั้งในนามของและฐานะตัวแทนโดยตรงของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ การริเริ่มการบริหารปกครองดินแดนเหล่านี้มีวัตถุประสงค์หลายประการ การก่อตั้งขึ้นมานั้นหรือวางแผนที่จะก่อตั้งขึ้นในทางตะวันตกและตอนเหนือของยุโรปโดยทั่วไปในฐานะที่เป็นขั้นตอนการเปลี่ยนผ่านสำหรับการรวมตัวกันในอนาคตของชนชาติเยอรมันจากด้านนอกหลายประเทศต่างๆในช่วงก่อนสงครามเยอรมนีเข้าสู่การขยายตัวรัฐนาซี ในสิ่งที่คล้ายคลึงของทางด้านตะวันออกของพวกเขาได้มีหน้าที่เป็นอาณานิคมหลักและวัตถุประสงค์ของจักรวรรดินิยมเป็นแหล่งที่มาของอนาคต เลเบนสเราม์สำหรับการตั้งถิ่นฐานของชาวเยอรมันและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ด้วยความแตกต่างอีกอย่างหนึ่งก็คือระดับของการบริหารปกครองที่ปรับปรุงใหม่ที่ได้ดำเนินการในสองประเภท เช่นเดียวกับในดินแดนอื่นๆจำนวนมากที่ถูกยึดครองโดยเยอรมัน ผู้บริหารท้องถิ่นและข้าราชการได้ถูกกดดันเพื่อดำเนินการตามปกติแบบวันต่อวัน (โดยเฉพาะในระดับกลางและล่าง) แม้ว่าจะอยู่ภายใต่การกำกับดูแลของเยอรมันก็ตาม ในช่วงสงคราม ไรชส์คอมมิสซาเรียทในยุโรปตะวันตกและตอนเหนือยังคงรักษาโครงสร้างการบริหารที่มีอยู่ก่อนหน้านี้ อย่างไรก็ตาม ในขณะที่ด้านตะวันออกก็ได้มีโครงสร้างขึ้นมาใหม่อย่างเสร็จสมบูรณ์ที่ได้รับการนำเสนอ ทั้งหมดของหน่วยงานเหล่านี้ต่างก็มีวัตถุประสงค์เดียวกันสำหรับกรณีการรวมตัวเข้าสู่ไรช์มหาเยอรมัน (Großdeutsches Reich โกรซส์ดอยท์เชิสไรช์) ครอบคลุมพื้นที่ทั่วไปของยุโรปซึ่งทอดยาวจากทะเลเหนือไปยังเทือกเขายูรัล, ซึ่งเยอรมันจะสร้างเป็นพื้นฐาน หมวดหมู่:นาซีเยอรมนี.
ดู นาซีเยอรมนีและไรชส์คอมมิสซาเรียท
ไรชส์เกา
NSDAP administrative units, 1944. Map of Nazi Germany with Reichsgaue highlighted. ไรชส์เกา (Reichsgau) เป็นเขตปกครองย่อยๆที่ถูกสร้างขึ้นในหลายพื้นที่ที่ถูกผนวกโดยนาซีเยอรมนีระหว่างปี 1939-1945.
ไรช์
รช์ (Reich) เป็นคำในภาษาเยอรมัน โดยทั่วไปมีความหมายว่า "ประเทศ" หรือ "อาณาจักร" แต่คำว่าไรช์ในฉบับดั้งเดิมนั้นถูกใช้เพื่อสื่อถึงประเทศของชาวโรมัน โดยเฉพาะจักรวรรดิโรมันHarper's magazine, Volume 63.
ไรช์เยอรมัน
รช์เยอรมัน (Deutsches Reich ดอยท์เชิสไรช์) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของประเทศเยอรมนีระหว่าง..
ไรน์ลันท์
รน์ลันท์ (Rheinland) เป็นชื่อทั่วไปที่ใช้เรียกดินแดนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไรน์ ในเยอรมนีตะวันตก หลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิฝรั่งเศสในตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ไรน์ลันท์เป็นแคว้นที่มีประชากรพูดภาษาเยอรมันเป็นส่วนใหญ่ ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนล่างของแม่น้ำไรน์ ซึ่งเคยถึงผนวกเข้ากับอาณาจักรปรัสเซีย กษัตริย์แห่งปรัสเซียได้เปลี่ยนชื่อแคว้นใหม่ว่า มณฑลไรน์ (หรือ Rhenish Prussia) หลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ภาคตะวันตกของไรน์ลันท์ถูกยึดครองโดยกองทัพฝ่ายไตรภาคี ตามข้อตกลงในสนธิสัญญาแวร์ซาย เยอรมนีได้รับไรน์ลันท์คืนเมื่อปี 1936.
ไรน์ฮาร์ด ฮายดริช
รน์ฮาร์ด ทรีสทัน ออยเกิน ฮายดริช (Reinhard Tristan Eugen Heydrich) เป็นเจ้าหน้าที่ระดับสูงของนาซีเยอรมันอย่างเป็นทางการในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและผู้ออกแบบหลักในการล้างชาติโดยนาซี.เขาเป็นเจ้าหน้าที่แห่งเอสเอส (ชุทซ์ชทัฟเฟิล) ระดับโอแบร์กรุพเพนฟือแรร์ (พลโท) และเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจสามัญ (หัวหน้ากลุ่มระดับอาวุโสและอธิบดีกรมตำรวจ) เช่นเดียวกันกับหัวหน้าของสำนักความมั่นคงหลักของรัฐไรซ์ (Reich Main Security Office) (รวมทั้งเกสตาโพ, ครีมิไนโพลีไซ (Kripo), ซีแชร์ไฮท์สดีนสท์ (SD) และซีแชร์ไฮท์สโพลีไซ(sipo)) นอกจากนั้นเขายังเป็น Stellvertretender Reichsprotektor (รองผู้รักษาการป้องกันแห่งไรซ์-ผู้พิทักษ์) ของโบฮีเมียและโมราเวียในดินแดนสาธารณรัฐเช็ก.
ดู นาซีเยอรมนีและไรน์ฮาร์ด ฮายดริช
ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์
น์ริช ลุทโพลด์ ฮิมม์เลอร์ (Heinrich Luitpold Himmler) เป็นหนึ่งในผู้นำพรรคนาซีในเยอรมนี และเป็น ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส ของหน่วย ชุทซ์ชทัฟเฟิล (เอ็สเอ็ส) รับผิดชอบด้านการคุมกำลังหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สทั้งหมดในไรช์ เขาเป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในไรช์ และเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงในการทำฮอโลคอสต์ชาวยิวSource: Der Spiegel, Issue dated 3 November 2008: Hitlers Vollstrecker – Aus dem Leben eines Massenmörders ฮิมม์เลอร์เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..
ดู นาซีเยอรมนีและไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์
ไทเกอร์ 2
ทเกอร์ 2 ไทเกอร์ 2 (Panzerkampfwagen Tiger Ausf.; Tiger II) เป็นรถถังประเภทรถถังหนักหรือเฮฟวี่แทงค์ (Heavy tank) ที่ถูกใช้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ปลายปี ค.ศ.
ไซลีเซีย
ูมิภาคในประวัติศาสตร์ (ในวงสีฟ้าและเหลือง) และเขตแดนประเทศต่าง ๆ ในปัจจุบัน ไซลีเซีย (Silesia; ไซลีเซีย: Ślůnsk; Śląsk; Slezsko; Schlesien) เป็นภูมิภาคในประวัติศาสตร์ของยุโรปกลาง ปัจจุบันตั้งอยู่ในประเทศโปแลนด์ สาธารณรัฐเช็ก และเยอรมนี ไซลีเซียเป็นดินแดนที่เต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติและมีบริเวณสำคัญทางอุตสาหกรรมหลายแห่ง เมืองที่ใหญ่ที่สุดในบริเวณนี้ได้แก่วรอตสวัฟ (Wrocław) ซึ่งเป็นเมืองหลวงในประวัติศาสตร์ คาโตวีตเซในโปแลนด์ และออสตราวา (Ostrava) ในสาธารณรัฐเช็ก แม่น้ำสำคัญคือแม่น้ำโอเดอร์ เขตแดนของไซลีเซียเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างมากตลอดมาในประวัติศาสตร์ทั้งตั้งแต่ยังเป็นของขุนนางในสมัยศักดินา มาจนถึงหลังจากการรุ่งเรืองของรัฐชาติสมัยใหม่ รัฐแรกที่เป็นที่ทราบว่ามีอำนาจในบริเวณนี้คือเกรตเตอร์โมราเวีย (Greater Moravia) และโบฮีเมีย ในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐโปแลนด์สมัยแรก แต่ต่อมาก็แยกตัวออกไปเป็นดัชชีอิสระแต่ตกเข้ามาอยู่ภายใต้อิทธิพลของเยอรมนีมากขึ้นทุกขณะ ในที่สุดไซลีเซียก็ตกมาเป็นของราชบัลลังก์โบฮีเมีย ที่ผ่านต่อไปยังออสเตรียในปี..
เบอร์ลิน
อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.
เบนิโต มุสโสลินี
นีโต อามิลกาเร อานเดรอา มุสโสลีนี (Benito Amilcare Andrea Mussolini) เรียกชื่อโดยทั่วไปว่า "อิลดูเช" (Il Duce) แปลว่า "ท่านผู้นำ" เป็นจอมเผด็จการและนายกรัฐมนตรีของประเทศอิตาลี (พ.ศ.
ดู นาซีเยอรมนีและเบนิโต มุสโสลินี
เฟล็นส์บวร์ค
ฟล็นส์บวร์ค (Flensburg; Flensborg) เป็นเมืองในรัฐชเลสวิช-ฮ็อลชไตน์ ประเทศเยอรมนี เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางเหนือสุดของประเทศ เมืองนี้อยู่ใกล้กับเขตแดนประเทศเดนมาร์ก ตั้งอยู่ที่ก้นอ่าวเฟรนส์บูร์เกอร์เฟอร์เดอ ซึ่งยาว 48 กม.
เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก
ล์ ลุดวิก ฮันส์ อันโทน ฟอน เบเนกเคินดอร์ฟ อุนด์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก (Paul Ludwig Hans Anton von Beneckendorff und von Hindenburg) รู้จักกันทั่วไปว่า เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก (2 ตุลาคม 1847 – 2 สิงหาคม 1934) เป็นจอมพล รัฐบุรุษและนักการเมืองชาวปรัสเซีย-เยอรมัน และเป็นประธานาธิบดีเยอรมนีคนที่สองตั้งแต่ปี 1925 ถึง 1934.
ดู นาซีเยอรมนีและเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก
เกษตรกรรม
กษตรกรรม (agriculture) เป็นการเพาะปลูกพืช เห็ดรา เลี้ยงสัตว์ และรูปแบบของชีวิตแบบอื่น ๆ เพื่อเป็นอาหาร เส้นใย เชื้อเพลิงชีวภาพ ยารักษาโรคและผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อความยั่งยืนและเพิ่มสมรรถนะชีวิตมนุษย์ เกษตรกรรมเป็นพัฒนาการที่สำคัญในความเจริญของอารยธรรมมนุษย์ที่ไม่ย้ายที่อยู่ซึ่งการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ในสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่องได้ผลิตอาหารส่วนเกิน ซึ่งช่วยหล่อเลี้ยงพัฒนาการของอารยธรรม การศึกษาด้านเกษตรกรรมถูกเรียกว่า เกษตรศาสตร์ ประวัติศาสตร์ของเกษตรกรรมย้อนกลับไปหลายพันปี และการพัฒนาของมันได้ถูกขับเคลื่อนโดยความแตกต่างอย่างมากของภูมิอากาศ วัฒนธรรมและเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม เกษตรกรรมทั้งหมดโดยทั่วไปพึ่งพาเทคนิคต่างๆเพื่อการขยายและบำรุงที่ดินที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่อง สำหรับพืช เทคนิคนี้มักอาศัยการชลประทานบางรูปแบบ แม้จะมีหลายวิธีการของเกษตรกรรมในพื้นที่แห้งแล้งอยู่ก็ตาม ปศุสัตว์จะถูกเลี้ยงในระบบทุ่งหญ้าผสมกับระบบที่ไม่เป็นเจ้าของที่ดิน ในอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบหนึ่งในสามของพื้นที่ที่ปราศจากน้ำแข็งและปราศจากน้ำของโลก ในโลกพัฒนาแล้วเกษตรอุตสาหกรรมที่ยึดการปลูกพืชเชิงเดี่ยวขนาดใหญ่ได้กลายเป็นระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ที่โดดเด่น แม้ว่าจะมีแรงสนับสนุนที่เพิ่มมากขึ้นสำหรับเกษตรกรรมแบบยั่งยืน รวมถึงเกษตรถาวรและเกษตรกรรมอินทรีย์ จนกระทั่งมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ของประชากรมนุษย์ทำงานในภาคการเกษตร การเกษตรแบบก่อน-อุตสาหกรรมโดยทั่วไปเป็นการเกษตรเพื่อการดำรงชีวิต/การพึ่งตัวเองในที่ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกพืชเพื่อการบริโภคของตัวเองแทน'พืชเงินสด'เพื่อการค้า การปรับเปลี่ยนที่โดดเด่นในการปฏิบัติทางการเกษตรได้เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาในการตอบสนองต่อเทคโนโลยีใหม่ๆและการพัฒนาของตลาดโลก มันยังได้นำไปสู่การปรับปรุงด้านเทคโนโลยีในเทคนิคการเกษตร เช่นวิธีของ 'ฮาเบอร์-Bosch' สำหรับการสังเคราะห์แอมโมเนียมไนเตรตซึ่งทำให้การปฏิบัติแบบดั้งเดิมของสารอาหารที่รีไซเคิลด้วยการปลูกพืชหมุนเวียนและมูลสัตว์มีความสำคัญน้อยลง เศรษฐศาสตร์การเกษตร การปรับปรุงพันธุ์พืช เกษตรเคมีเช่นยาฆ่าแมลงและปุ๋ยและการปรับปรุงเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้เพิ่มอัตราผลตอบแทนอย่างรวดเร็วจากการเพาะปลูก แต่ในเวลาเดียวกันได้ทำให้เกิดความเสียหายของระบบนิเวศอย่างกว้างขวางและผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ในเชิงลบ การคัดเลือกพันธุ์และการปฏิบัติที่ทันสมัยในการเลี้ยงสัตว์ได้เพิ่มขึ้นในทำนองเดียวกันของการส่งออกของเนื้อ แต่ได้เพิ่มความกังวลเกี่ยวกับสวัสดิภาพของสัตว์และผลกระทบต่อสุขภาพของยาปฏิชีวนะ ฮอร์โมนที่สร้างการเจริญเติบโต และสารเคมีอื่นๆที่ใช้ทั่วไปในอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์ สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเป็นองค์ประกอบที่เพิ่มขึ้นของการเกษตร แม้ว่าพวกมันจะเป็นสิ่งต้องห้ามในหลายประเทศ การผลิตอาหารการเกษตรและการจัดการน้ำจะได้กลายเป็นเป็นปัญหาระดับโลกเพิ่มขึ้นที่ได้รับการสนับสนุนให้เกิดการอภิปรายเกี่ยวกับจำนวนของ fronts การเสื่อมสลายอย่างมีนัยสำคัญของทรัพยากรดินและน้ำ รวมถึงการหายไปของชั้นหินอุ้มน้ำ ได้รับการตั้งข้อสังเกตในทศวรรษที่ผ่านมา และผลกระทบของภาวะโลกร้อนกับการเกษตรและผลของการเกษตรต่อภาวะโลกร้อนยังคงไม่เป็นที่เข้าใจอย่างเต็มที่ สินค้าเกษตรที่สำคัญสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มกว้างๆได้แก่อาหาร เส้นใย เชื้อเพลิง และวัตถุดิบ อาหารที่เฉพาะได้แก่(เมล็ด)ธัญพืช ผัก ผลไม้ น้ำมันปรุงอาหาร เนื้อสัตว์และเครื่องเทศ เส้นใยรวมถึงผ้าฝ้าย ผ้าขนสัตว์ ป่าน ผ้าไหมและผ้าลินิน วัตถุดิบได้แก่ ไม้และไม้ไผ่ วัสดุที่มีประโยชน์อื่นๆมีการผลิตจากพืช เช่นเรซิน สีธรรมชาติ ยา น้ำหอม เชื้อเพลิงชีวภาพและผลิตภัณฑ์ใช้ประดับเช่นไม้ตัดดอกและพืชเรือนเพาะชำ กว่าหนึ่งในสามของคนงานในโลกมีการจ้างงานในภาคเกษตร เป็นที่สองรองจากภาคบริการเท่านั้น แม้ว่าร้อยละของแรงงานเกษตรในประเทศที่พัฒนาแล้วได้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านม.
เกสตาโพ
รื่องแบบเกสตาโพ เกสตาโพ (Gestapo) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ทบวงตำรวจลับของรัฐ (Geheime Staatspolizei) เป็นตำรวจลับอย่างเป็นทางการของนาซีเยอรมนี เริ่มตั้งแต่วันที่ 20 เมษายน..
เกา
การแบ่งการปกครองของเยอรมนี ''(เกา)'' ในสมัยกลาง ประมาณปี ค.ศ. 1000 เกา (Gau) เป็นคำในภาษาเยอรมันสำหรับใช้เรียกเขตการปกครองภายในประเทศ คำดังกล่าวใช้ในยุคกลาง ซึ่งเป็นการนำมาจากการปกครองที่เรียกว่า "ไชร์" ของอังกฤษ ต่อมา คำนี้ได้ถูกนำมาใช้อีกครั้งหนึ่งในสมัยนาซีเยอรมนี.
เกาไลแตร์
ังหวัด ของ Halle-Merseburg. เกาไลแตร์ เป็นหัวหน้าพรรคสาขาภูมิภาคของพรรคนาซี (NSDAP) หรือหัวหน้าผู้นำของเกาหรือไรซ์เกา คำศัพท์นี้เป็นได้ทั้งเอกพจน์หรือพหูจน์ได้ขึ้นอยู่กับบริบท เกาไลแตร์เป็นอันดับสองของกองกำลังกึ่งทหารพรรคนาซีระดับสูง,ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาของไรซ์ไลแตร์และตำแหน่งผู้นำฟือเรอร์ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง, ตำแหน่งของเกาไลแตร์นั้นได้รับมาอย่างโดยตรงจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เท่านั้น.
เกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซี
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซี ถูกจัดตั้งขึ้นโดยนาซีเยอรมนีเพื่อกักขังชาวยิว และบางครั้งอาจรวมชาวยิปซี เข้าไปในพื้นที่แออัดแน่นของนคร รวมแล้ว ตามบันทึกของพิพิธภัณฑ์อนุสรณ์การล้างชาติโดยนาซีสหรัฐอเมริกา "พวกเยอรมันจัดตั้งเกตโตอย่างน้อย 1,000 แห่งเฉพาะในโปแลนด์และสหภาพโซเวียตส่วนที่เยอรมนียึดครองและผนวกไว้" ดังนั้น ตัวอย่างจึงตั้งใจเพียงเพื่อแสดงให้เห็นขอบเขตและสภาพความเป็นอยู่ของเกตโตทั่วยุโรปตะวันออก แม้คำว่า "เกตโต" จะใช้โดยทั่วไปในงานประพันธ์เกี่ยวกับการล้างชาติโดยนาซี แต่พวกนาซีมักเรียกสถานกักกันเหล่านี้บ่อยครั้งว่า "ย่านชาวยิว" (Jewish Quarter) ไม่นานหลังการรุกรานโปแลนด์ใน..
ดู นาซีเยอรมนีและเกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซี
เลเบนส์บอร์น
มาคมจดทะเบียนเลเบนส์บอร์น (Lebensborn e.V.; น้ำพุแห่งชีวิต) เป็นการริเริ่มโครงการของหน่วยเอสเอส,ได้รับการสนับสนุนโดยรัฐ,ได้มีการจดทะเบียนขึ้นในนาซีเยอรมนีโดยมีเป้าหมายในการเพิ่มอัตราการเกิดของเด็กที่มีเชื้อสาย"อารยัน" เด็กที่เกิดมาจากความสัมพันธ์นอกสมรสของบุคคลที่ถูกจัดว่าเป็น"เชื้อชาติที่มีความบริสุทธิ์และมีสุขภาพที่ดีแข็งแรง"ตามแนวทางนโยบายทางเชื้อชาติของนาซีและอุดมการณ์ทางสุขภาพ เลเบนส์บอร์นได้ส่งเสริมการคลอดบุตรที่ไม่ได้ระบุชื่อโดยหญิงที่ไม่ได้แต่งงาน,และรับการเลี้ยงดูอุปถัมภ์ของเด็กเหล่านี้โดยพ่อแม่ที่"เชื้อชาติที่มีความบริสุทธิ์และมีสุขภาพที่ดีแข็งแรง"เช่นเดียวกัน โดยเฉพาะสมาชิกบุคคลของหน่วยเอสเอสและครอบครัวของพวก.เหรียญกางเขนเกียรติยศมารดาเยอรมันเป็นสิ่งที่ปูนบำเหน็จมอบให้แก่สตรีที่ให้กำเนิดบุตรสายเลือดอารยันมากที.ส่วนการทำแท้งบุตรเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมายในเวลานี้ การก่อตั้งในช่วงแรกในเยอรมนีในปี..
เลเบนสเราม์
year.
เวร์มัคท์
วร์มัคท์ (Wehrmacht ความหมาย:"กำลังป้องกัน") เป็นกองทัพของนาซีเยอรมนีระหว่าง..
เศรษฐกิจแบบผสม
รษฐกิจแบบผสม เป็นระบบเศรษฐกิจซึ่งทั้งภาคเอกชนและรัฐชี้นำเศรษฐกิจ ซึ่งสะท้อนลักษณะของทั้งเศรษฐกิจแบบตลาดและเศรษฐกิจที่มีการวางแผน เศรษฐกิจแบบผสมส่วนมากอาจอธิบายได้ว่าเป็นเศรษฐกิจแบบตลาดที่มีการควบคุมดูแลอย่างเข้มแข็งและการจัดหาสินค้าสาธารณะของรัฐบาล เศรษฐกิจแบบผสมบางแห่งยังมีลักษณะรัฐวิสาหกิจ โดยทั่วไป เศรษฐกิจแบบผสมมีลักษณะคือ เอกชนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต ความเด่นของตลาดสำหรับการประสานงานเศรษฐกิจ และวิสาหกิจแสวงผลกำไรและการสะสมทุนที่เหลือเป็นปัจจัยขับหลักมูลเบื้องหลังกิจกรรมเศรษฐกิจ ทว่า รัฐบาลจะถืออิทธิพลเศรษฐกิจมหภาคโดยอ้อมเหนือเศรษฐกิจผ่านนโยบายการคลังและการเงินซึ่งออกแบบมาเพื่อรับมือภาวะเศรษฐกิจตกต่ำและแนวโน้มของทุนนิยมต่อวิกฤตการณ์การเงินและการว่างงาน ร่วมกับมีบทบาทในการแทรกแซงซึ่งสนับสนุนสวัสดิการสังคม ซึ่งไม่เหมือนกับเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี ต่อมา เศรษฐกิจแบบผสมบางประเทศได้ขยายขอบเขตให้รวมบทบาทสำหรับการวางแผนเศรษฐกิจชี้นำและ/หรือภาควิสาหกิจสาธารณะขนาดใหญ่ด้วย ไม่มีนิยามระบบเศรษฐกิจแบบผสมอย่างเดียว โดยนิยามหลากหลายว่าเป็นการผสมตลาดเสรีกับการแทรกแซงของรัฐ หรือการผสมวิสาหกิจสาธารณะและเอกชน หรือเป็นการผสมระหว่างตลาดและการวางแผนเศรษฐกิจ จุดแข็งหรือจุดอ่อนเปรียบเทียบของแต่ละส่วนในเศรษฐกิจของชาติอาจต่างกันได้มากแล้วแต่ประเทศ เศรษฐกิจตั้งแต่ของสหรัฐอเมริกาจนถึงคิวบาเรียก เศรษฐกิจแบบผสม คำนี้ยังใช้อธิบายเศรษฐกิจของประเทศที่เรียก รัฐสวัสดิการ เช่น ประเทศนอร์ดิก รัฐบาลในเศรษฐกิจแบบผสมมักจัดการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม การรักษามาตรฐานการจ้างงาน ระบบสวัสดิการปรับมาตรฐานและการรักษาการแข่งขัน.
ดู นาซีเยอรมนีและเศรษฐกิจแบบผสม
เศรษฐศาสตร์สำนักเคนส์
รษฐศาสตร์สำนักเคนส์ (Keynesian Economics) คือทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่มีพื้นฐานจากความคิดของจอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ นักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษ ทฤษฎีนี้กล่าวว่าภาครัฐสามารถรักษาอัตราเจริญเติบโตและความมั่นคงทางเศรษฐกิจได้ในเศรษฐกิจแบบผสม ซึ่งทั้งภาครัฐและภาคเอกชนล้วนมีบทบาทที่สำคัญ เศรษฐศาสตร์สำนักเคนส์เกิดขึ้นจากการหาคำตอบให้กับปัญหาความล้มเหลวของตลาดเสรี ซึ่งกล่าวว่าตลาดและภาคเอกชนจะดำเนินการได้ดีกว่าหากภาครัฐไม่เข้ามาแทรกแซง ทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานของเศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ปรากฏครั้งแรกใน The General Theory of Employment, Interest and Money ซึ่งตีพิมพ์ในปี 1936 ในทฤษฎีของเคนส์ กิจกรรมทางเศรษฐกิจในระดับจุลภาคของบุคคลหรือบริษัทอาจรวมกันออกมาเป็นผลในระดับมหภาคที่ต่ำกว่ากำลังการผลิตที่แท้จริง นักเศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิก ส่วนมากเชื่อใน กฎของเซย์ ซึ่งกล่าวว่าอุปทานสร้างอุปสงค์ ดังนั้นจะไม่มีทางเกิดภาวะสินค้าล้นตลาด แต่เคนส์แย้งว่า อุปสงค์รวม อาจจะมีไม่เพียงพอในช่วงเศรษฐกิจตกต่ำ จึงนำไปสู่อัตราการว่างงานที่สูงและการสูญเสียผลผลิต นโยบายของภาครัฐสามารถช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจโดยการเพิ่มอุปสงค์รวม ซึ่งเป็นการเพิ่มกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ลดการว่างงาน และช่วยแก้ภาวะเงินฝืด ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาคของเคนส์นั้นเป็นผลสะท้อนจากการปัญหาการว่างงานอย่างรุนแรงในประเทศอังกฤษในทศวรรษที่ 1920 และ สหรัฐอเมริกาในทศวรรษที่ 1930 เคนส์เสนอวิธีการแก้ไขภาวะเศรษฐกิจตกต่ำโดยการกระตุ้น (จูงใจให้ลงทุน) ผ่านการใช้สองวิธีรวมกัน คือ การลดอัตราดอกเบี้ย และการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานซึ่งเป็นการอัดฉีดรายได้และส่งผลให้มีการใช้จ่ายมากขึ้นในระบบเศรษฐกิจ ซึ่งจะกระตุ้นให้มีการผลิตและการลงทุนมากขึ้น จนทำให้เกิดรายได้และการใช้จ่ายมากขึ้น และส่งผลวนเวียนต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ จึงทำให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นทั้งหมดมีค่าหลายเท่าของการลงทุนครั้งแรก.
ดู นาซีเยอรมนีและเศรษฐศาสตร์สำนักเคนส์
เสรีนครดันท์ซิช
รีนครดันท์ซิช (Freie Stadt Danzig; Wolne Miasto Gdańsk) เป็นเมืองของรัฐกึ่งอิสระที่มีอยู่ระหว่างปี 1920 และ 1939 ประกอบด้วยท่าเรือบนทะเลบอลติกของเมืองดันท์ซิชและเมืองเกือบ 200 เมืองในพื้นที่โดยรอ.ถูกสร้างขึ้นเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 1920 ตามเงื่อนไขของมาตรา 100 (มาตรา 10 ของหน้า 3) ของสนธิสัญญาแวร์ซาย หลังจากการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นครเสรีรวมเมืองดันท์ซิชและเมือง หมู่บ้าน และถิ่นฐานใกล้เคียงอื่น ๆ ที่ได้ตั้งที่อยู่อาศัยเป็นหลักโดยชาวเยอรมัน ตามสนธิสัญญาได้ระบุเอาไว้ ภูมิภาคจะยังคงแยกออกมาจากหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (สาธารณรัฐไวมาร์) และประเทศที่ได้รับเอกราชใหม่ของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง ("โปแลนด์ในช่วงสมัยระหว่างสงคราม") แต่ก็ไม่ได้เป็นรัฐเอกราช เมืองเสรีนครอยู่ภายใต้การคุ้มครองของสันนิบาตชาติและถูกบรรจุลงในความผูกผันทางด้านสหภาพศุลกากรกับโปแแลนด์ ประเทศโปแลนด์ได้รับสิทธิในการพัฒนาและดูแลในด้านการขนส่ง การสื่อสาร และความอำนวยความสะดวกบนท่าเรือในเมือง เสรีนครได้รับการจัดตั้งขึ้นเพื่อให้โปแลนด์สามารถเข้าถึงท่าเรือขนาดพอดี ในขณะที่ประชากรของเมืองส่วนใหญ่เป็นชาวเยอรมัน มีชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์โปแลนด์อย่างมีนัยสำคัญเช่นกัน ประชาชนชาวเยอรมันไม่พอใจอย่างมากที่ถูกแยกออกจากเยอรมนี ถูกรังแกข่มเหงจากชนกลุ่มน้อยชาวโปแลนด์ นี่คือความจริงโดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากที่พรรคนาซีได้เข้ามาควบคุมทางการเมืองในปี 1935-1936.
ดู นาซีเยอรมนีและเสรีนครดันท์ซิช
เหตุการณ์ตลาดหลักทรัพย์วอลล์สตรีทตก ค.ศ. 1929
หตุการณ์ตลาดหลักทรัพย์วอลล์สตรีทตก..
ดู นาซีเยอรมนีและเหตุการณ์ตลาดหลักทรัพย์วอลล์สตรีทตก ค.ศ. 1929
เหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค
หตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค (Reichstagsbrand) เป็นการลอบวางเพลิงอาคารไรชส์ทาค ในกรุงเบอร์ลินเมื่อวันที่ 27 กุมภาพัน..
ดู นาซีเยอรมนีและเหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค
เอาโทบาน
อาโทบานสาย 3 ตัดกับสาย 5 บริเวณแฟรงเฟิร์ต เอาโทบาน (Autobahn ออกเสียง: เอาโทบาน) เป็นศัพท์ภาษาเยอรมันหมายถึง ทางด่วนระหว่างเมือง ซึ่งเป็นทางคู่และมีทางยกระดับข้ามทางแยก ศัพท์คำนี้ใช้เรียกทางด่วนในเยอรมนี ออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ แต่เมื่อกล่าวโดยทั่วไปมักหมายถึงทางหลวงในเยอรมนี เอาโทบานในเยอรมนีเป็นทางด่วนที่ไม่มีการเรียกเก็บค่าผ่านทาง ส่วนในออสเตรียและสวิตเซอร์แลนด์มีด่านเก็บค่าผ่านทาง ในเยอรมนีและออสเตรีย กำหนดให้พาหนะที่ใช้งานเอาโทบานได้ จะต้องเป็นพาหนะที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์และมีความเร็วไม่ต่ำกว่า 60 กม/ชม (37 mph) ส่วนในสวิตเซอร์แลนด์ต้องมีความเร็วไม่ต่ำกว่า 80 กม/ชม (50 mph) ส่วนขีดจำกัดความเร็วนั้น กำหนดไว้ที่ไม่เกิน 130 กม/ชม (80 mph) สำหรับออสเตรีย, ไม่เกิน 120 กม/ชม (75 mph) สำหรับสวิตเซอร์แลนด์ ส่วนในเยอรมนีนั้น ส่วนใหญ่ไม่มีจำกัดความเร็วสูงสุด แต่มีการกำหนดความเร็วแนะนำที่ 130 กม/ชม (80 mph) ยกเว้นในบางรัฐเช่น เบรเมิน ที่เริ่มจำกัดความเร็วเพื่อควบคุมระดับเสียงและลดมลภาวะ เอาโทบานในสมัยนาซีเยอรมนี ค.ศ.
เจเนรัลพลันโอสท์
นรัลพลันโอสท์ (Master Plan for the East), ย่อคำว่า GPO, เป็นแผนการของรัฐบาลนาซีเยอรมนีในการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์และขจัดชาติพันธุ์ในพื้นที่กว้างใหญ่,และเขตอาณานิคมของทวีปยุโรปกลางและตะวันออกโดยเยอรมัน มันได้ถูกรับรองในดินแดนที่ถูกยึดครองโดยเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง แผนการนี้ได้เป็นที่รับรู้เพียงบางส่วนในช่วงสงคราม,ได้ส่งผลทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมากมายมหาศาลทั้งทางตรงและทางอ้อม,แต่การลงมือแผนการทั้งหมดกลับไม่ได้ปฏิบัติตามในช่วงปฏิบัติการทางทหารที่สำคัญ, และถูกขัดขวางจากความพ่ายแพ้ของเยอรมนี แผนการนี้ได้ก่อให้เกิดการกดขี่ข่มเหง, ขับไล่เนรเทศ,และสังหารหมู่ต่อชนชาวสลาฟจำนวนมากในทวีปยุโรปรวมถึงการวางแผนการทำลายประเทศชาติของพวกเขา,แบบที่"เผ่าอารยัน"ของนาซีนั้นได้ดูราวกับเชื้อชาติด้อยกว่าตน โครงการแนวทางการปฏิบัตินี้ได้ขึ้นอยู่กับนโยบายเลเบนสเราม์ ซึ่งได้ออกแบบโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซีในการปฏิบัติตามอุดมการณ์ของลัทธิ Drang nach Osten (การขับไล่ไปทางตะวันออก) จากการขยายตัวของเยอรมัน ซึ่งเช่นนี้แล้ว,ได้มุ่งมั่นหมายที่จะเป็นส่วนหนึ่งของระเบียบใหม่ในทวีปยุโรป แผนการนำได้ดำเนินไป,มีเพียงสี่รุ่นที่เป็นที่รู้จักกัน,มันได้ถูกพัฒนาขึ้นเมื่อเวลาได้ผ่านพ้นไป,ภายหลังจากการบุกยึดครองโปแลนด์,ภาพออกแบบพิมพ์เขียวสำหรับแผนการเจเนรัลพลันโอสท์(GPO)ได้ถูกกล่าวถึงโดยสำนักผู้ตรวจการไรช์เพื่อความเป็นเอกภาพแห่งชนชาติเยอรมัน-RKFDV ในช่วงกลางของปี..
ดู นาซีเยอรมนีและเจเนรัลพลันโอสท์
เขตปกครองสามัญ
ตปกครองสามัญ(Generalgouvernement, Generalne Gubernatorstwo, Генеральна губернія),เรียกอีกอย่างว่า เจอเนอรัลโกเวอร์โนเรนท์ เป็นเขตยึดครองของเยอรมันที่ได้ก่อตั้งขึ้นภายหลังจากการร่วมมือบุกเข้ายึดครองโปแลนด์โดยนาซีเยอรมนีและสหภาพโซเวียตในปี..
ดู นาซีเยอรมนีและเขตปกครองสามัญ
เดอะบลิตซ์
อะบลิตซ์ (The Blitz) หมายถึงการทิ้งระเบิดเกือบทุกเมืองทั้งใหญ่และเล็กในสหราชอาณาจักรโดยนาซีเยอรมันอย่างหนักและต่อเนื่องในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 7 กันยายน พ.ศ.
เงินปันผล
งินปันผล (dividend) เป็นค่าตอบแทนที่บริษัทจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น ซึ่งมักเป็นการกระจายกำไร เมื่อบริษัทได้กำไรหรือส่วนเกิน บริษัทสามารถนำไปลงทุนในธุรกิจต่อ (เรียก กำไรสะสม) หรือสามารถจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นก็ได้ บริษัทอาจสงวนกำไรหรือส่วนเกินส่วนหนึ่ง และจ่ายส่วนที่เหลือเป็นเงินปันผล การจ่ายแก่ผู้ถือหุ้นอาจเป็นรูปเงินสด (มักเป็นการฝากเข้าบัญชีธนาคาร) หรือ หากบริษัทมีแผนนำเงินปันผลไปลงทุนต่อ ปริมาณค่าตอบแทนอาจจ่ายเป็นรูปหุ้นเพิ่มหรือการซื้อหุ้นคืนได้Michael Simkovic,, 6 Berkeley Bus.
เนวิล เชมเบอร์ลิน
อาร์เธอร์ เนวิล เชมเบอร์ลิน (Arthur Neville Chamberlain) เป็นนักการเมืองพรรคอนุรักษนิยมชาวอังกฤษ เป็นนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรตั้งแต่พฤษภาคม..
ดู นาซีเยอรมนีและเนวิล เชมเบอร์ลิน
เนือร์นแบร์ค
นือร์นแบร์ค (Nürnberg) หรือที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า นูเร็มเบิร์ก (Nuremberg) เป็นเมืองตั้งอยู่ในรัฐไบเอิร์น (บาวาเรีย) ประเทศเยอรมนี ห่างจากนครมิวนิกขึ้นไปทางทิศเหนือประมาณ 170 กิโลเมตร ปัจจุบันมีประชากรประมาณ 500,000 คน เนือร์นแบร์คมีประวัติศาสตร์ถอยไปถึง ค.ศ.
SS
SS, S.S., Ss, Ss., หรือ ss อาจหมายถึง.
23 พฤษภาคม
วันที่ 23 พฤษภาคม เป็นวันที่ 143 ของปี (วันที่ 144 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 222 วันในปีนั้น.
30 เมษายน
วันที่ 30 เมษายน เป็นวันที่ 120 ของปี (วันที่ 121 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 245 วันในปีนั้น.
6 พฤษภาคม
วันที่ 6 พฤษภาคม เป็นวันที่ 126 ของปี (วันที่ 127 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 239 วันในปีนั้น.
8 พฤษภาคม
วันที่ 8 พฤษภาคม เป็นวันที่ 128 ของปี (วันที่ 129 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 237 วันในปีนั้น.
ดูเพิ่มเติม
ฝ่ายอักษะ
- กติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต–ญี่ปุ่น
- กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น
- กติกาสัญญาเหล็ก
- กติกาสัญญาไตรภาคี
- กรณีอันตอน
- กัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส
- การบุกครองยูโกสลาเวีย
- การยึดครองกรีซของฝ่ายอักษะ
- การยึดครองกัมพูชาของญี่ปุ่น
- การยึดครองพม่าของญี่ปุ่น
- จักรวรรดิญี่ปุ่น
- จักรวรรดิอิตาลี
- จักรวรรดิเวียดนาม
- จังหวัดคาราฟูโตะ
- นาซีเยอรมนี
- ประเทศแมนจู
- ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
- ฝรั่งเศสเขตวีชี
- ฝ่ายอักษะ
- ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง
- ระเบียบใหม่ (ลัทธินาซี)
- รัฐพม่า
- รัฐเอกราชโครเอเชีย
- ราชอาณาจักรบัลแกเรีย
- ราชอาณาจักรอิตาลี
- ราชอาณาจักรอิรัก
- ราชอาณาจักรฮังการี
- ราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946)
- ราชอาณาจักรโรมาเนีย
- วงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเชียบูรพา
- สงครามต่อเนื่อง
- สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 2
- สาธารณรัฐสังคมอิตาลี
- สาธารณรัฐสโลวักที่ 1
- เหมิ่งเจียง
ระบอบนาซี
- นาซีเยอรมนี
- ฝ่ายอักษะ
- ฟือเรอร์
- ระบอบนาซี
- ระเบียบใหม่ (ลัทธินาซี)
- สุพันธุศาสตร์
รัฐฟาสซิสต์
- นาซีเยอรมนี
- รัฐเอกราชโครเอเชีย
- ราชอาณาจักรกรีซ
- ราชอาณาจักรอิตาลี
- ราชอาณาจักรโรมาเนีย
- สหพันธรัฐออสเตรีย
รัฐสิ้นสภาพในทวีปยุโรป
- จักรวรรดิมองโกล
- จักรวรรดิรัสเซีย
- จักรวรรดิเยอรมัน
- จักรวรรดิโรมัน
- จักรวรรดิโรมันตะวันตก
- จักรวรรดิไบแซนไทน์
- ดัชชีพอเมอเรเนีย
- ตเวียร์
- นาซีเยอรมนี
- ประเทศเยอรมนีตะวันออก
- ปรัสเซีย
- ยุครัฐในอารักขา
- รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์
- ราชบัลลังก์กัสติยา
- ราชรัฐกาตาลุญญา
- ราชอาณาจักรซัคเซิน
- ราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย
- ราชอาณาจักรนอร์ทัมเบรีย
- ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่
- ราชอาณาจักรเซอร์เบีย
- ราชอาณาจักรเลออน
- ราชอาณาจักรไอร์แลนด์
- สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคซัส
- สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย
- สหภาพโซเวียต
- สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2
- สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย
- สาธารณรัฐสโลวักที่ 1
- สาธารณรัฐเล็มโก-รูซึน
- สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2
- สาธารณรัฐโรมัน
- อาณาจักรซาร์รัสเซีย
- อาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก
- เครือจักรภพแห่งอังกฤษ
- เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย
รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2476
- ดินแดนแอนตาร์กติกาของออสเตรเลีย
- นาซีเยอรมนี
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Fascist Germanyกองทัพนาซีเยอรมันฝ่ายนาซีเยอรมันมหาจักรวรรดิเยอรมันอาณาจักรที่สามอาณาจักรไรช์ที่ 3อาณาจักรเยอรมันอันยิ่งใหญ่ไรช์ที่สาม
มะเร็งมะเร็งเต้านมมัคท์แอร์ไกรฟุงมารีนึส ฟัน เดอร์ลึบเบอมาร์ทิน บอร์มันน์มิวนิกยุวชนฮิตเลอร์ยุทธการที่บริเตนยุทธการที่มอสโกยุทธการที่สตาลินกราดยุทธการที่คูสค์ยุทธการเกาะครีตยุโรปตะวันออกยูโกสลาเวียระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จระบอบนาซีระบอบเผด็จการรักร่วมเพศรัฐบรันเดินบวร์ครัฐบัญญัติมอบอำนาจรัฐบาลเฟล็นส์บวร์ครัฐพรรคการเมืองเดียวรัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและมอเรเวียรางวัลโนเบลสาขาเคมีรูดอล์ฟ เฮสส์ลักเซมเบิร์กลัทธิฟาสซิสต์ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ลัทธิอำนาจนิยมลัทธิคลาสสิกใหม่ลัทธิประทับใจลัทธิเหนือจริงลุฟท์วัฟเฟอลุทซ์ กรัฟ ชเวริน ฟอน โครซิจค์วรอตสวัฟวิลเฮล์ม ฟริคศาลประชาชน (เยอรมนี)สมัยระหว่างสงครามสวัสติกะสหภาพแรงงานสหภาพโซเวียตสหรัฐสหราชอาณาจักรสันนิบาตชาติสันนิบาตสาวเยอรมันสันนิบาตสตรีชาติสังคมนิยมสันนิบาติชาติสังคมนิยมแห่งไรช์เพื่อกายบริหารสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2สาธารณรัฐไวมาร์สงครามกลางเมืองสเปนสงครามลวงสงครามต่อเนื่องสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามเย็นสนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนีสนธิสัญญาแวร์ซายอลังการศิลป์ออทโท ฮานอัลแบร์ท ชเปียร์อัลเฟรด โรเซินแบร์กอัคซีโยน เท4อันชลุสส์อาร์ทูร์ ไซสส์-อินคัวร์ทอิสเตรียอุนแทร์เมนเชนอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ฮยัลมาร์ ชัคท์ฮอสท์-เวสเซิล-ลีดฮอโลคอสต์ฮัมบวร์คฮันส์ ฟรังค์ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้นจรวดวี-2จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรวรรดิเยอรมันธรรมศาลาถ่านหินทวีปแอฟริกาทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ทุพภิกขภัยทุนนิยมข้าวไรย์ดัสลีดแดร์ดอยท์เชินคริสตาเดลเฟียนครีกซมารีเนอคลองคีลความตกลงมิวนิกความแข็งแรงผ่านความรื่นเริงคอนชตันทิน ฟอน นอยรัทคาร์ล เดอนิทซ์คืนกระจกแตกคืนมีดยาวคณะรัฐมนตรีฮิตเลอร์คตินิยมสิทธิสตรีคติโฟวิสต์ค่ายกักกันดาเคาค่ายกักกันนาซีตราสารยอมจำนนของเยอรมนีตรีเยสเตตลาดเสรีตำรวจฉนวนโปแลนด์ซูเดเทินลันด์ปฏิบัติการบากราติออนปฏิบัติการบาร์บารอสซาปฏิบัติการสิงโตทะเลปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ดประมุขแห่งรัฐประวัติศาสตร์เยอรมนีประเทศกรีซประเทศฝรั่งเศสประเทศมาดากัสการ์ประเทศยูเครนประเทศลิทัวเนียประเทศสโลวาเกียประเทศออสเตรียประเทศอียิปต์ประเทศเชโกสโลวาเกียประเทศเช็กเกียประเทศเยอรมนีตะวันออกประเทศเยอรมนีตะวันตกปรัสเซียปัญหาชาวยิวปัญหาเยอรมันปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)นายกรัฐมนตรีแม่น้ำไรน์แร่ใยหินแอนสท์ เริมแฮร์มันน์ เกอริงแฮร์แบร์ท บาเคอแผนสี่ปีแผนความหิวแคว้นคาลินินกราดแคว้นปกครองตนเองซิซิลีแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)โฟล์กสวาเกนโพกรมโพราจมอสโยเซฟ เกิบเบลส์โรลันด์ ไฟรซเลอร์โอลิมปิกฤดูร้อน 1936โจเซฟ สตาลินไกลช์ชัลทุงไกเซอร์ไรชส์มาร์คไรชส์ทาค (นาซีเยอรมนี)ไรชส์คอมมิสซาเรียทไรชส์เกาไรช์ไรช์เยอรมันไรน์ลันท์ไรน์ฮาร์ด ฮายดริชไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ไทเกอร์ 2ไซลีเซียเบอร์ลินเบนิโต มุสโสลินีเฟล็นส์บวร์คเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กเกษตรกรรมเกสตาโพเกาเกาไลแตร์เกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซีเลเบนส์บอร์นเลเบนสเราม์เวร์มัคท์เศรษฐกิจแบบผสมเศรษฐศาสตร์สำนักเคนส์เสรีนครดันท์ซิชเหตุการณ์ตลาดหลักทรัพย์วอลล์สตรีทตก ค.ศ. 1929เหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาคเอาโทบานเจเนรัลพลันโอสท์เขตปกครองสามัญเดอะบลิตซ์เงินปันผลเนวิล เชมเบอร์ลินเนือร์นแบร์คSS23 พฤษภาคม30 เมษายน6 พฤษภาคม8 พฤษภาคม