โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ที่ประชุมของเอลรอนด์และเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ที่ประชุมของเอลรอนด์และเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน

ที่ประชุมของเอลรอนด์ vs. เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน

ในนิยายชุด เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ที่ประชุมของเอลรอนด์ (Council of Elrond) เป็นชื่อการประชุมลับคราวหนึ่งที่เรียกประชุมโดย เอลรอนด์ จัดการประชุมขึ้นที่อาณาจักรเอลฟ์ ริเวนเดลล์ เพื่อหารือในหมู่อิสระชนแห่งมิดเดิลเอิร์ธ ว่าจะทำประการใดกับ แหวนเอก ต่อไป เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในหนังสือ เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ภาคแรก เล่มสอง บทที่สอง ซึ่งเป็นเหตุการณ์ก่อตั้ง คณะพันธมิตรแห่งแหวน (The Fellowship of the Ring) อันเป็นชื่อของหนังสือภาคแรกในฉบับภาษาอังกฤษ. . อาร.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ที่ประชุมของเอลรอนด์และเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน

ที่ประชุมของเอลรอนด์และเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บิลโบ แบ๊กกิ้นส์ภูเขาในมิดเดิลเอิร์ธมิดเดิลเอิร์ธลอร์ดออฟเดอะริงส์ ตอน มหันตภัยแห่งแหวนคณะพันธมิตรแห่งแหวนคนแคระ (มิดเดิลเอิร์ธ)แกนดัล์ฟเมิร์ควู้ดเอลฟ์ (มิดเดิลเอิร์ธ)เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์

บิลโบ แบ๊กกิ้นส์

ลโบ แบ๊กกิ้นส์ (Bilbo Baggins) เป็นตัวละครสำคัญตัวหนึ่งในปกรณัมของเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เขาปรากฏในนิยายเรื่องเดอะฮอบบิท และเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ในฐานะผู้ครองแหวนคนที่ห้.

ที่ประชุมของเอลรอนด์และบิลโบ แบ๊กกิ้นส์ · บิลโบ แบ๊กกิ้นส์และเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาในมิดเดิลเอิร์ธ

ในปกรณัมชุด เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ทั้งทวีปมิดเดิลเอิร์ธ และทวีปอามัน ตลอดจนถึงดินแดนอื่นๆ ทั่วพิภพอาร์ดา มีเทือกเขาใหญ่น้อยมากมาย ต่อไปนี้เป็นรายชื่อภูเขาหรือเทือกเขาที่สำคัญ.

ที่ประชุมของเอลรอนด์และภูเขาในมิดเดิลเอิร์ธ · ภูเขาในมิดเดิลเอิร์ธและเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

มิดเดิลเอิร์ธ

แผนที่มิดเดิลเอิร์ธในช่วงยุคที่หนึ่ง แสดงแผ่นดินเบเลริอันด์ ซึ่งเป็นสถานที่เกิดเหตุการณ์ต่างๆ ที่บันทึกในซิลมาริลลิออน ทางด้านขวามือสุดของแผนที่เป็นที่ตั้งของ 'เทือกเขาสีน้ำเงิน' แผนที่มิดเดิลเอิร์ธในช่วงปลายของยุคที่สาม ซึ่งปรากฏอยู่ในหนังสือ ลอร์ดออฟเดอะริงส์ สังเกตจะเห็น 'เทือกเขาสีน้ำเงิน' อยู่ทางด้านซ้ายมือสุดของแผนที่ มิดเดิ้ลเอิร์ธ (Middle-earth) หรือ มัชฌิมโลก หมายถึงสถานที่ในนิยายของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน อันเป็นฉากหลังของเรื่องราวตำนานทั้งหลายในงานเขียนของโทลคีน ปกรณัมของโทลคีนมีเนื้อหาเกี่ยวกับการเข้าควบคุมและครอบครองโลก (ในตำนานเรียกว่า "อาร์ดา") ซึ่งมีทวีปหลักชื่อว่า "มิดเดิลเอิร์ธ" เป็นที่อยู่อาศัยของพวก 'มรรตัยชน' (คือมนุษย์ที่รู้ตาย) เป็นสถานที่ตรงข้ามกับ "อามัน" หรือ 'แดนอมตะ' อันเป็นถิ่นที่อยู่ของพวกวาลาร์ กับพวกเอลฟ์ คำนี้มีรากมาจากคำภาษาอังกฤษกลางว่า middel-erde ซึ่งพัฒนามาจากคำในภาษาอังกฤษเก่าว่า middangeard แก่นสำคัญของงานเขียนของโทลคีนคือเรื่องของการช่วงชิง ควบคุม และครอบครองอำนาจหรือของวิเศษ ทำให้เกิดสงครามขึ้นบนมิดเดิลเอิร์ธหลายครั้งหลายหน คือสงครามระหว่างเหล่าเทพวาลาร์ เอลฟ์ และพันธมิตรชาวมนุษย์ฝ่ายหนึ่ง กับเทพอสูรเมลคอร์กับบริวาร ได้แก่พวกออร์ค มังกร และมนุษย์ที่เป็นทาสอีกฝ่ายหนึ่ง ในตำนานยุคหลัง เมื่อเมลคอร์สิ้นอำนาจและถูกขับไล่ออกไปจากอาร์ดาแล้ว บทบาทการช่วงชิงนี้ก็ตกไปอยู่กับเซารอน สมุนเอกของเขา เหล่าเทพวาลาร์ได้ยุติบทบาทของตนลงหลังจากที่เมลคอร์สิ้นอำนาจ เพราะการสงครามระหว่างพวกพระองค์ครั้งนั้นได้ทำให้โลกพินาศเสียหายไปมาก อย่างไรก็ดีพวกพระองค์ก็ยังส่ง อิสตาริ หรือเหล่าพ่อมด เข้ามาให้ความช่วยเหลือในการต่อต้านอำนาจของเซารอน อิสตาริที่มีบทบาทมากคือ แกนดัล์ฟพ่อมดเทา และซารูมานพ่อมดขาว แกนดัล์ฟได้ทำงานบรรลุวัตถุประสงค์เป็นอย่างดี โดยได้ช่วยเหลือชาวมิดเดิลเอิร์ธอย่างถึงที่สุดเพื่อโค่นอำนาจเซารอนลงให้ได้ แต่ซารูมานกลับพ่ายแพ้ต่อความคิดฉ้อฉลแล้วตั้งตนขึ้นเป็นใหญ่ ช่วงชิงอำนาจบนมิดเดิลเอิร์ธแข่งกับเซารอนเสียเอง สำหรับพลเมืองชาวมิดเดิลเอิร์ธพวกอื่นๆ ได้แก่ คนแคระ เอนท์ และฮอบบิท อันเป็นเผ่าพันธุ์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุด ในการสร้างสรรค์งานของโทลคีน เขาได้จัดทำแผนที่ของมิดเดิลเอิร์ธขึ้นเป็นจำนวนมาก แสดงถึงดินแดนและสถานที่ต่างๆ ที่ตำนานของเขาเอ่ยถึง แผนที่บางส่วนได้รับการตีพิมพ์ในช่วงชีวิตของเขา แต่ก็ยังมีแผนที่อีกจำนวนมากที่ไม่ได้ตีพิมพ์เลยจนกระทั่งเขาเสียชีวิตไปแล้ว แผนที่ส่วนใหญ่จะปรากฏอยู่ในเรื่อง เดอะฮอบบิท เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ และ ซิลมาริลลิออน เหตุการณ์ส่วนใหญ่ในยุคที่หนึ่งเกิดขึ้นบนดินแดนที่เรียกชื่อว่า เบเลริอันด์ ดินแดนนี้ต่อมาได้จมลงสู่ทะเลหลังสงครามครั้งใหญ่ระหว่างเทพวาลาร์กับเมลคอร์ คงเหลือแต่เทือกเขาสีน้ำเงินที่ปรากฏอยู่ทางขวาสุดของแผนที่ เป็นจุดเชื่อมต่อเดียวกันกับเทือกเขาสีน้ำเงินที่อยู่ทางด้านซ้ายสุดของแผนที่ในเรื่องเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ดินแดนทางด้านตะวันออกของเทือกเขาสีน้ำเงินเป็นที่เกิดเหตุการณ์ต่างๆ ในยุคที่สองและสาม โทลคีนบอกว่ามิดเดิ้ลเอิร์ธนั้นคือโลกของเรา เพียงแต่เป็นช่วงเวลาในอดีต โดยประมาณว่าปลายยุคที่สามคือช่วงระยะประมาณ 6,000 ปีก่อนยุคของโทลคีน เขายังบรรยายเขตแดนที่ฮอบบิทอาศัยว่าอยู่ที่ "ตะวันตกเฉียงเหนือของโลกเก่า ทางตะวันออกของทะเลใหญ่",เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์, บทนำ, หน้า 2 ซึ่งอ้างอิงถึงอังกฤษและเขตตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปอย่างชัดเจน ประวัติศาสตร์มิดเดิลเอิร์ธของโทลคีน ถูกแบ่งออกเป็นหลายยุค เรื่องราวที่ปรากฏใน เดอะฮอบบิท และเรื่องราวใน ลอร์ดออฟเดอะริงส์ เกิดขึ้นในราวปลายยุคที่สาม และนำไปสู่ช่วงเริ่มต้นของยุคที่สี่ ในขณะที่เรื่องราวใน ซิลมาริลลิออน ซึ่งเป็นงานเขียนของโทลคีนเกี่ยวกับมิดเดิลเอิร์ธที่เก่าแก่ที่สุด เป็นเรื่องที่เกิดตั้งแต่ยุคสร้างโลกและยุคที่หนึ่งเป็นส่วนใหญ.

ที่ประชุมของเอลรอนด์และมิดเดิลเอิร์ธ · มิดเดิลเอิร์ธและเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

ลอร์ดออฟเดอะริงส์ ตอน มหันตภัยแห่งแหวน

ลอร์ด ออฟ เดอะ ริงส์ ตอนมหันตภัยแห่งแหวน หรือ อภินิหารแหวนครองพิภพ (The Lord of the Rings: The Fellowship of the Ring) เป็นนิยายภาคแรกของนิยายไตรภาคชุด เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ซึ่งประพันธ์โดย เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน โดยภาคที่สองคือตอน หอคอยคู่พิฆาต และภาคที่สามคือตอน กษัตริย์คืนบัลลังก.

ที่ประชุมของเอลรอนด์และลอร์ดออฟเดอะริงส์ ตอน มหันตภัยแห่งแหวน · ลอร์ดออฟเดอะริงส์ ตอน มหันตภัยแห่งแหวนและเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

คณะพันธมิตรแห่งแหวน

ณะพันธมิตรแห่งแหวน คณะพันธมิตรแห่งแหวน (The Fellowship of the Ring) เป็นชื่อของกลุ่มบุคคลกลุ่มหนึ่งในเรื่อง เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ งานประพันธ์ของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ปรากฏในเนื้อเรื่องครั้งแรกในภาคที่หนึ่ง คือตอน มหันตภัยแห่งแหวน คณะพันธมิตรแห่งแหวนประกอบด้วยสมาชิก 9 คน ซึ่งเป็นตัวแทนของเผ่าพันธุ์ต่างๆ อันเป็นอิสระชนแห่งมิดเดิลเอิร์ธ มีภารกิจเพื่อป้องกันคุ้มครองผู้ถือแหวน โฟรโด แบ๊กกิ้นส์ ในการเดินทางเพื่อนำแหวนเอก ไปทำลายที่ใจกลางอาณาจักรมอร์ดอร์ การเดินทางของพวกเขาเริ่มต้นในวันที่ 25 ธันวาคม ในปีที่ 3018 ของยุคที่สาม หลังจากการก่อตั้งคณะพันธมิตรแห่งแหวนในที่ประชุมของเอลรอน.

คณะพันธมิตรแห่งแหวนและที่ประชุมของเอลรอนด์ · คณะพันธมิตรแห่งแหวนและเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

คนแคระ (มิดเดิลเอิร์ธ)

นแคระ ในจินตนิยายของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีรูปร่างเล็กเตี้ย แต่ล่ำสันแข็งแรง ทรหดอดทน มีหนวดเครายาวเฟิ้ม เป็นชนเผ่าที่ชำนาญในการช่างมากที่สุด พวกเขาเป็นมิตรอย่างมากกับพวกฮอบบิท พวกคนแคระเรียกตัวเองว่า คาซัด อันเป็นชื่อที่เทพอาวเลตั้งให้กับพวกเขา แต่พวกเอลฟ์เรียกพวกเขาว่า เนากริม ซึ่งมีความหมายว่า ชนผู้ไม่เติบโตอีกต่อไป คนแคระมีบทบาทอยู่ในวรรณกรรมของโทลคีนหลายเรื่อง ได้แก่ เดอะฮอบบิท เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ซิลมาริลลิออน ตำนานบุตรแห่งฮูริน รวมถึงงานเขียนอื่น ๆ ของคริสโตเฟอร์ โทลคีนด้วย คือ Unfinished Tales และ ประวัติศาสตร์มิดเดิลเอิร.

คนแคระ (มิดเดิลเอิร์ธ)และที่ประชุมของเอลรอนด์ · คนแคระ (มิดเดิลเอิร์ธ)และเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

แกนดัล์ฟ

แกนดัล์ฟ (Gandalf) เป็นตัวละครในนิยายเรื่อง เดอะ ฮอบบิท และ เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ซึ่งประพันธ์โดย เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ชื่อ แกนดัล์ฟ เป็นคำในภาษาเวสทรอนที่มนุษย์แห่งมิดเดิ้ลเอิร์ธใช้เรียกเทพไมอาองค์นี้ ในขณะที่พวกเอลฟ์เรียกชื่อว่า มิธรันเดียร์ (Mithrandir) ชื่อเดิมของแกนดัล์ฟแท้จริงคือ โอโลริน (Olórin) เป็นหนึ่งในห้าไมอาร์ที่ปวงเทพส่งมาช่วยเหลือมิดเดิ้ลเอิร์ธในช่วงยุคที่สาม โดยเทพไมอาร์ทั้งห้าได้ใช้ร่างจำแลงมาในรูปชายชรา และเรียกตัวเองว่า อิสทาริ หรือ พ่อมด แกนดัล์ฟได้รับฉายาว่า พ่อมดเทา และได้เป็นพ่อมดขาวในตอนท้ายของเรื่อง แกนดัล์ฟบุคลิกลักษณะเป็นชายแก่ผมยาว หนวดยาวแต่แข็งแรง.

ที่ประชุมของเอลรอนด์และแกนดัล์ฟ · เจ. อาร์. อาร์. โทลคีนและแกนดัล์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

เมิร์ควู้ด

มิร์ควู้ด (Mirkwood) เป็นชื่อดินแดนแห่งหนึ่งของพวกเอลฟ์ ในจินตนิยายเรื่อง เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เมิร์ควู้ดเป็นป่าขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำอันดูอิน แต่เดิมมีชื่อเรียกว่า ป่าใหญ่กรีนวู้ด (Greenwood The Great) กินอาณาเขตกว้างไกลในดินแดนโรห์วานิออน ในยุคที่สาม เอลฟ์กลุ่มที่มาอาศัยอยู่ในเมิร์ควู้ดนี้ ส่วนใหญ่เป็นชาวซิลวัน และมีชาวซินดาร์เป็นบางส่วน ภายใต้การปกครองของกษัตริย์ธรันดูอิล สภาพทั่วไปของป่า มีต้นไม้โบราณเก่าแก่และสูงใหญ่เป็นจำนวนมาก กิ่งก้านสาขาของแต่ละต้นแผ่ปกคลุมไปทั่ว จนแสงอาทิตย์สามารถผ่านเข้ามาได้เพียงน้อยนิด ในช่วงยุคที่สาม เซารอนกลับมาอย่างลับๆ และหลบซ่อนอยู่ในป่าเมิร์ควู้ด ได้สร้างหอคอยที่เรียกว่า โดลกุลดัวร์ (Dol Guldur) นับจากนั้นความมืดก็เข้าปกคลุมเมิร์ควู้ดแม้แต่ในเวลากลางวัน เหล่าปีศาจร้ายได้ใช้สถานที่แห่งนี้เป็นที่อาศัยเพื่อซ่อนตัวซึ่งรวมไปถึง แมงมุมยักษ์ (Great Spiders) ซึ่งเป็นลูกหลานของ ชีล็อบ ในหนังสือเรื่อง เดอะฮอบบิท บิลโบ แบ๊กกิ้นส์ เคยเดินทางผ่านป่าแห่งนี้ และได้เข้าเฝ้า "กษัตริย์พราย" ซึ่งก็คือ ธรันดูอิลนั่นเอง จากเหตุการณ์ที่บิลโบได้เข้าเฝ้าคราวนี้ทำให้เราทราบว่า ธรันดูอิลมีผมสีทอง นอกจากนี้ในเมิร์ควู้ด เมื่อครั้งที่กอลลัมเดินทางผ่านป่าเพื่อตามหาแหวน กับบิลโบ แต่ถูก อารากอร์นพบเข้าและจับตัวได้ จึงนำเขามาขังเขาไว้ที่นี่ภายใต้การดูแลของพวกเอลฟ์แห่งเมิร์ควู้ด แต่เหล่าสมุนเซารอนสืบทราบและตามมาชิงตัว ระหว่างการต่อสู้ของพวกออร์คและพวกเอลฟ์ กอลลัมหนีไปได้ เลโกลัสจึงไปส่งข่าวการหนีไปของกอลลัม ในที่ประชุมของ เอลรอนด์ และเลโกลัสเจ้าชายแห่งป่าเมิร์ควู้ด ก็ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิก คณะพันธมิตรแห่งแหวน ต่อมาภายหลัง เอลฟ์จากลอธลอริเอน ได้เข้ามาโจมตีและทำลาย ปราการแห่งโดลกุลดัวร์ จากนั้นเมิร์ควู้ดจึงได้กลับคืนสู่สภาพเดิม ปราศจากเงามืดและความชั่วร้.

ที่ประชุมของเอลรอนด์และเมิร์ควู้ด · เจ. อาร์. อาร์. โทลคีนและเมิร์ควู้ด · ดูเพิ่มเติม »

เอลฟ์ (มิดเดิลเอิร์ธ)

อลฟ์ (elf) ตามความหมายในจินตนิยายชุดมิดเดิลเอิร์ธ ของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เป็นสิ่งมีชีวิตที่ถูกสร้างขึ้นโดยมหาเทพอิลูวาทาร์ มีชีวิตยืนยาวเท่ากับอายุของโลก จึงเสมือนหนึ่งว่าเป็นอมตะ คำว่า 'เอลฟ์' (Elf) เป็นคำที่โทลคีนเลือกมาจากตำนานโบราณเพื่อใช้แทนคำศัพท์แท้จริงอันเป็นชื่อของชนเผ่านี้ คือ เอลดาร์ (Eldar) ซึ่งเป็นคำในภาษาเควนยา หมายถึง 'ประชากรแห่งแสงดาว'.

ที่ประชุมของเอลรอนด์และเอลฟ์ (มิดเดิลเอิร์ธ) · เจ. อาร์. อาร์. โทลคีนและเอลฟ์ (มิดเดิลเอิร์ธ) · ดูเพิ่มเติม »

เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์

อะลอร์ดออฟเดอะริงส์ (The Lord of the Rings) เป็นนิยายแฟนตาซีขนาดยาว ประพันธ์โดยศาสตราจารย์ชาวอังกฤษ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เป็นนิยายที่ต่อเนื่องกับนิยายชุดก่อนหน้านี้ของโทลคีน คือ เรื่อง There and Back Again หรือที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เดอะฮอบบิท แต่ได้ขยายโครงเรื่องซับซ้อนไปกว่า เดอะฮอบบิท มาก โทลคีนแต่งเรื่องนี้ขึ้นในช่วงปี..

ที่ประชุมของเอลรอนด์และเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ · เจ. อาร์. อาร์. โทลคีนและเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ที่ประชุมของเอลรอนด์และเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน

ที่ประชุมของเอลรอนด์ มี 35 ความสัมพันธ์ขณะที่ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน มี 175 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 4.76% = 10 / (35 + 175)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ที่ประชุมของเอลรอนด์และเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »