โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทางรถไฟสายชุมทางทุ่งสง–กันตังและรายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ทางรถไฟสายชุมทางทุ่งสง–กันตังและรายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้

ทางรถไฟสายชุมทางทุ่งสง–กันตัง vs. รายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้

| ทางรถไฟสายชุมทางทุ่งสง–กันตัง หรือ ทางแยกกันตัง เป็นเส้นทางรถไฟสายหนึ่งที่แยกมาจากทางรถไฟสายใต้ (ธนบุรี–สุไหงโก-ลก) ที่สถานีรถไฟชุมทางทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีปลายทางที่สถานีรถไฟกันตัง จังหวัดตรัง ปัจจุบันถือเป็นเส้นทางรถไฟเพียงสายเดียวของภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามัน. หมวดหมู่:สถานีรถไฟ สายใต้.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทางรถไฟสายชุมทางทุ่งสง–กันตังและรายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้

ทางรถไฟสายชุมทางทุ่งสง–กันตังและรายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้ มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): รายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้สถานีรถไฟชุมทางทุ่งสงจังหวัดตรังจังหวัดนครศรีธรรมราช

รายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้

หมวดหมู่:สถานีรถไฟ สายใต้.

ทางรถไฟสายชุมทางทุ่งสง–กันตังและรายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้ · รายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้และรายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางทุ่งสง

นีรถไฟชุมทางทุ่งสง สถานีรถไฟชุมทางทุ่งสง (Thung Song Junction) เป็นสถานีรถไฟชั้น1 ตั้งอยู่ที่อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมร.

ทางรถไฟสายชุมทางทุ่งสง–กันตังและสถานีรถไฟชุมทางทุ่งสง · รายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้และสถานีรถไฟชุมทางทุ่งสง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตรัง

ตรัง เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย ตรังหรือเมืองทับเที่ยงเป็นจังหวัดท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของภาคใต้.

จังหวัดตรังและทางรถไฟสายชุมทางทุ่งสง–กันตัง · จังหวัดตรังและรายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.

จังหวัดนครศรีธรรมราชและทางรถไฟสายชุมทางทุ่งสง–กันตัง · จังหวัดนครศรีธรรมราชและรายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ทางรถไฟสายชุมทางทุ่งสง–กันตังและรายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้

ทางรถไฟสายชุมทางทุ่งสง–กันตัง มี 21 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้ มี 27 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 8.33% = 4 / (21 + 27)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ทางรถไฟสายชุมทางทุ่งสง–กันตังและรายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »