โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ดีพวันและเสียงเรียกของคธูลู

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ดีพวันและเสียงเรียกของคธูลู

ดีพวัน vs. เสียงเรียกของคธูลู

ีพวัน (Deep One) เป็นอมนุษย์ในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลูของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ โดยปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น The Shadow Over Innsmouth (พ.ศ. 2474) มีลักษณะคล้ายกับกบและปลา อาศัยอยู่ในทะเล และสามารถสืบพันธุ์กับมนุษย์ได้ สิ่งที่ปรากฏในเรื่องชุดตำนานคธูลูมากมายที่เกี่ยวโยงกับดีพวัน เช่น เมือง Innsmouth นครใต้สมุทร Y'ha-nthlei กลุ่มภาคีแห่งดากอน และอสุรกายซึ่งเรียกว่า เจ้าพ่อดากอนกับเจ้าแม่ไฮดรา หลังจากที่ปรากฏตัวในงานของเลิฟคราฟท์แล้ว ดีพวันยังปรากฏตัวในงานประพันธ์ของนักเขียนคนอื่นๆ โดยเฉพาะออกัสต์ เดอเล. "เสียงเรียกของคธูลู" (The Call of Cthulhu) เป็นเรื่องสั้นที่ประพันธ์โดยเอช. พี. เลิฟคราฟท์ในปีพ.ศ. 2469 และตีพิมพ์ครั้งแรกในวารสาร Weird Tales ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2471.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ดีพวันและเสียงเรียกของคธูลู

ดีพวันและเสียงเรียกของคธูลู มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): คธูลูตำนานคธูลูเกรทโอลด์วันเรื่องสั้นเอช. พี. เลิฟคราฟท์

คธูลู

ูลูในนครรุลูเยห์ คธูลู (Cthulhu), คธุลฮู, คุลลูหรือธูลู (ชื่อจริงของคธูลูนั้นเป็นภาษาที่มนุษย์ไม่สามารถออกเสียงได้ถูกต้อง) เป็นหนึ่งในสิ่งที่เรียกว่า เกรทโอลด์วัน ในงานประพันธ์ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ คธูลูปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น "เสียงเรียกของคธูลู" (The Call of Cthulhu) ซึ่งตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2471 และมีบทบาทเล็กๆในงานเขียนเรื่องอื่นๆของเลิฟคราฟท์ ออกัสต์ เดอเลธใช้ศัพท์คำว่า ตำนานคธูลู (Cthulhu Mythos) เพื่อจำแนกงานเขียนของเลิฟคราฟท์และตัวเขาเองที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกัน ซึ่งในเวลาต่อมาได้รวมถึงงานประพันธ์ของคนอื่นๆซึ่งใช้ตัวละครและเนื้อหาแบบเดียวกันทั้งหมด (เรียกได้อีกอย่างว่าเรื่องสยองขวัญแนวเลิฟคราฟท์ (Lovecraftian horror) ชื่อของคธูลูมักใช้เปรียบเทียบในความหมายของสิ่งที่น่าสะพรึงกลัว.

คธูลูและดีพวัน · คธูลูและเสียงเรียกของคธูลู · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานคธูลู

ตำนานคธูลู (Cthulhu Mythos) เป็นตำนานสมมุติ ซึ่งถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นจักรวาลร่วมของงานประพันธ์ซึ่งริเริ่มโดย เอช. พี. เลิฟคราฟท์ นักประพันธ์ ออกัสต์ เดอเลธ เป็นผู้เริ่มใช้ศัพท์นี้โดยตั้งตามคธูลู ตำนานคธูลูไม่ใช่ซีรีส์เดียว แต่รวมถึงงานประพันธ์ทุกรูปแบบที่ใช้รูปแบบ ตัวละคร ฉาก และ เนื้อหาซึ่งมีรูปแบบเดียวกัน ซึ่งงานประพันธ์เหล่านี้ ได้สร้างตำนานซึ่งนักประพันธ์ในแนวเลิฟคราฟท์ใช้ประกอบงานเขียนจนถึงปัจจุบัน และขยายจักรวาลสมมุตินี้ออกไปจนพ้นแนวคิดเดิมของเลิฟคราฟท.

ดีพวันและตำนานคธูลู · ตำนานคธูลูและเสียงเรียกของคธูลู · ดูเพิ่มเติม »

เกรทโอลด์วัน

กรทโอลด์วัน หรือ เฒ่าผู้ยิ่งใหญ่ เป็นศัพท์ซึ่งใช้เรียกสิ่งสมมุติในวรรณกรรมกลุ่มตำนานคธูลู ซึ่งมีที่มาจากบทประพันธ์ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ แม้เกรทโอลด์วันที่มีชื่อเสียงที่สุดจะมาจากผลงานของเลิฟคราฟท์เอง แต่ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นตัวละครจากงานเขียนของนักประพันธ์คนอื่น โดยรวมแล้ว เกรทโอลด์วัน (ซึ่งบางครั้งถูกเรียกว่า โอลด์วัน โดยนักประพันธ์) มีอำนาจที่ด้อยกว่าเอาเตอร์ก็อด แต่ก็ได้รับการบูชาจากลัทธิต่างๆทั้งที่เป็นมนุษย์และอมนุษ.

ดีพวันและเกรทโอลด์วัน · เกรทโอลด์วันและเสียงเรียกของคธูลู · ดูเพิ่มเติม »

เรื่องสั้น

รื่องสั้น คือ บันเทิงเรียงความร้อยแก้วรูปแบบหนึ่ง มีลักษณะคล้ายนวนิยาย แต่สั้นกว่า โดยมีเหตุการณ์ในเรื่องและตัวละครน้อย มักจบแบบพลิกความคาดหมายหรือจบแบบทิ้งให้คิด เป็นต้น การดำเนินเรื่องจะมุ่งเข้าสู่ประเด็นหลักอย่างรวดเร็ว ต้นกำเนิดของเรื่องสั้นมาจากประเพณีการเล่านิทาน ซึ่งมักจะปูโครงเรื่องอย่างคร่าวๆ แล้วเข้าสู่จุดสำคัญของเรื่องอย่างรวดเร็ว ลักษณะเด่นของเรื่องสั้นคือ มักมีเหตุการณ์หลักเพียงเหตุการณ์เดียว โครงเรื่องเป็นคู่ ฉากคู่ จำนวนตัวละครมีมากหรือน้อยก็ได้ และมีระยะเวลาตั้งแต่ต้นจนจบเรื่องไม่นานนัก สามารถให้อารมณ์ได้เช่นเดียวกับนวน.

ดีพวันและเรื่องสั้น · เรื่องสั้นและเสียงเรียกของคธูลู · ดูเพิ่มเติม »

เอช. พี. เลิฟคราฟท์

หมือนของเอช. พี. เลิฟคราฟท์และงานสร้างสรรค์ โฮเวิร์ด ฟิลิปส์ เลิฟคราฟท์ (Howard Phillips Lovecraft - 20 สิงหาคม พ.ศ. 2433 – 15 มีนาคม พ.ศ. 2480) เป็นนักเขียนนิยายชาวอเมริกัน โดยแนวเรื่องของเลิฟคาท์นั้นมักมีลักษณะผสมกันระหว่างนิยายสยองขวัญ นิยายวิทยาศาสตร์และแฟนตาซี ซึ่งอิทธิพลของเลิฟคราฟท์ที่มีต่อวงวรรณกรรมก็คือการริเริ่มเรื่องชุดตำนานคธูลู ในขณะที่มีชีวิตอยู่นั้น งานประพันธ์ของเลิฟคราฟท์ได้รับความนิยมในวงแคบเท่านั้น แต่ต่อมาก็ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย สตีเฟน คิง กล่าวถึงเลิฟคราฟท์ไว้ว่าเป็นผู้เขียนนิยายสยองขวัญแบบคลาสสิกที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในศตวรรษที่ยี.

ดีพวันและเอช. พี. เลิฟคราฟท์ · เสียงเรียกของคธูลูและเอช. พี. เลิฟคราฟท์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ดีพวันและเสียงเรียกของคธูลู

ดีพวัน มี 21 ความสัมพันธ์ขณะที่ เสียงเรียกของคธูลู มี 31 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 9.62% = 5 / (21 + 31)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ดีพวันและเสียงเรียกของคธูลู หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »