โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จินตภาษาและเจมส์ จอยซ์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จินตภาษาและเจมส์ จอยซ์

จินตภาษา vs. เจมส์ จอยซ์

นตภาษา (Idioglossia) หมายถึงภาษาที่ไร้ความหมาย (idiosyncratic language) ที่ประดิษฐ์ขึ้นและใช้สื่อสารโดยกลุ่มคนเพียงสองหรือสามคน โดยทั่วไปแล้วจินตภาษามักจะหมายถึง “ภาษาส่วนตัว” ของเด็กโดยเฉพาะเด็กฝาแฝด บางครั้งก็เรียกว่า ภาษารหัส (cryptophasia) หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า “ภาษาลูกแฝด” (twin talk หรือ twin speech) เด็กที่เติบโตขึ้นในแวดวงที่ใช้ภาษาหลายภาษามักจะมีแนวโน้มที่จะใช้จินตภาษา แต่จินตภาษามักจะหายไปตั้งแต่เมื่ออายุยังน้อย ไปยังภาษาที่จะมาใช้ต่อมา นักประพันธ์ชาวไอริชเจมส์ จอยซ์ทดลองการใช้จินตภาษาในนวนิยายเรื่อง “มโนสำนึกของฟินเนกัน” ผสมกับการใช้คำสมาสที่จอยซ์สร้างขึ้นเอง (จินตสมาส (portmanteau)) โดยมีวัตถุประสงค์ที่สร้างบรรยากาศของจิตสำนึกที่อยู่ในสภาพระหว่างการหลับและการฝันMercanton, James (1967). มส์ จอยซ์ เจมส์ จอยซ์ (James Joyce) (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1882 – 13 มกราคม ค.ศ. 1941) เป็นนักเขียนชาวไอริช เกิดในเมืองดับลิน แต่ไปจากบ้านเกิดตั้งแต่ยังหนุ่ม ซึ่งต้องการหลีกหนีจากปัญหาสังคมและเรื่องศาสนา โดยไปอาศัยอยู่ที่ปารีส งานเขียนที่สำคัญได้แก่ “ยูลิสซีส” (ค.ศ. 1922) และ Finnegans Wake (ค.ศ. 1939) เจมส์ จอยซ์ มีงานเขียนสามชิ้นที่ได้รับการจัดให้อยู่ในกลุ่ม “นวนิยายดีที่สุดร้อยเรื่องโดยโมเดิร์นไลบรารี” (Modern Library 100 Best Novels) ของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่ทำโดย Modern Library.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จินตภาษาและเจมส์ จอยซ์

จินตภาษาและเจมส์ จอยซ์ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มโนสำนึกของฟินเนกัน

มโนสำนึกของฟินเนกัน

มโนสำนึกของฟินเนกัน (Finnegans Wake) เป็นนวนิยายชวนขัน (Comic novel) และงานชิ้นสุดท้ายที่เขียนโดยเจมส์ จอยซ์ ที่เขียนโดยใช้ลักษณะการเขียนแบบทดลอง ที่มีผลให้ได้ชื่อว่าเป็นงานวรรณกรรมนวนิยายชิ้นที่ยากแก่การเข้าใจมากที่สุดชิ้นหนึ่งของภาษาอังกฤษ จอยซ์ใช้เวลาถึง 17 ปีในการเขียนงานชิ้นนี้ในปารีส และในที่สุดก็ได้รับการตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1939 สองปีก่อนที่จอยซ์จะเสียชีวิต หนังสือทั้งเล่มเขียนโดยใช้จินตภาษา (idioglossia/idiosyncratic language) ที่ประกอบด้วยการเล่นคำ และคำสมาสที่จอยซ์สร้างขึ้นเอง (จินตสมาส (portmanteau)) โดยมีวัตถุประสงค์ที่สร้างบรรยากาศของจิตสำนึกที่อยู่ในสภาพระหว่างการหลับและการฝันMercanton, James (1967).

จินตภาษาและมโนสำนึกของฟินเนกัน · มโนสำนึกของฟินเนกันและเจมส์ จอยซ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จินตภาษาและเจมส์ จอยซ์

จินตภาษา มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ เจมส์ จอยซ์ มี 10 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 6.25% = 1 / (6 + 10)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จินตภาษาและเจมส์ จอยซ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »