โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จักรพรรดิไทโช

ดัชนี จักรพรรดิไทโช

มเด็จพระจักรพรรดิโยะชิฮิโตะ หรือพระนามตามชื่อรัชสมัยคือ จักรพรรดิไทโช (31 สิงหาคม พ.ศ. 2422 - 25 ธันวาคม พ.ศ. 2469) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 123 ทรงปกครองจักรวรรดิญี่ปุ่นในฐานะสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น และพระประมุขแห่งเกาหลี เป็นเวลา 14 ปี.

47 ความสัมพันธ์: ชิเงโกะ ฮิงาชิกูนิพ.ศ. 2403พ.ศ. 2422พ.ศ. 2455พ.ศ. 2458พ.ศ. 2469พ.ศ. 2470พระราชวังหลวงเคียวโตะมาซาโกะ เซ็งยาซูโกะ โคโนเอะยุคไทโชสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะสุสานหลวงมุซะชิอะสึโกะ อิเกะดะจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงจักรพรรดินีโคจุงจักรพรรดินีเทเมจักรพรรดิโชวะจักรพรรดิเมจิจักรวรรดิญี่ปุ่นจังหวัดคานางาวะทากาโกะ ชิมาซุคาซูโกะ ทากาสึกาซะตระกูลฟูจิวาระปอดนารูโกะ ยานางิวาระโคไตชิโตเกียวเกาหลีภายใต้การปกครองของญี่ปุ่นเจ้าชายมาซาฮิโตะ เจ้าฮิตาชิเจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุเจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะเจ้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าคะสึระเจ้าชายโทโมฮิโตะแห่งมิกาซะเจ้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าทะกะมะสึเจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะเจ้าหญิงยูริโกะ พระชายาในเจ้าชายทากาฮิโตะเจ้าหญิงคิกูโกะ พระชายาในเจ้าชายโนบูฮิโตะเจ้าหญิงซาชิโกะ เจ้าหญิงฮิซะเจ้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์10 พฤศจิกายน25 ธันวาคม30 กรกฎาคม31 สิงหาคม8 สิงหาคม

ชิเงโกะ ฮิงาชิกูนิ

งะโกะ ฮิงะชิกุนิ (6 ธันวาคม พ.ศ. 2468 – 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2504) มีพระนามเดิมคือ เจ้าหญิงชิเงะโกะ เจ้าเทะรุ และภายหลังเสกสมรสกับ เจ้าชายโมะริฮิโระแห่งฮิงะชิกุนิ ทรงพระนามว่า เจ้าหญิงชิเงะโกะ พระชายาโมะริฮิโระแห่งฮิงะชิกุนิ พระองค์ทรงเป็นพระราชธิดาพระองค์โตใน สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ และสมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุง อีกทั้งยังเป็นพระเชษฐภคินีพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะแห่งญี่ปุ่น.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและชิเงโกะ ฮิงาชิกูนิ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2403

ทธศักราช 2403 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1860.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและพ.ศ. 2403 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2422

ทธศักราช 2422 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1879.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและพ.ศ. 2422 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2455

ทธศักราช 2455 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1912 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและพ.ศ. 2455 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2458

ทธศักราช 2458 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1915 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและพ.ศ. 2458 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2469

ทธศักราช 2469 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1926 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและพ.ศ. 2469 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2470

ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและพ.ศ. 2470 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังหลวงเคียวโตะ

ระที่นั่งเซเรียว (''เซเรียว-เด็ง'') ท้องพระโรงในพระที่นั่งชิชิน พระราชวังหลวงเคียวโตะ (Kyoto Imperial Palace) เป็นพระราชวังหลวงที่ตั้งอยู่ในนครเคียวโตะ เป็นที่ประทับในอดีตขององค์จักรพรรดิ ซึ่งจักรพรรดิทรงย้ายไปพำนักที่พระราชวังหลวงโตเกียวตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและพระราชวังหลวงเคียวโตะ · ดูเพิ่มเติม »

มาซาโกะ เซ็ง

มะซะโกะ เซ็ง หรือพระนามเดิม เจ้าหญิงมะซะโกะแห่งมิกะซะ เป็นอดีตสมาชิกของราชวงศ์ญี่ปุ่น มะซะโกะเป็นพระธิดาในเจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ กับ เจ้าหญิงยุริโกะ พระวรชายามิกะซะ มะซะโกะ ลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับ ทะซะยุกิ เซ็ง มีบุตรชาย 2 คนและธิดา 1 คนคือ อะกิฟุมิ เซ็ง ทะกะฟุมิ เซ็ง และมะกิโกะ เซ็ง.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและมาซาโกะ เซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

ยาซูโกะ โคโนเอะ

ซุโกะ โคะโนะเอะ (ประสูติ: 26 เมษายน พ.ศ. 2487) หรือพระนามเดิม เจ้าหญิงยะซุโกะแห่งมิกะซะ เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในเจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้าชายมิกะซะ กับเจ้าหญิงยุริโกะ พระชายาฯ ภายหลังได้ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์เพื่อเสกสมรสกับทะดะเตะรุ โคะโนะเอ.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและยาซูโกะ โคโนเอะ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคไทโช

ทโช เริ่มเมื่อ ค.ศ. 1912 และสิ้นสุดเมื่อ ค.ศ. 1926 ญี่ปุ่นหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นยุคที่ประชาธิปไตยเริ่มเบ่งบาน ภายใต้กระแสของลัทธิจักรวรรดินิยมหรือชาตินิยม ด้วยความแรงของกระแสหลังได้ผลักดันให้ญี่ปุ่นเข้าสู่สงครามเป็นเวลา 15 ปี พระราชวงศ์สมัยไท.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและยุคไทโช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ

มเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์ปัจจุบันของประเทศญี่ปุ่น และเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 125 ของญี่ปุ่นตั้งแต่โบราณกาล ในปัจจุบันนี้พระองค์เป็นพระประมุขเพียงพระองค์เดียวในโลกที่ทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นจักรพรรดิ ในญี่ปุ่น การเอ่ยถึงพระจักรพรรดิ จะเรียกพระนามของพระองค์โดยตรงไม่ได้ แต่จะเอ่ยถึงพระองค์ว่า เท็นโน เฮกะ หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิ และรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะจะเรียกว่า ยุคเฮเซ หลังจากที่สิ้นยุคของพระองค์แล้ว อาจมีการขนานพระนามพระองค์ว่า จักรพรรดิเฮเซ.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ · ดูเพิ่มเติม »

สุสานหลวงมุซะชิ

ทางเข้าสุสานหลวงมุซะชิ สุสานหลวงมุซะชิ (Musashi Imperial Graveyard) สุสานหลวงของ จักรพรรดิญี่ปุ่น ที่ตั้งอยู่ในเมือง ฮะชิโอจิ ที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของ กรุงโตเกียว โดยชื่อของสุสานหลวงมาจากชื่อของแคว้นศักดินาโบราณในญี่ปุ่นคือ แคว้นมุซะชิ ซึ่งสุสานหลวงแห่งนี้เป็นที่ฝังพระบรมศพของ จักรพรรดิไทโช และ จักรพรรดิโชวะ รวมถึง จักรพรรดินีเทเม และ จักรพรรดินีโคจุง จักรพรรดินีในจักรพรรดิไทโชและจักรพรรดิโชว.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและสุสานหลวงมุซะชิ · ดูเพิ่มเติม »

อะสึโกะ อิเกะดะ

อะสึโกะ อิเกะดะ (ประสูติ 7 มีนาคม พ.ศ. 2474) หรือ อดีตเจ้าหญิงโยริ เป็นภริยาของทะกมะซะ อิเกะดะ และเป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สี่ในสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ กับสมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุง ทั้งยังเป็นหนึ่งในพระภคินีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะที่ยังมีพระชนม์ชี.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและอะสึโกะ อิเกะดะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิญี่ปุ่น

ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและจักรพรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวง

ักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวง (28 พฤษภาคม พ.ศ. 2392 — 19 เมษายน พ.ศ. 2457) พระนามเดิม มะซะโกะ อิชิโจ และฮะรุโกะ อิชิโจ ตามลำดับ เป็นพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิเม.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและจักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีโคจุง

ักรพรรดินีโคจุง (6 มีนาคม พ.ศ. 2446 – 16 มิถุนายน พ.ศ. 2543) พระนามเดิม เจ้าหญิงนะงะโกะแห่งคุนิ เป็นพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิโชวะ และเป็นพระราชมารดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ ถือเป็นจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นDowner, Lesely.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและจักรพรรดินีโคจุง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเทเม

ักรพรรดินีเทเม (25 มิถุนายน พ.ศ. 2427 – 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2494) พระนามเดิม ซะดะโกะ คุโจ เป็นจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิไทโช และเป็นพระราชมารดาในจักรพรรดิโชวะ โดยจักรพรรดินีเทเมเป็นจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นองค์สุดท้ายที่มาจากตระกูลฟุจิวะระ (สายตระกูลคุโจ).

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและจักรพรรดินีเทเม · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโชวะ

มเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ หรือพระนามตามชื่อรัชสมัย คือ จักรพรรดิโชวะ (29 เมษายน 2444 - 7 มกราคม 2532) (裕仁) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 124 ของญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 2469 - พ.ศ. 2532 (63 ปี) ในตอนต้นรัชสมัยของพระองค์ จักรวรรดิญี่ปุ่นในขณะนั้น ได้กลายเป็นชาติมหาอำนาจของโลกแล้ว ด้วยขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก จักรพรรดิฮิโระฮิโตะทรงดำรงตำแหน่งประมุขแห่งรัฐของจักรวรรดิญี่ปุ่นภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น ในรัชสมัยของพระองค์ ญี่ปุ่นได้เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งทำให้ในห้วงเวลานั้น จักรวรรดิญี่ปุ่นแผ่อำนาจและดินแดนไปทั่วเอเชียบูรพาโดยที่ไม่มีชาติใด ๆ จะสามารถต้านทาน ภายหลังสงครามสิ้นสุดลงบนความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่น พระองค์ไม่ได้ถูกดำเนินคดีในข้อหาอาชญากรสงครามดังเช่นผู้นำคนอื่น ๆ ของชาติฝ่ายอักษะ และภายหลังสงคราม พระองค์ทรงเป็นสัญลักษณ์ของรัฐใหม่ในการกอบกู้ประเทศชาติที่ได้รับความเสียหายจากสงคราม ในตอนปลายรัชกาล ประเทศญี่ปุ่นก็สามารถกลับมายืนหยัดในฐานะชาติมหาอำนาจทางเศรษฐกิจอันดับ 2 ของโลก.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและจักรพรรดิโชวะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเมจิ

มเด็จพระจักรพรรดิมุสึฮิโตะ (3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1853 — 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1912) พระนามตามรัชสมัยคือ จักรพรรดิเมจิ ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 122 ของประเทศญี่ปุ่น ครองราชย์ตั้งแต่ ค.ศ. 1867 ด้วยพระชนมายุเพียง 14 พรรษาจนเสด็จสรรคต ญี่ปุ่นได้ก้าวขึ้นมาเป็นชาติมหาอำนาจในรัชสมัยของพระอง.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและจักรพรรดิเมจิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิญี่ปุ่น

ักรวรรดิญี่ปุ่น หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ มหาจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นจักรวรรดิที่อยู่ทางตะวันออกที่สุดและเป็นหนึ่งในมหาอำนาจของโลก ในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 สถาปนาขึ้นภายหลังจากการปฏิรูปเมจิ เมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและจักรวรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคานางาวะ

ังหวัดคานางาวะ ตั้งอยู่บริเวณภาคคันโต บนเกาะฮนชูของญี่ปุ่น มีโยโกฮามะเป็นเมืองหลวงและเป็นเมืองท่าที่สำคัญ เมืองโยโกฮามะนั้นเป็นสถานที่จัดศึกฟุตบอลโลกในปี 2002 รอบชิงชนะเลิศ และเป็นเมืองที่มีย่านที่คนจีนอาศัยอยู่มากที่สุดแห่งหนึ่งในญี่ปุ่น มีวัดวาอารามตั้งอยู่หลายวัดในเมืองคามากูระ ปัจจุบันเมืองโยโกฮามะเป็นส่วนหนึ่งของกรุงโตเกียว และเป็นเมืองศูนย์กลางที่สำคัญเนื่องจากมีท่าเรือพาณิชย์นานาชาติใหญ่ที่สุดในภูมิภาคตะวันออกไกล เมืองโยโกฮามะเป็นเมืองใหญ่อันดับสองรองจากโตเกียว โดยมีประชากรกว่า 3 ล้านคน.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและจังหวัดคานางาวะ · ดูเพิ่มเติม »

ทากาโกะ ชิมาซุ

ทะกะโกะ ชิมะซุ (ประสูติ: 2 มีนาคม พ.ศ. 2482) หรือพระนามเดิม เจ้าหญิงทะกะโกะ เจ้าซุงะ เป็นพระราชธิดาพระองค์เล็กในสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ กับสมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุง และเป็นพระขนิษฐาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ พระองค์ได้ลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อเสกสมรสกับฮิซะนะงะ ชิมะซ.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและทากาโกะ ชิมาซุ · ดูเพิ่มเติม »

คาซูโกะ ทากาสึกาซะ

ซุโกะ ทะกะสึกะซะ (30 กันยายน พ.ศ. 2472 - 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2532) เป็นภริยาของโทะชิมิชิ ทะคะสึคะซะ และเป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สามในสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ และสมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุน โดยคาซุโกะถือเป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและคาซูโกะ ทากาสึกาซะ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลฟูจิวาระ

ฟูจิวาระ คามาตาริ ต้นตระกูลฟูจิวาระ ฟูจิวาระ เป็นกลุ่มขุนนางที่เคยมีอำนาจและอิทธิพลอย่างยิ่งใหญ่ต่อราชสำนักญี่ปุ่น ในยุคเฮอัง โดย ฟูจิวาระ โนะ โมโตสึเนะ ได้รับการแต่งตั้งเป็นคัมปากุ ซึ่งเป็นตำแหน่งขุนนางที่ทรงอิทธิพลที่สุด และคนของฟุจิวาระก็เข้ายึดครองอำนาจในราชสำนัก ทำให้กลายเป็นตระกูลทหารที่มีอำนาจสูงสุด ยาวนานกว่า 500 ปี โดยฟูจิวาระ ได้ผูกขาดตำแหน่งคัมปากุ เซ็สโช และไดโจไดจิงตลอด 500 ปี และยังให้บุตรสาวของตระกูลอภิเษกสมรสกับจักรพรรดิ เพื่อให้เชื้อสายของตนเองเป็นจักรพรรดิอีกด้วย อย่างไรก็ตามจักรพรรดิเชื้อสายฟูจิวาระได้หมดไปในภายหลัง พร้อม ๆ กับการล่มสลายของตระกูลฟูจิวาระที่ครองอำนาจกว่า 500 ปี ตระกูลฟูจิวาระล่มสลายลงไปปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและตระกูลฟูจิวาระ · ดูเพิ่มเติม »

ปอด

ปอด คำว่าปอดในภาษาอังกฤษ ใช้คำว่า lung ในทางการแพทย์สิ่งที่เกี่ยวกับปอดใช้คำว่า Pulmonary นำหน้าสิ่งนั้น ๆ ในมนุษย์นั้นมีปอดอยู่ในทรวงอก มีสองข้าง คือขวาและซ้าย ปอดมีลักษณะนิ่ม ร่างกายจึงมีกระดูกซี่โครงคอยปกป้องปอดไว้อีกชั้นหนึ่ง ปอดแต่ละข้างจะมีถุงบาง ๆ 2 ชั้นหุ้มอยู่ เรียกว่า เยื่อหุ้มปอด เยื่อหุ้มปอดที่เป็นถุงบาง ๆ 2 ชั้นนี้เรียกว่า เยื่อหุ้มปอดชั้นในและ เยื่อหุ้มปอดชั้นนอก เยื่อหุ้มปอดชั้นในจะแนบติดไปกับผิวของปอด ส่วนเยื่อหุ้มปอดชั้นนอกจะแนบติดไปกับช่องทรวงอก ระหว่างเยื่อหุ้มปอด 2 ชั้นบางๆนี้จะมีช่องว่าง เรียกว่า ช่องเยื่อหุ้มปอด ในช่องเยื่อหุ้มปอดจะมีของเหลวคอยหล่อลื่นอยู่ เรียกว่า ของเหลวเยื่อหุ้มปอด ของเหลวนี้จะช่วยให้เยื่อหุ้มปอดแต่ละชั้นสไลด์ไปมาระหว่างกันได้โดยไม่เสียดสีกัน และของเหลวเยื่อหุ้มปอดก็ยังช่วยยึดเยื่อหุ้มปอดทั้งสองชั้นไว้ไม่ให้แยกจากกันโดยง่าย ปอดข้างซ้ายนั้นมีขนาดเล็กกว่าปอดข้างขวา เพราะปอดข้างซ้ายต้องเว้นที่เอาไว้ให้หัวใจอยู่ในทรวงอกด้วยกันด้ว.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและปอด · ดูเพิ่มเติม »

นารูโกะ ยานางิวาระ

นารูโกะ ยานางิวาระ (เกิด: 26 มิถุนายน พ.ศ. 2402 — ตาย: 16 ตุลาคม พ.ศ. 2486) หรืออาจรู้จักในนาม ซาราวาบิ โนะ สึโบเนะ เป็นนางสนองพระโอษฐ์ และพระสนมในจักรพรรดิเมจิ ทั้งเป็นพระราชชนนีในจักรพรรดิไทโช โดยเธอเป็นสนมคนสุดท้ายที่ให้ประสูติกาลองค์จักรพรรดิของญี่ปุ่น.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและนารูโกะ ยานางิวาระ · ดูเพิ่มเติม »

โคไตชิ

ตชิ พระอิสริยยศสำหรับองค์รัชทายาทหรือมกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่นซึ่งมีมาแต่โบราณกาลโดยในบางครั้งองค์จักรพรรดิก็สถาปนาพระราชโอรสขึ้นเป็นรัชทายาทบางครั้งก็สถาปนาพระราชอนุชาเป็นรัชทายาท ในยุคสมัยใหม่ จักรพรรดิเมจิ ได้สถาปนาเจ้าชายโยะชิฮิโตะพระราชโอรสองค์ใหญ่ซึ่งในเวลาต่อมาคือ จักรพรรดิไทโช ขึ้นเป็นรัชทายาทเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและโคไตชิ · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

เกาหลีภายใต้การปกครองของญี่ปุ่น

กาหลีภายใต้การปกครองของมหาจักรวรรดิญี่ปุ่น หรือ เกาหลีของญี่ปุ่น หมายถึงช่วงเวลาที่แผ่นดินเกาหลีที่มีสถานะเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิญี่ปุ่นภายหลังการลงนามในสนธิสัญญาผนวกดินแดนญี่ปุ่น-เกาหลี ในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและเกาหลีภายใต้การปกครองของญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายมาซาฮิโตะ เจ้าฮิตาชิ

้าชายมะซะฮิโตะ เจ้าฮิตะชิ (ประสูติ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478) หรืออดีต เจ้าโยะชิ เป็นสมาชิกของพระราชวงศ์ญี่ปุ่น และเป็นพระอนุชาใน สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ เจ้าชายฮิทาชิ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองใน สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ และ สมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุน เจ้าชายฮิทาชิเป็นทายาทในราชบัลลังก์อันดับที่ 4 และทรงเป็นที่รู้จักในเรื่องการกุศลและการค้นพบสาเหตุโรคมะเร็ง.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและเจ้าชายมาซาฮิโตะ เจ้าฮิตาชิ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ

้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ (秩父宮 雍仁, Chichibu no miya Yasuhito Shinnō?, 25 มิถุนายน พ.ศ. 2444 - 4 มกราคม พ.ศ. 2496) หรือ เจ้าชายยะสุฮิโตะ เป็นพระราชโอรสพระองค์รองในสมเด็จพระจักรพรรดิไทโช และเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ พระองค์ทรงเป็นผู้อุปถัมป์ ด้านกีฬา, การแพทย์ โดยก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ทรงสามารถตรัสภาษาอังกฤษได้ จึงได้ทรงดูแลความสัมพันธ์ระหว่าง พระราชวงศ์อังกฤษ และพระราชวงศ์ญี่ปุ่น พระองค์ได้ทรงเข้าประจำการในกองทัพญี่ปุ่น พระองค์นั้นก็เหมือนกับเจ้าชายพระองค์อื่นๆในราชวงศ์ที่ญี่ปุ่นที่ได้รับการอภัยโทษไม่ต้องเป็นอาชญากรสงคราม หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและเจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ

้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2458 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระโอรสองค์สุดท้องใน สมเด็จพระจักรพรรดิไทโช และ สมเด็จพระจักรพรรดินีเทเม และเป็นพระอนุชาในจักรพรรดิโชวะ และเป็นพระปิตุลาของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ หลังจากการสิ้นพระชนม์ของเจ้าหญิงคิกุโกะแห่งทะกะมะสึ เจ้ามิกะซะถือเป็นเชื้อพระวงศ์ที่พระชนมายุยืนยาวที่สุดในราชวงศ์ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและเจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าคะสึระ

้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าคะสึระ (ประสูติ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 - 8 มิถุนายน พ.ศ. 2557) เป็นสมาชิกในพระราชวงศ์แห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นโอรสองค์ที่สองในเจ้ามิกะซะกับเจ้าหญิงพระวรชายามิกะซะ พระองค์ทรงมีศักดิ์เป็นลูกพี่ลูกน้องของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและเจ้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าคะสึระ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโทโมฮิโตะแห่งมิกาซะ

ป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของราชวงศ์ญี่ปุ่น พระองค์เป็นพระโอรสของเจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้าชายมิกะซะกับเจ้าหญิงยุริโกะ เจ้าหญิงมิกะซะ เจ้าชายโทะโมะฮิโตะ ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงโทะโมะฮิโตะแห่งมิกะซะ มีพระโอรส-พระธิดา 2 พระองค์ คือ เจ้าหญิงอะกิโกะแห่งมิกะซะและเจ้าหญิงโยโกะแห่งมิกะซะ พระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 2012 เนื่องด้วยโรคมะเร็ง.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและเจ้าชายโทโมฮิโตะแห่งมิกาซะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าทะกะมะสึ

้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าทะกะมะสึ (3 มกราคม ค.ศ. 1905 - 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1987) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สามในสมเด็จพระจักรพรรดิไทโช และสมเด็จพระจักรพรรดินีเทเม และเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ พระองค์ทรงเป็นผู้สืบทอดตำแหน่ง ทะคะมัตสึ โนะ มิยะ (เดิมเรียกว่า "อะริสึงะวะ โนะ มิยะ") 1 ใน 4 พระอิสริยยศของสมาชิกพระราชวงศ์ที่มีสิทธิในราชบัลลังก์โดยตรง ในช่วงกลางทศวรรษที่ 1920 พระองค์ได้ทรงเข้ารับราชการอยู่ในกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นตราบจนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยดำรงพระยศสูดสุดในระดับนายนาวาเอก หลังสิ้นสงคราม พระองค์ได้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานกิตติมศักดิ์หรือผู้อุปถัมภ์ขององค์กรหลายแห่ง ซึ่งทำงานเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างประเทศ ศิลปะ การกีฬา และการแพท.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและเจ้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าทะกะมะสึ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะ

้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะ (29 ธันวาคม พ.ศ. 2497 – 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545) เป็นสมาชิกของพระราชวงศ์ญี่ปุ่น และเป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สามใน เจ้าชายทาคาฮิโตะ มิกะซะ เจ้าหญิงยูริโกะ มิกะซะ โดยขณะมีพระชนม์ชีพทรงอยู่ในลำดับที่ 7 ในลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและเจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงยูริโกะ พระชายาในเจ้าชายทากาฮิโตะ

้าหญิงยูริโกะ พระชายาในเจ้าชายทากาฮิโตะ (4 มิถุนายน พ.ศ. 2466) พระนามเดิม ยูริโกะ ทากางิ เป็นพระชายาในเจ้าชายทากาฮิโตะ เจ้าชายมิกาซะ พระราชโอรสพระองค์เล็กในจักรพรรดิไทโช กับจักรพรรดินีเทเม พระองค์เป็นพระปิตุลานีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะและเป็นพระกุลเชษฐ์แห่งราชวงศ์เพียงพระองค์เดียวที่ประสูติในรัชกาลจักรพรรดิไทโชที่ยังทรงพระชนม.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและเจ้าหญิงยูริโกะ พระชายาในเจ้าชายทากาฮิโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงคิกูโกะ พระชายาในเจ้าชายโนบูฮิโตะ

้าหญิงคิกุโกะ พระชายาในเจ้าชายโนะบุฮิโตะ (26 ธันวาคม พ.ศ. 2454 – 18 ธันวาคม พ.ศ. 2547) มีพระนามเดิมว่า คิกุโกะ โทะกุงะวะ เป็นพระชายาในเจ้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าชายทะกะมะสึ เป็นพระสุณิสาในสมเด็จพระจักรพรรดิไทโช และเป็นพระปิตุลานีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและเจ้าหญิงคิกูโกะ พระชายาในเจ้าชายโนบูฮิโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงซาชิโกะ เจ้าหญิงฮิซะ

้าหญิงซะชิโกะ เจ้าหญิงฮิซะ (10 กันยายน พ.ศ. 2470 – 8 มีนาคม พ.ศ. 2471) เป็นพระราชธิดาในจักรพรรดิโชวะ กับจักรพรรดินีโคจุง และเป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและเจ้าหญิงซาชิโกะ เจ้าหญิงฮิซะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ

้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ (9 กันยายน พ.ศ. 2452 – 25 สิงหาคม พ.ศ. 2538) พระนามเดิม เซะสึโกะ มะสึไดระ เป็นพระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชายชิชิบุ พระราชโอรสในจักรพรรดิไทโชและจักรพรรดินีเทเม ทั้งนี้พระองค์เป็นพระประยูรญาติของเจ้านายหลายพระองค์ อาทิ เจ้าหญิงนะงะโกะแห่งคุนิ (ต่อมาคือจักรพรรดินีโคจุง) และเจ้าหญิงมะซะโกะแห่งนะชิโมะโตะ (ต่อมาคือเจ้าหญิงพังจา พระชายาในมกุฎราชกุมารอึยมิน) และยังเป็นหนึ่งในพระบรมวงศานุวงศ์ญี่ปุ่นที่พระราชวงศ์อังกฤษโปรดปราน โดยเฉพาะเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ออกพระโอษฐ์อยู่เสมอว่าเจ้าหญิงเซะสึโกะเป็น "พระอัยยิกาชาวญี่ปุ่น".

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและเจ้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ มีอักษรย่อว่า ม..ก. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๑๑, ตอน ๑๔, ๓๐ มิถุนายน..

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

10 พฤศจิกายน

วันที่ 10 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 314 ของปี (วันที่ 315 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 51 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและ10 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

25 ธันวาคม

วันที่ 25 ธันวาคม เป็นวันที่ 359 ของปี (วันที่ 360 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 6 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและ25 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 211 ของปี (วันที่ 212 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 154 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและ30 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 สิงหาคม

วันที่ 31 สิงหาคม เป็นวันที่ 243 ของปี (วันที่ 244 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 122 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและ31 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 สิงหาคม

วันที่ 8 สิงหาคม เป็นวันที่ 220 ของปี (วันที่ 221 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 145 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิไทโชและ8 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมเด็จพระจักรพรรดิไทโช

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »