โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จอสัมผัสและเน็กซัส 6พี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จอสัมผัสและเน็กซัส 6พี

จอสัมผัส vs. เน็กซัส 6พี

อสัมผัส เป็นคุณลักษณะหนึ่งคล้ายกับแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ โดยผู้ใช้สามารถสัมผัสบนจอของเครื่อง เพื่อที่จะสั่งการและทำงานต่าง ๆ ได้ เดิมทีจอสัมผัสสามารถรับคำสั่งจากผู้ใช้ได้ทีละหนึ่งจุดคำสั่งแต่ต่อมามีการพัฒนาระบบจอสัมผัสให้สามารถรับคำสั่งแบบลากถูได้ซึ่งคล้ายกับการคลิกเมาส์ค้างไว้แล้วลากวาง และยังสามารถรับคำสั่งหรือการกดบนหน้าจอจากผู้ใช้ได้หลายจุดพร้อมกัน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่ามัลติทัช คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะที่มีหน้าจอสัมผัสเครื่องแรกของโลกที่ออกวางจำหน่ายคือ HP-150 วางขายในปี.. น็กซัส 6พี (Nexus 6P; ชื่อรหัส Angler) เป็นสมาร์ตโฟนในตระกูลกูเกิล เน็กซัส ร่วมพัฒนาโดยกูเกิลและหัวเว่ย เปิดตัวเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2015 ที่เมืองซานฟรานซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกาพร้อมกับเน็กซัส 5เอ็กซ์ เน็กซัส 6พีมีการปรับปรุงจากรุ่นก่อนเช่น ตัวเครื่องเป็นอะลูมิเนียม, มีเน็กซัสอิมพรินต์ (Nexus Imprint) ซึ่งเป็นตัวอ่านลายนิ้วมือที่อยู่ด้านหลังเครื่อง, USB Type-C ที่ช่วยรับส่งข้อมูลและชาร์จแบตเตอรีได้เร็วขึ้น มีสีให้เลือกได้แก่ อะลูมิเนียม (สีเงิน), แกรไฟต์ (สีดำ), ฟรอสต์ (สีขาว) และโกลด์ (สีทอง—เฉพาะในญี่ปุ่น, อินเดียและสหรัฐอเมริกา) เน็กซัส 6พีเป็นสมาร์ตโฟนรุ่นแรก ๆ ที่มาพร้อมกับระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ 6.0 มาร์ชแมลโลว์ เน็กซัส 6พีได้รับการตอบรับส่วนใหญ่ไปในทางบวก เว็บไซต์อาร์ส เทคนิกา (Ars Technica) นิยาม "เน็กซัส 5เอ็กซ์และ 6พี" ว่าเป็น "สมาร์ตโฟนเรือธงของแอนดรอยด์อย่างแท้จริง" อนันด์เทค (Anandtech) กล่าวชมเน็กซัส 6พี แต่วิจารณ์การตั้งราคานอกทวีปอเมริกาเหนือและยุโรป อย่างไรก็ตาม ไอฟิกซ์อิต (iFixit) บริษัททำสื่อสอนการซ่อมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ให้คะแนนเน็กซัส 6พี 2 เต็ม 10 เนื่องจากการซ่อมแซมที่ยาก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จอสัมผัสและเน็กซัส 6พี

จอสัมผัสและเน็กซัส 6พี มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มัลติทัช

มัลติทัช

มัลติทัช เป็นการต่อยอดมากจากหน้าจอสัมผัสทั่วไป ซึ่งโดยปรกติถ้าเป็นทัชสกรีนธรรมดาจะเป็นการรับคำสั่งได้ทีละจุดทีละคำสั่ง คล้ายๆกับเวลาเราเล่นเกมส์จับผิดภาพ หรือการใช้โทรศัพท์มือถือหรือPDAนั่นเอง แต่ว่ามัลติทัชจะต่างออกไปเพราะสามารถรองรับการสัมผัสได้ทีละหลายๆจุดทำให้เกิดรูปแบบการสั่งงานที่คล่องตัวมากขึ้นและก็มีการควบคุมที่สะดวกกว่า ให้ความรู้สึกที่แตกต่างออกไปจากการควบคุมคอมพิวเตอร์แบบเดิมๆ ก่อนหน้านี้บิลเกตได้เคยออกมาประกาศว่าเม้าส์และคีย์บอร์ดจะกลายเป็นของที่ล้าสมัยไปในที่สุด ซึ่งหนึ่งในรูปแบบการสั่งงานคอมพิวเตอร์แบบใหม่ที่จะเข้ามาแทนที่ก็คือมัลติทัช(Multi-touch) ฉะนั้นจังไม่น่าแปลกใจที่Windows7จะนำเทคโนโลยีมัลติทัชเข้ามาใช้ เพราะฉะนั้นในอนาคตเราก็มีโอกาสจะได้ใช้มัลติทัชกันอย่างเต็มรูปแบบ สำหรับเทคโนโลยีมัลติทัชก็จะประกอบไปด้วยอุปกรณ์ หลักๆอย่างแรกก็คือ หน้าสัมผัสซึ่งตัวนี้ไม่จำเป็นจะต้องเป็นหน้าจอแสดงภาพอย่างเดียว อาจจะเป็นโต๊ะ กำแพง เป็นTouch Pad บนโน้ตบุ๊คก็ได้ ส่วนนี้เป็นได้หลายรูปแบบในลักษณะการรับค่าสัมผัสจากหน้าจอหรือว่าตัวinterface ซึ่งทำได้ทั้งการผ่านความร้อน แรงกดของนิ้ว ใช้แสงอินฟาเหรด คลื่นอัลตราโซนิค คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือแม้แต่การควบคุมผ่านทางแสงเงาก็มีการพัฒนาขึ้นมาแล้ว แต่ส่วนที่คิดว่าสำคัญที่สุดในระบบมัลติทัชก็คือเรื่องของSoftwereในการควบคุม ถ้าดูจาก I-Phone จะเห็นว่าตัว Softwere สามารถที่จะเข้ามาผสานการทำงานกับรบบมัลติทัชได้อย่างลงตัว และทำให้รูปแบบการทำงานดูน่าใช้มากขึ้น สร้างสรรค์การปฏิสัมพันธ์กับมนุษย์ในรูปแบบใหม่ๆ ทำให้การใช้งานคอมพิวเตอร์ ถูกยกระดับขึ้นเป็นอีก1มิติใหม่ ถึงแม้เราจะเห็นมัลติทัชในช่าง2-3ปีที่ผ่านมาอย่างแพร่หลาย แต่จริงๆแล้ว นักวิทยาศาสตร์ได้คิดค้นและพัฒนาระบบมัลติทัชมาไม่ต่ำกว่า25ปีแล้ว แต่มาเห็นเป็นรูปเป็นร่างตั้งแต่ปี 2542 มีนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยDelawere 2คน ได้สร้างบริษัทขึ้นมาที่ชื่อว่าFinger Works และพัฒนาอุปกรณืที่มีชื่อว่า Igester Padและ Touchstream keyboard ก่อนที่จะถูกซื้อกิจการไปในที่สุด โดยบริษัทที่มีชื่อว่าApple Appleได้เข้าไปซื้อบริษัท Finger Works ไปเมื่อประมาณปี2548 จึงไม่น่าแปลกว่าAppleเป็นบริษัทแรกๆที่จุดกระแสด้านระบบมัลติทัช และมีการนำมาใช้กันอย่างเป็นรูปอธรรม เป็นที่ประทับใจของคนทั่วไป เป็นSoftwereที่ผสานกันอย่างลงตัว หน้าจอของI-Phoneเป็นแบบ Capacitive Touchscreen ซึ่งต้องอาศัยสื่อนำไฟฟ้าอย่างผิวหนัง ทำให้ปากกาพลาสติกทั่วไปไม่สามารถใช้งานกับหน้าจอI-Phoneได้ ลูกเล่นด้านมัลติทัชของI-Phoneถูกสอดแทรกเข้าไปกับการทำงานได้อย่างลงตัว ทำให้ผู้ใช้งานจำนวนมากเห็นถึงความสะดวกสบายในการใช้งานผ่านระบบมัลติทัช เช่นการใช้นิ้มมือลากเพื่อเลื่อนคำสั่งต่างๆในจอ หรือใช้นิ้วมือสองนิ้วเพื่อย่อหรือขยายรูปภาพบนหน้าจอได้อย่างสะดวก นอกจากนี้I-Phoneยังได้ผสานAccelerometerหรืออุปกรณืวัดความแร่งแบบ3แกน ทำให้พลิกหน้าจอแสดงผลได้โดยรอบเพื่อปรับเปลี่ยนมุมมองของการเล่นภาพได้ตามต้องการ ทั้งตามแนวตั้งและแนวนอน นอกจากนี้Appleยังได้นำมัลติทัชไปไว้ใน I-Pod Touch,Mac Book AirและMac Book Proอีกด้วย ซึ่งถือว่าเป็นการทำให้การใช้งานสะดวกยิ่งขึ้น ด้านMicrosoftแม้จะได้เริ่มการวิจัยมาก่อนAppleแต่กลับออกผลิตภัณฑ์สู่ตลาดได้ช้ากว่า และก็ยังเป็นผลิตภัณฑ์แบบเฉพาะกลุ่มและราคาแพง แต่ถ้าพูดถึงในด้านการทำงาน ทางด้านMicrosoft Serface ถือว่าเป็นโต๊ะอัจฉริยะที่ผสานมัลติทัชและการทำงานไร้สายได้อย่างลงตัว Microsoft Serface ใช้ระบบปฏิบัติการ Windows Vista มีProcesserเป็นInTel Core 2 Duo หน่วยความจำ2Gb มีการออกแบบinterface การควบคุมแบบใหม่ที่มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น และมีการนำมัลติทัชใส่ไว้ในคอมพิวเตอร์ทรงกลมที่มีชื่อว่าSphere นอกจากMicrosoft และAppleแล้ว ยังมีอีกหลายบริษัทที่ให้ความสนใจกับมัลติทัชอีกมากมายเช่นPerceptive Pixel โดยผลิตมัลติทัชไว้สำหรับองค์กรณ์ใหญ่ๆเพื่อความสะดวก เช่น Active Board เป็นกระดานแบบมัลติทัชใช้ในการเรียนการสอน ในปัจจุบัน เทคโนโลยีมัลติทัชมีราคาถูกลงเรื่อยๆ และมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆ เช่น แท็บเล็ตพีซี โทรศัพท์มือถือ ได้นำระบบมัลติทัชมาใช้เพื่อความสะดวกในการใช้งานแทนระบบเมาส์ และแป้นพิมพ์ ทำให้อุปกรณ์มีขนาดเล็กลง พกพาสะดวก และระบบปฏิบัติการต่างๆ เช่น ซิมเบียน, วินโดวส์ 8, ไอโอเอส, แอนดรอยด์, อุบุนตู(ลินุกซ์เดกส์ทอป) ได้เพิ่มซอฟต์แวร์มัลติทัชเข้าไปในระบบ หมวดหมู่:เทคโนโลยี.

จอสัมผัสและมัลติทัช · มัลติทัชและเน็กซัส 6พี · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จอสัมผัสและเน็กซัส 6พี

จอสัมผัส มี 10 ความสัมพันธ์ขณะที่ เน็กซัส 6พี มี 34 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.27% = 1 / (10 + 34)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จอสัมผัสและเน็กซัส 6พี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »