โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ดัชนี ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ. 2150 เมื่ออังกฤษสถาปนาเขตพักพิงถาวรแห่งแรกขึ้นบนพื้นทวีปอเมริกาเหนือ เขตพักพิงแห่งนี้มีชื่อว่า เจมส์ทาวน์ ในยุคที่สหรัฐยังเป็นอาณานิคมทั้งสิบสาม ทั้งสหราชอาณาจักรและสหรัฐต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษด้วยกันคู่ ซึ่งทั้งสองรัฐถูกผูกมัดเข้าด้วยกันทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภาษาแม่ ระบบยุติธรรม วัฒนธรรม รวมทั้งความเกี่ยวดองกันทางสายเลือดและเครือญาติ ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษในสหรัฐจึงสามารถย้อนต้นตระกูลกลับไปได้หลายชั่วอายุคน ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมามีทั้งสงคราม การก่อกบฏ สันติภาพและความบาดหมางต่อกัน จนกระทั่งท้ายที่สุดทั้งสองก็กลายเป็นทั้งเพื่อนและพันธมิตรต่อกัน ความสัมพันธ์อันหยั่งรากลึกนี้ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดและถาวรเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ สายสัมพันธ์พิเศษ ซึ่งถูกอธิบายโดยนักวิจารณ์ชั้นแนวหน้าอย่าง คริสเตียน อามันพัวร์ ว่าเป็น "พันธมิตรหลักแห่งแอตแลนติก" เช่นเดียวกับประธานวุฒิสมาชิกด้านกิจการยุโรปของสหรัฐ ฌอง ชาฮีน ที่ยอมรับใน พ.ศ. 2553 ว่าเป็น "หนึ่งในเสาหลักแห่งเสถียรภาพของทั่วทั้งโลก" ปัจจุบัน นโยบายด้านการต่างประเทศของสหราชอาณาจักรฉบับล่าสุดกล่าวถึงความสัมพันธ์กับสหรัฐว่าเป็น "หุ้นส่วนความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่สำคัญที่สุด" ขณะที่นโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐเองก็ยืนยันเช่นกันว่าสหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่ยืนยงที่สุด ซึ่งเห็นได้จากสภาพทางสังคมที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งในด้านการเมือง ความเชื่อมโยงกันของการค้า การพาณิชย์ การเงินการคลัง เทคโนโลยี การศึกษา เช่นเดียวกับด้านศิลปะและวิทยาการ นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกันของรัฐบาลและหน่วยงานทางการทหาร เช่น ปฏิบัติการทางการทหารและปฏิบัติการรักษาสันติภาพร่วมกัน นอกจากนี้โดยปกติแล้วประธานาธิบดีแห่งสหรัฐจะเป็นบุคคลแรกในโลกที่จะส่งจดหมายแสดงความยินดีในการเข้ารับตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนใหม่ ในทางกลับกัน นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็จะส่งจดหมายแสดงความยินดีเป็นบุคคลแรกในโลกเช่นเดียวกัน สหรัฐยังเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เช่นเดียวกับที่สหราชอาณาจักรเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐ เมื่อรวมทั้งสองประเทศเข้าด้วยกันแล้วจะพบว่าการค้าของทั้งสองประเทศมีสัดส่วนมหาศาลเมื่อเทียบกับการค้าทั่วโลก อีกยังมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอย่างมากต่อประเทศและดินแดนอื่น ๆ ทั่วโลก สหราชอาณาจักรและสหรัฐยังเปนสองประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดและประชากรมากที่สุดในกลุ่มประเทศ แองโกลสเฟียร์ มีประชากรรวมกันมากกว่า 370 ล้านคนในปี..

347 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษบรอดชีตบริติชแอร์เวย์บริตนีย์ สเปียส์บลูส์บอสตันชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐบารัก โอบามาชาลส์ ดิกคินส์ชาวสกอตแลนด์ชาวอังกฤษชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกาชาวไอริชชาวเวลส์บิกแบนด์บิล คลินตันชิคาโกบิง ครอสบีบีบีซี เวิลด์นิวส์บียอนเซ่ โนวส์บีจีส์ชนพื้นเมืองในทวีปอเมริกาบ็อบ ดิลลันฟรานซิส เดรกฟลอเรนซ์ฟิลาเดลเฟียพ.ศ. 2122พ.ศ. 2128พ.ศ. 2130พ.ศ. 2150พ.ศ. 2162พ.ศ. 2163พ.ศ. 2165พ.ศ. 2172พ.ศ. 2175พ.ศ. 2179พ.ศ. 2198พ.ศ. 2206พ.ศ. 2207พ.ศ. 2208พ.ศ. 2217พ.ศ. 2224พ.ศ. 2232พ.ศ. 2234พ.ศ. 2235พ.ศ. 2241พ.ศ. 2272พ.ศ. 2282พ.ศ. 2297พ.ศ. 2306...พ.ศ. 2308พ.ศ. 2313พ.ศ. 2318พ.ศ. 2319พ.ศ. 2320พ.ศ. 2321พ.ศ. 2323พ.ศ. 2324พ.ศ. 2366พ.ศ. 2457พ.ศ. 2461พ.ศ. 2470พ.ศ. 2482พ.ศ. 2484พ.ศ. 2485พ.ศ. 2486พ.ศ. 2487พ.ศ. 2494พ.ศ. 2500พ.ศ. 2507พ.ศ. 2513พ.ศ. 2519พ.ศ. 2520พ.ศ. 2522พ.ศ. 2525พ.ศ. 2526พ.ศ. 2528พ.ศ. 2529พ.ศ. 2531พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2542พ.ศ. 2546พ.ศ. 2548พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)พรรคเดโมแครต (สหรัฐ)พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707พระราชวังบักกิงแฮมพระราชวังวินด์เซอร์พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพิวริตันกลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐกอร์ดอน บราวน์การกำหนดการปกครองด้วยตนเองการลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557การล่มสลายของสหภาพโซเวียตการสิ้นพระชนม์ของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์การซื้ออะแลสกาการประกาศเลิกทาสกุมภาพันธ์ภาพยนตร์การ์ตูนภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ภาษาอังกฤษมาร์ก ทเวนมาร์กาเรต แทตเชอร์มาดอนน่ามาเรียแห่งเท็คมิเชลล์ โอบามามีนาคมยูคอนระบบเวสต์มินสเตอร์รัฐบริติชโคลัมเบียรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียรัฐกันชนรัฐวอชิงตันรัฐสภาสหราชอาณาจักรรัฐสภาอังกฤษรัฐออริกอนรัฐโนวาสโกเชียรัฐไอดาโฮรัฐเวอร์จิเนียราชสำนักเซนต์เจมส์ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ราชอาณาจักรฝรั่งเศสราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักรราชนาวีริชาร์ด นิกสันร็อกแอนด์โรลลอรา บุชลอสแอนเจลิสลอนดอนละครบรอดเวย์ลัทธิมอนโรลินดอน บี. จอห์นสันล็อกเกอร์บีวอชิงตัน ดี.ซี.วอลต์ ดิสนีย์วิกิลีกส์วิลเลียม เชกสเปียร์วินสตัน เชอร์ชิลวุฒิสภาสหรัฐวูดโรว์ วิลสันศาลฎีกาศาสนาพุทธศาสนายูดาห์ศาสนาอิสลามศาสนาฮินดูศาสนาคริสต์ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดสมัยใหม่สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนีสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8สหพันธ์สาธารณรัฐสันนิบาตชาติสาธารณรัฐดัตช์สาธารณรัฐไวมาร์สิบสามอาณานิคมสงคราม ค.ศ. 1812สงครามกลางเมืองอเมริกาสงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามคอซอวอสงครามปฏิวัติอเมริกาสงครามนโปเลียนสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามเจ็ดปีสตาร์ วอร์ส (ภาพยนตร์)สติงสตีเวน สปีลเบิร์กสนธิสัญญานาวิกวอชิงตันสนธิสัญญาแวร์ซายสนธิสัญญาเจย์สไปซ์เกิลส์หลักการสิบสี่ข้อห้องทำงานรูปไข่อภิมหาอำนาจอัลเฟรด ฮิตช์ค็อกอาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนียอี.ที. เพื่อนรักอเมริกันฟุตบอลอเทวนิยมฮิลลารี คลินตันฮิวสตันฮูวอนส์ทูบีอะมิลเลียนแนร์?จอร์จ บุชจอร์จ ลูคัสจอร์จ วอชิงตันจอร์จ ดับเบิลยู. บุชจอร์จ เกิร์ชวินจอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุชจอห์น วิลเลียมส์จอห์น ทราโวลตาจอห์น คาร์เพนเตอร์จอห์น แอดัมส์จอห์น เมเจอร์จอห์น เอฟ. เคนเนดีจักรวรรดิบริติชจักรวรรดิสเปนจิมมี คาร์เตอร์ธีโอดอร์ โรสเวลต์ทวีปอเมริกาเหนือทอม โจนส์ทอมัส เจฟเฟอร์สันทำเนียบขาวทีนา เทอร์เนอร์ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ท่าอากาศยานนานาชาติวอชิงตันดัลเลสท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดีดอลลาร์สหรัฐดอนัลด์ ทรัมป์ดิสคัฟเวอรี่ แชนแนลดิออบเซิร์ฟเวอร์ดิออฟฟิซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน)ดนตรีสวิงดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์คริสตินา อากีเลราคริสตจักรแห่งอังกฤษคริสต์ศตวรรษที่ 17คองคอร์ดคันทรี (แนวดนตรี)คามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอลงานเลี้ยงน้ำชาที่บอสตันซัดดัม ฮุสเซนซานฟรานซิสโกซูเปอร์โบวล์ซีกโลกตะวันตกซีเอสไอ: ไครม์ซีนอินเวสติเกชันซีเอ็นเอ็นประธานาธิบดีสหรัฐประเทศฝรั่งเศสประเทศรัสเซียประเทศอังกฤษประเทศอิตาลีประเทศคิวบาปอนด์สเตอร์ลิงปีศาจแห่งโรงอุปรากรนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรนาซานิวยอร์ก (แก้ความกำกวม)นิวอิงแลนด์นครนิวยอร์กแชร์ (นักร้อง)แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์แฟรงก์ ซินาตราแพต นิกสันแพนแอม เที่ยวบินที่ 103แม่น้ำมิสซิสซิปปีแอตแลนตาแอนดรูว์ แจ็กสันแฮร์รี เอส. ทรูแมนแฮร์รี่ พอตเตอร์แฮเรียต บีเชอร์ สโตว์แจ๊สแดน บราวน์แคริบเบียนแคนเดิลอินเดอะวินด์แคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)แนนซี เรแกนโกรเวอร์ คลีฟแลนด์โรนัลด์ เรแกนโลกใหม่โทรอนโตโทรเลขซิมแมร์มันน์โทนี แบลร์โคลด์เพลย์โปรเตสแตนต์ไมแอมีไมเคิล แจ็กสันไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ไดอาน่า รอสส์เบลฟาสต์เชอร์ลีย์ บาสซีย์เบนจามิน แฟรงคลินเบ็ตตี ฟอร์ดเกรตเลกส์เมษายนเลโอนา ลูวิสเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์เสรีรัฐไอริชเอมี ไวน์เฮาส์เอลวิส เพรสลีย์เอลตัน จอห์นเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์เอดินบะระเฮนรี แมนซินีเจ. อาร์. อาร์. โทลคีนเจ. เค. โรว์ลิงเจมส์ บอนด์เจมส์ แมดิสันเจมส์ทาวน์ (โรดไอแลนด์)เจอรัลด์ ฟอร์ดเจอร์รี โกลด์สมิธเจอร์ซีย์เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์เจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลนเทพลิขิตเทเรซา เมย์เดวิด แคเมอรอนเดวิด โบอีเดอะบีเทิลส์เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์เดอะฮูเดอะซิมป์สันส์เดอะนิวยอร์กไทมส์เดอะโรลลิงสโตนส์เดนเวอร์เซาท์พาร์กเซาแทมป์ตันเปิดโลกอัศจรรย์ Planet Earthเนชันแนลฟุตบอลลีกเนวิล เชมเบอร์ลินเนโท1 เมษายน10 สิงหาคม14 พฤษภาคม17 พฤษภาคม19 ตุลาคม2 สิงหาคม23 ตุลาคม24 พฤษภาคม25 พฤษภาคม27 สิงหาคม3 มีนาคม4 กรกฎาคม7 มิถุนายน7 ตุลาคม ขยายดัชนี (297 มากกว่า) »

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

บรอดชีต

รอดชีต (Broadsheet) เป็นชื่อเรียกขนาดของหนังสือพิมพ์ขนาดใหญ่ ขนาดความสูง 21.5 นิ้ว และความกว้างระหว่าง 31-25 นิ้ว ต่อสองหน้.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและบรอดชีต · ดูเพิ่มเติม »

บริติชแอร์เวย์

Waterside บริติช แอร์เวย์ (อังกฤษ: British Airways) เป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดของสหราชอาณาจักร และเป็นลำดับที่สามของทวีปยุโรป (ตามหลัง แอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม และ ลุฟต์ฮันซา) และมีเที่ยวบินจากยุโรปข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกมากกว่าสายการบินอื่นๆ ท่าอากาศยานหลักของบริติชแอร์เวย์ คือ ลอนดอนฮีทโธรว์ และ ลอนดอนแกตว.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและบริติชแอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

บริตนีย์ สเปียส์

ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ บริตนีย์ (อัลบั้ม) บริตนีย์ จีน สเปียส์ (Britney Jean Spears) เป็นศิลปินเพลงป็อปหญิงชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและบริตนีย์ สเปียส์ · ดูเพิ่มเติม »

บลูส์

ลูส์ (Blues) เป็นรูปแบบของดนตรีประเภทหนึ่ง เกิดจากสภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของคนดำที่หลั่งไหลเข้าสู่สหรัฐเพื่อการเป็นทาส สภาพชีวิตที่คับแค้นของพวกเขาได้ถูกนำเสนอผ่านบทเพลงด้วยการร้อง หรือสวดอ้อนวอนในทางศาสนาที่ เป็นท่วงทำนองที่น่าเศร้า อันเป็นเอกลักษณ์ของการร้องและท่วงทำนองที่เกิดจากเครื่องดนตรีที่ไม่มีคุณภาพจากความแร้นแค้น และความรู้ในด้านทฤษฎีดนตรีที่ผิดเพี้ยนไปจากเดิม ทำให้มีเสียงหรือคอร์ดความเพี้ยนซึ่งต่อมาก็ได้สร้างความแปลกหู จนเป็นลักษณะและเอกลักษณ์เฉพาะ ลักษณะสำคัญของเพลงบลูส์คือ การใช้เสียงร้อง หรือเสียงของเครื่องดนตรีที่เพี้ยนจากเสียงในบันไดเสียง ซึ่งเรียกกันว่า เบนท์ หรือ บลูโน้ต และการสไลด์เสียง ปกติเพลงบลูส์เป็นเพลงในอัตราจังหวะ 4/4 ใน 1 วรรคจะมี 12 ห้องเพลง การร้องแต่ละวรรคจะมีการอิมโพรไวเซชั่นไปจากทำนองเดิม เช่นเดียวกับการบรรเลงโดยเครื่องดนตรี ลักษณะเฉพาะของเพลงบลูส์ถูกวางด้วยด้วยรากฐานจากความเจ็บปวดแร้นแค้น ทุกข์ทรมาน ของชีวิต เนื้อเพลง และสำเนียงของบลูส์จึงแฝงความเจ็บปวดคล้ายการสะอึกสะอื้นเวลาร้องให้ จึงใช้แสดงอารมณ์เศร้าได้ดี นอกจากนั้น เรื่องของจังหวะ (rhythm) ของบลูส์ที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ และเป็นแบบแผนนำไปสู่ดนตรีรูปแบบอื่นมากมาย เช่น ฟังค์,โซลฟังค์,ริทึ่ม แอนด์ บลูส์, ร็อก แอนด์ โรล เป็นต้น ศิลปินบลูส์ที่น่าสนใจมีด้วยกันในหลายยุค เช่น BB.king ("You Know I Love You," "Woke Up This Morning," "Please Love Me,"), Muddy Waters, Buddy Guy, Stevie Ray Vaughan, Eric Clapton, John Lee Hooker,Jimi Hendrix ที่มาของคำว่า บลูส์ ในภาษาอังกฤษ blues หมายถึง อาการโศกเศร้า ในประโยคเช่น I feel blues.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและบลูส์ · ดูเพิ่มเติม »

บอสตัน

อสตัน (Boston) เป็นเมืองหลวงของรัฐแมสซาชูเซตส์ในสหรัฐอเมริกา และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเขตนิวอิงแลนด์ บอสตันเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุด มั่งคั่งที่สุด และมีวัฒนธรรมที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศ ธุรกิจที่สำคัญในบอสตัน ได้แก่ การศึกษา สถานพยาบาล การเงิน และเทคโนโลยี บอสตันได้ชื่อว่าเป็นศูนย์กลางการศึกษาที่สำคัญแห่งหนึ่งในสหรัฐอเมริกา เนื่องจากเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยกว่า 100 แห่งในเมืองบอสตัน โดยเฉพาะ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยที่สำคัญและมีชื่อเสียงอื่นๆ ได้แก่ มหาวิทยาลัยบอสตัน วิทยาลัยบอสตัน มหาวิทยาลัยทัฟส์ และ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ทีมกีฬาหลายทีมประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียงในบอสตัน ได้แก.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและบอสตัน · ดูเพิ่มเติม »

ชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐ

ฝั่งทะเลด้านตะวันออกของสหรัฐอเมริกา ฝั่งทะเลด้านตะวันออกของสหรัฐอเมริกา หรือเรียกว่า ชายฝั่งตะวันออก (Eastern Seaboard) หมายถึง รัฐฝั่งทะเลซึ่งตั้งในภาคกลางหรือภาคเหนือของสหรัฐอเมริกา โดยมีอาณาเขตติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก และแคนาดา ด้วยเหตุผลทางด้านภูมิศาสตร์ คำว่า ชายฝั่งตะวันออก (Eastern Seaboard) ได้มีการใช้อย่างกว้างขวาง; ในการใช้ที่ได้รับความนิยม "East Coast" มักเป็นคำที่ใช้ซึ่งเจาะจงหมายถึงเฉพาะครึ่งทางเหนือของพื้นที่ดังกล่าวเท่านั้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันว่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนครึ่งทางใต้ของพื้นที่ดังกล่าวมักถูกพิจารณาว่าเป็นภาคใต้หรือภาคตะวันออกเฉียงใต้ เขตมหานครหลักของฝั่งทะเลด้านตะวันออกรวมไปถึงนครขนาดใหญ่และพื้นที่โดยรอบของบอสตัน, โปรวิเดนซ์, นิวยอร์กซิตี, บัฟฟาโล, ฟิลาเดลเฟีย, บัลติมอร์, วอชิงตัน, ริชมอนด์, ราลี, ชาร์ลอตต์, ออร์แลนโด, แอตแลนตา, แจ็กสันวิลล์, ไมอามี ประชากรโดยประมาณของพื้นที่ดังกล่าว จากรัฐเมนจนถึงรัฐฟลอริดา อยู่ที่ 111,508,688 คน (ราว 36% ของประชากรทั้งประเทศ) หมวดหมู่:สหรัฐ.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

บารัก โอบามา

รัก ฮูเซน โอบามา ที่ 2 (Barack Hussein Obama II; เกิด 4 สิงหาคม ค.ศ. 1961) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 44 ตั้งแต..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและบารัก โอบามา · ดูเพิ่มเติม »

ชาลส์ ดิกคินส์

ลส์ จอห์น ฮัฟแฟม ดิกคินส์ (Charles John Huffam Dickens; 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1812 – 9 มิถุนายน ค.ศ. 1870) นักประพันธ์ชาวอังกฤษ และมีนามปากกาว่า “โบซ” (Boz) เกิดที่เมืองแลนด์พอร์ท แฮมเชียร์ อังกฤษใต้ สหราชอาณาจักร เป็นบุตรเสมียนฝ่ายเงินเดือนกองทัพเรือ ในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและชาลส์ ดิกคินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวสกอตแลนด์

--> |region5.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและชาวสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอังกฤษ

วอังกฤษ เป็นกลุ่มของชาวยุโรปที่เคยอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของบริเตนใหญ่ เป็นชาวแองโกล-แซกซอนส์ ที่ปัจจุบันอาศัยกระจายอยู่หลายประเทศทั่วโลก ในสหราชอาณาจักร มีอยู่ 45,265,093 คน สหรัฐอเมริกา 24,515,138 คน แคนาดา 5,978,875 คน ออสเตรเลีย 6.4 ล้านคน และประเทศอื่นๆ ทั่วโลก ชาวอังกฤษส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและชาวอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกา

ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกาที่มีชื่อเสียง แถวบน:ดับเบิลยู. อี. บี. ดู บอยส์ • มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ • เอดเวิร์ด บรูกแถวล่าง:มัลคอล์ม เอกซ์ • โรซา พรากส์ • ซอเยอร์เนอร์ ทรูธ ในสหรัฐอเมริกา คำว่า ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกา (African-American, Afro-American) ภาษาปากว่า ชาวอเมริกันผิวดำ (Black American) เป็นชื่อเรียกของคนที่มีผิวสีดำแตกต่างจากคนอเมริกันที่มีผิวขาว โดยต้นกำเนิดของคนผิวสีส่วนใหญ่แล้วจะเริ่มมาจากทวีปแอฟริกา แต่เนื่องจากเหตุการณ์การล่าอาณานิคมและธุรกิจการค้าทาส ทำให้ผู้คนเหล่านี้ถูกพาเข้ามาอยู่ในสหรัฐอเมริกาเป็นจำนวนมาก ในอดีตสหรัฐอเมริกามีปัญหาการเหยียดสีผิวอย่างรุนแรง แต่ในปัจจุบันนี้ทุกคนได้รับความเท่าเทียมกันในสังคม วัฒนธรรมของคนดำนั้นได้แพร่หลายและเป็นที่ยอมรับมากขึ้นทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านดนตรี รวมทั้งการแต่งกายและการกีฬา หมวดหมู่:สหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกัน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ชาวไอริช

วไอริช (Muintir na hÉireann หรือ na hÉireannaigh หรือ na Gaeil, Irish people) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ชาวยุโรปตะวันตกที่มีถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่ในไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรป จากหลักฐานทางโบราณคดีไอร์แลนด์เป็นที่ตั้งถิ่นฐานของมนุษยชนมาราว 9,000 ปีโดยมีบรรพบุรุษของชาวไอริช ที่เป็นชนเนเมเดียน (Nemedians), ชนโฟโมเรียน (Fomorians), Fir Bolgs, Tuatha Dé Danann และ ชนมิเลเซียน (Milesians) (ตามตำนาน - ไม่มีหลักฐานบันทึกเป็นอักษรก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 6)—กลุ่มสุดท้ายกล่าวกันว่าเป็นกลุ่มที่เป็นบรรพบุรุษเกลลิคที่แท้จริง และยังคงใช้เป็นคำที่เรียกชนไอริชจนกระทั่งปัจจุบันนี้ กลุ่มชาติพันธุ์หลักที่มีการติดต่อกับชาวไอริชในยุคกลางก็ได้แก่ชาวสกอต และ ไวกิง และ ชาวไอซ์แลนด์โดยเฉพาะที่มีเชื้อสายไอริช การรุกรานของแองโกล-นอร์มันในยุคกลางตอนกลาง, การก่อตั้งดินแดนของอังกฤษ และต่อมาการปกครองโดยอังกฤษเป็นการนำกลุ่มชนนอร์มัน, เวลช์, เฟลมมิช, แองโกล-แซ็กซอน และ เบรทอน เข้ามาในไอร์แลนด์ ชาวไอริชที่มีชื่อเสียงก็มีมาตลอดในประวัติศาสตร์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 6 เมื่อนักบวชไอริชและนักเผยแพร่ศาสนาโคลัมบานัสผู้ถือกันว่าเป็น “บิดาแห่งยุโรป” คนหนึ่ง ตามด้วยนักบุญคิลเลียน และ เวอร์กิลเลียสแห่งซอลซบวร์ก นักวิทยาศาสตร์โรเบิร์ต บอยล์ผู้ถือกันว่าเป็น “บิดาแห่งวิชาเคมี” นักสำรวจผู้มีชื่อเสียงที่เป็นชาวไอริชก็ได้แก่เบรนดันนักเดินเรือ (Brendan the Navigator), เอิร์นเนสต์ แช็คเคิลตัน (Ernest Shackleton) และ ทอม ครีน (Tom Crean) ในด้านวรรณกรรมชาวไอริชก็เป็นผู้มีชื่อเสียงหลายคนที่รวมทั้งโจนาธาน สวิฟท์, จอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์, ออสคาร์ ไวล์ด และ เจมส์ จอยซ.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและชาวไอริช · ดูเพิ่มเติม »

ชาวเวลส์

วเวลส์ (Cymry, Welsh people) เวลส์เป็นกลุ่มชาติพันธุ์และในชาติที่เกี่ยวข้องกับเวลส์และภาษาเวลส์ จอห์น เดวีส์ให้ความเห็นว่าที่มาของ "ชาติเวลส์" (Welsh nation) สืบได้ว่ามีมาตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 4 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 5 หลังจากที่โรมันถอนตัวจากบริเตนJohn Davies (1994) A History of Wales.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและชาวเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

บิกแบนด์

กแบนด์ (Big band) เป็นลักษณะการรวมกันของการเล่นดนตรีในดนตรีแจ๊ส ได้รับความนิยมในยุคสวิง ต้นทศวรรษ 1930 จนถึงปลายยุค 1940 บิ๊กแบนด์โดยทั่วไปมักประกอบด้วยนักดนตรีประมาณ 12 ถึง 25 คน เล่นเครื่องดนตรีแซกโซโฟน, ทรัมเป็ต, ทรอมโบน และเครื่องให้จังหวะ คำว่า แจ๊สแบนด์, สเตจแบนด์, แจ๊สออร์เคสตร้า, โซไซตีแบนด์ และแด๊นสแบนด์ อาจมีใช้อธิบายถึงบิ๊กแบนด์ก็ได้.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและบิกแบนด์ · ดูเพิ่มเติม »

บิล คลินตัน

วิลเลียม เจฟเฟอร์สัน คลินตัน (William Jefferson Clinton) หรือรู้จักในชื่อ บิล คลินตัน (Bill Clinton) เกิดวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1946 เป็นประธานาธิบดีคนที่ 42 ของสหรัฐอเมริกา ระหว่างค.ศ. 1993 - ค.ศ. 2001 ก่อนหน้านั้นเขาดำรงตำแหน่งผู้ว่าการรัฐอาร์คันซอ เขาแต่งงานกับนางฮิลลารี ร็อดแฮม คลินตัน (อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ) ทั้งคู่มีบุตรสาวหนึ่งคนชื่อ เชลซี และลงเล่นการเมืองสังกัดพรรคเดโมแครต.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและบิล คลินตัน · ดูเพิ่มเติม »

ชิคาโก

ก (Chicago; คำอ่าน) เป็นเมืองตั้งอยู่ในรัฐอิลลินอยส์ รู้จักกันในชื่อ "เมืองแห่งลม" (Windy City) ชื่อเล่นนี้ มีที่มาจากการที่นักข่าวเขียนล้อเลียนนักการเมืองของ ชิคาโกใน ศตวรรตที่ 19 เกี่ยวกับการพูดจากลับกลอกไปมา บางคนเชื่อว่ามีที่มาจากการที่เป็นเมืองที่มีลมพัดแรงตลอดเวลาแต่ไม่ได้มีหลักฐานใดๆเขียนสนับสนุนทฤษฎีนี้ ชิคาโกเป็นเมืองใหญ่อันดับสามในสหรัฐอเมริกาเทียบตามจำนวนประชากร รองจากเมืองนิวยอร์ก และลอสแอนเจลิส เมืองชิคาโกตั้งอยู่ในเคาน์ตีคุก รัฐอิลลินอยส์ เขตมิดเวสต์ของสหรัฐอเมริกา เมื่อรวมเคาน์ตีรอบ ๆ ชิคาโกทั้ง 8 เคาน์ตีจะเรียกเขตว่า ชิคาโกแลนด์ ซึ่งมีประชากรประมาณ 9 ล้านคน ชิคาโกพัฒนาจากเมืองทุ่งนาจากปี พ.ศ. 2376 (ค.ศ. 1833) กลายมาเป็นศูนย์กลางความเจริญแห่งหนึ่งของโลก และในปัจจุบันนับเป็น 1 ใน 10 เมืองสำคัญของโลกทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ชิคาโกยังคงเป็นศูนย์กลางทางด้านความเจริญ การเงิน การคมนาคม และวัฒนธรรมที่สำคัญของเขตมิดเวสต์ ในชิคาโกมีสนามบินอยู่ 3 แห่ง โดยสนามบินโอ'แฮร์ เป็นสนามบินนานาชาติที่มีการจราจรทางอากาศมากที่สุดเป็นหนึ่งในสามของสหรัฐอเมริกา ประชากรในชิคาโกประกอบด้วยหนึ่งในสามเป็นคนขาว และอีกหนึ่งในสามเป็นคนดำ และที่เหลือเป็นคนกลุ่มอื่น โดยในเมืองชิคาโกแบ่งออกเป็น 77 ชุมชนแยกตามกลุ่มประชากรที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและชิคาโก · ดูเพิ่มเติม »

บิง ครอสบี

แฮร์รี ลิลลิส "บิง" ครอสบี (Harry Lillis "Bing" Crosby) (3 พฤษภาคม ค.ศ. 1903 - 14 ตุลาคม ค.ศ. 1977) เป็นนักร้อง นักแสดงชาวอเมริกัน มีผลงานตั้งแต่ปี 1926 จนถึงเมื่อเขาเสียชีวิต ในช่วงตั้งแต่ปี 1934 ถึง 1954 เขาถือเป็นดาราที่หาที่เปรียบไม่ได้ กับผลงานด้านยอดขายแผ่นเสียง เรตติ้งทางวิทยุและรายได้ทางภาพยนตร์ ครอสบียังถูกยกเครดิตให้เป็นศิลปินแรงบันดาลใจให้กับนักร้องส่วนใหญ่รุ่นหลังที่ตามเขามา อย่างเช่น แฟรงก์ ซินาทรา เพอร์รี โคโม และดีน มาร์ติน นิตยสารแยงก์ ระบุว่าเขาเป็นคนที่มีบทบาทได้การมอบขวัญกำลังใจให้กับทหารอเมริกัน ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง และในระหว่างปีสูงสุดของเขา ราวปี 1948 มีแบบสำรวจระบุว่าเขาเป็น "ผู้ชายที่น่าสรรเสริญที่สุดที่ยังมีชีวิตอยู่" นำแจ็กกี โรบินสันและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 ครอสบีลงทุนในการพัฒนาอุตสาหกรรมเพลงในช่วงหลังสงคราม โดยในปี 1947 เขาลงทุนเงิน 50,000 เหรียญสหรัฐกับบริษัทแอมเพกซ์ ที่ถือเป็นบริษัทเทปรีลทูรีลแห่งแรกในอเมริกาเหนือ และครอสบียังเป็นคนแรกที่แสดงอัดเสียงก่อนรายการในรายการวิทยุและบันทึกเสียงในรูปแบบเทปแม่เหล็ก เขามอบตัวอย่าง 200 ตัวอย่างแรกให้เพื่อนของเขา ซึ่งเป็นนักดนตรีคือ Les Paul ที่ทำให้เขาประดิษฐ์ Multitrack recording ในปี 1962 ครอสบีถือเป็นคนแรกที่ได้รับรางวัลประสบความสำเร็จจาก Global Achievement Award เขายังได้รับรางวัลออสการ์ในสาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยมจากบท บาทหลวง ชัค โอ'มัลเลย์ ในภาพยนตร์ปี 1944 เรื่อง Going My Way ครอสบียังเป็นคนไม่กี่คนที่มีชื่อจารึกอยู่บนฮอลลีวูดวอล์กออฟเฟมถึง 3 ครั้ง.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและบิง ครอสบี · ดูเพิ่มเติม »

บีบีซี เวิลด์นิวส์

ีบีซี เวิลด์ นิวส์ (BBC World News; ชื่อเดิม: BBC World) เป็นช่องรายการข่าวนานาชาติของบีบีซี ช่องรายการนี้มีผู้ชมมากที่สุดในบรรดาช่องรายการของบีบีซี เปิดตัวครั้งแรกในชื่อ โทรทัศน์ภาคบริการโลกของบีบีซี (BBC World Service Television) เมื่อปีค.ศ. 1991 (ภายหลังเปลี่ยนเป็น บีบีซี เวิลด์ (BBC World) ในปีค.ศ. 1995) โดยออกอากาศรายการข่าว สารคดี รูปแบบการใช้ชีวิต และบทสัมภาษณ์ต่างๆ ตลอดยี่สิบสี่ชั่วโมง คู่แข่งสำคัญของช่องรายการนี้คือ ซีเอ็นเอ็นนานาชาติ และยังต้องแข่งขันกับสถานีข่าวอื่นๆ อีก ข่าวโลกบีบีซี เป็นช่องรายการข่าวที่มีผู้ชมมากที่สุด นำหน้า ซีเอ็นเอ็น และยังเป็นหนึ่งในช่องรายการที่มีคนดูมากที่สุดในโลก ช่องรายการถูกส่งสัญญาณโดย Red Bee Media จากสถานีหลัก ณ The Broadcast Centre ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ BBC Media Village และส่วนหนึ่งของ BBC White City ที่ White City ในลอนดอนตะวันตก โดยมีห้องส่งจาก BBC Television Centre ที่อยู่ในบริเวณเดียวกัน BBC World News มีห้องข่าวแยกออกจากห้องข่าวของ BBC News ห้องข่าวนี้ส่งสัญญาณตั้งแต่เวลา 05.00 น. ถึง 00.30 น. (เวลาสหราชอาณาจักร) ทุกๆ วันจันทร์ถึงศุกร์ และตั้งแต่ 06.00 น. ถึง 00.30 น. ในวันเสาร์และอาทิตย์ ส่วนในเวลา 01.00 น. ถึง 05.00 น. จะส่งสัญญาณจากห้องส่งภายในสหราชอาณาจักร หรือ BBC News ถึงแม้ว่าห้องส่ง BBC World News ผลิตภาพในสัดส่วนภาพ 16:9 ในรูปแบบ SDTV ซึ่งเป็นเช่นเดียวกับ BBC News แต่ BBC World News นั้นถูกส่งสัญญาณในสัดส่วนภาพ 4:3 ทำให้ภาพถูกแปลงให้เป็นสัดส่วนภาพ 14:9 สำหรับการออกอากาศทั้งในแบบดิจิตอลและอนาล็อก ทำให้ภาพที่ปรากฏมีแถบดำอยู่ด้านบนและล่างของภาพ จนกระทั่งในปี ค.ศ. 2009 ได้ปรับระบบการส่งภาพไปเป็นอัตราส่วน 16:9 พอดี BBC World News ได้รับรางวัล ช่องรายการข่าวนานาชาติดีเด่น ณ The Association for International Broadcasting Awards ในเดือนพฤศจิกายน ปีค.ศ. 2006 ในเดือนเมษายน ปีค.ศ. 2008 ช่องรายการถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "BBC World News" จากชื่อเดิม BBC World โดยเป็นส่วนหนึ่งของการรีแบรนด์ภาพลักษณ์ของ BBC มูลค่า 550,000 ปอนด์ ทำให้มีภาพลักษณ์ช่องใหม่ รูปแบบสีใหม่ BBC News ยังกล่าวอีกว่า การส่งสัญญาณจะย้ายจากสตูดิโอ N9 ไปเป็น N8 ซึ่งเคยเป็นห้องส่งของ BBC News Channel มาก่อน ในวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 2013 บีบีซีเวิลด์นิวส์ย้ายส่วนปฏิบัติการจาก BBC Television Centre ใน White City ลอนดอนตะวันตก ไปอยู่ที่ Broadcasting House ใจกลางกรุงลอนดอน โดยมี Nik Gowing เป็นผู้ประกาศข่าวคนสุดท้ายที่อ่านข่าวจากห้องส่งเดิม ส่วนผู้ประกาศข่าวคนแรกที่อ่านข่าวจากห้องส่งใหม่ คือ George Alagiah ในรายการ GMT http://www.youtube.com/watch?v.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและบีบีซี เวิลด์นิวส์ · ดูเพิ่มเติม »

บียอนเซ่ โนวส์

ียอนเซ่ จิเซลล์ โนวส์ เกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 1981 เป็นนักร้องสไตล์อาร์แอนด์บี, นักแต่งเพลง, โปรดิวเซอร์, นักแสดง และ นางแบบ ชาวอเมริกัน โนวส์เกิดและเติบโตที่ฮิวส์ตัน รัฐเท็กซัส ในวัยเด็กบียอนเซ่ได้เข้าร่วมในการแสดงหลากหลายเรียนอนุบาลถึงประถม ซึ่งรวมไปถึงการร้องเพลง อันเป็นการปูทางสำหรับอาชีพการเป็นนักร้อง บียอนเซ่เริ่มมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในช่วงปี 1990 ในฐานะสมาชิกคนสำคัญของเดสทินีส์ไชลด์ วงดนตรีหญิงล้วนแนวอาร์แอนด์บีชื่อดังในยุคนั้น ตลอดชีวิตการทำงานของเธอ มียอดขายเกินกว่า 100 ล้านชุดในฐานะศิลปินเดียว ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2003 ระหว่างการพักงานของเดสทินีส์ไชลด์ โนวส์ได้ออกอัลบั้มในฐานะศิลปินเดี่ยวเป็นครั้งแรกกับอัลบั้มเดนเจอรัสลีอินเลิฟ ซึ่งนับเป็นอัลบั้มที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดอัลบั้มหนึ่งในปีนั้น อัลบั้มนี้ประสบความสำเร็จทั้งในด้านยอดขายและด้านคำวิจารณ์ต่างๆ ทำให้มีเพลงฮิตเช่นเพลง "เครซีอินเลิฟ", "เบบี้บอย" และสร้างรางวัลแกรมมีถึง 5 สาขาให้แก่โนวส์ ต่อมาเดสทินีส์ไชลด์ก็ได้ตัดสินใจแยกวงจากเป็นทางการ หลังจากนั้นโนวส์ได้มีอัลบั้มชุดที่สอง นั่นก็คืออัลบั้มบี'เดย์ วางขายในปี ค.ศ. 2006 ซึ่งเปิดตัวอันดับ 1 บนชาร์ตบิลบอร์ด มีซิงเกิลฮิตอย่าง "เดจาวู", "อีเรเพลสอเบิล", และ "บิวติฟูล์ไลอาร์" อัลบั้มเดี่ยวชุดที่ 3 ของเธอไอแอม... ซาชาเฟียร์ส ได้วางจำหน่ายในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2008 มีซิงเกิลฮิต เช่น "อิฟไอเวอร์อะบอย", "ซิงเกิลเลดีส์ (พุตอะริงออนอิต)", "เฮโล", และ "สวีตดรีมส์" โนวส์มีซิงเกิลที่ติดอันดับ 1 อยู่ทั้งหมด 5 เพลงด้วยกัน ทำให้เธอเป็นหนึ่งในสองศิลปินหญิงที่มีเพลงติดอันดับหนึ่งมากที่สุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 2000 จากความสำเร็จอย่างสูงของการเป็นศิลปินเดี่ยวของโนวส์ ทำให้เธอได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินคนสำคัญคนหนึ่งของอุตสาหกรรมดนตรีในยุคปัจจุบัน และเธอก็ยังขยายงานอาชีพของเธอไปสู่งานทางการแสดงและเซ็นสัญญากับบริษัทสินค้าต่างๆ เธอได้เริ่มอาชีพทางการแสดงของเธอเมื่อปี ค.ศ. 2001 ใน ภาพยนตร์เพลงเรื่อง Carmen: A Hip Hopera ในปี ค.ศ. 2006 เธอได้รับบทนำในภาพยนตร์ทำใหม่ของละครบรอดเวย์ปี 1981 เรื่องดรีมเกิร์ลส และทำให้เธอได้เข้าชิงรางวัลลูกโลกทองคำถึง 2 รางวัล โนวส์ได้มีธุรกิจสายงานแฟชั่นที่เธอได้ร่วมกับครอบครัว โดยใช้ชื่อว่า "เฮาส์ออฟเดเรออน" และได้เซ็นสัญญาเป็นพรีเซ็นเตอร์ให้กับบริษัทต่างๆ เช่น เป๊ปซี่, ทอมมี ฮิลฟิกเจอร์, อาร์มานิ และลอเรอัล และในปี ค.ศ. 2009 นี้ นิตยสารฟอร์บยังได้จัดอันดับให้เธออยู่ในอันดับ 4 ของคนดังที่มีอิทธิพลมากที่สุด, อันดับ 3 ของนักดนตรีที่มีรายได้มากที่สุด, และอันดับหนึ่งของคนดังอายุต่ำกว่า 30 ที่มีรายได้มากที่สุด ด้วยรายได้กว่า 87 ล้านดอลลาร์สหรัฐระหว่างปี ค.ศ. 2008 - ค.ศ. 2009.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและบียอนเซ่ โนวส์ · ดูเพิ่มเติม »

บีจีส์

ีจีส์ (Bee Gees) ประกอบด้วยสี่พี่น้องตระกูลกิ๊บส์ "แอนดี้,มอริซ, โรบิน, แบร์รี" ทั้งสี่คนเกิดที่เกาะมาน ประเทศอังกฤษ ในช่วยวัยเด็ก เขาอาศัยอยู่ในเขต คอลตัน,แมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ ก่อนที่เขาจะย้ายไปพำนักอยู่ที่ บริสเบน ประเทศออสเตรเลีย ในปลายยุค 1950 และเริ่มต้นทำวงดนตรีที่นั่น และหลังจากที่เขาประสบความสำเร็จกับซิลเกิ้ลเพลง Spicks and Specks (ภายหลังเป็นซิงเกิ้ลที่ 12 ของวง) บนเกาะออสเตรเลีย พวกเขาก็ตัดสินใจกลับไปที่ประเทศอังกฤษ ในเดือน มกราคม..1967 และเขาได้พบกับ โรเบิร์ต สติงวู้ด และเป็นโปรดิวเซอร์ของเขาเป็นต้นมา และทำให้พวกเขาโด่งดังไปทั่วโลก และมีงานเพลงที่ขายดีที่สุด ทำรายได้ถึง 220 ล้าน พวกเขาถูกบันทึกใน Rock and Roll Hall of Fame ในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและบีจีส์ · ดูเพิ่มเติม »

ชนพื้นเมืองในทวีปอเมริกา

วาดของชนกลุ่มน้อยหลากหลายกลุ่มในอเมริกา ก่อนยุคศตวรรษที่ 20 ชาวอินเดียนแดง ชนพื้นเมืองในทวีปอเมริกา หรือ อินเดียนแดง หรือ ชนพื้นเมืองชาวอเมริกัน (Indigenous people of the Americas หรือ Red Indian หรือ Native American) เป็นกลุ่มคนที่อาศัยในทวีปอเมริกามานานก่อนที่ชาวยุโรปจะเข้ามาอพยพย้ายถิ่นฐานมาตั้งรกราก ในอดีตได้มีสงครามเกิดขึ้นมากมายในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ในการแย่งชิงดินแดน การต่อสู้ รวมถึงการค้าที่เกิดขึ้นระหว่างชาวยุโรป กับชาวอินเดียนแดง ในปัจจุบันชาวอินเดียนแดงบางกลุ่มอาศัยรวมอยู่กับชาวอเมริกันทั่วไป และบางกลุ่มได้จัดตั้งพื้นที่อาศัยในเขตสงวนอินเดียนแดง คำว่าอินเดียนแดงนั้น ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า Indian หรือ Native American โดยในอดีตได้ใช้คำว่า Red Indian แต่ได้เลิกใช้แล้วโดยถือว่าเป็นคำไม่สุภาพในการกล่าวถึง แบ่งออกเป็น 3 เผ่าใหญ่ ได้แก่ เผ่ามายา เผ่าแอซแทค และเผ่าอิน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและชนพื้นเมืองในทวีปอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

บ็อบ ดิลลัน

็อบ ดิลลัน (Bob Dylan) หรือชื่อจริง โรเบิร์ต อัลเลน ซิมเมอร์แมน (Robert Allen Zimmerman; เกิด 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1941) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง ศิลปิน จิตรกร นักประพันธ์ และกวีชาวอเมริกัน ที่มีผลงานในวงการดนตรีมาตลอดกว่า 5 ทศวรรษ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงทศวรรษ 1960 จนได้รับฉายาให้เป็น "ราชาแห่งโฟล์ก" ด้วยภาพลักษณ์ของดิลลันในการแต่งเพลงที่เน้นเนื้อหาทางสังคมและการต่อต้านสงคราม มีเพลงตัวอย่างเช่น "Blowin' in the Wind" และ "The Times They Are a-Changin'" ที่ได้กลายมาเป็นหนึ่งในเพลงสัญลักษณ์ของการเคลื่อนไหวทางสิทธิมนุษยชนและการต่อต้านสงครามในสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้เขายังได้ออกซิงเกิล "Like a Rolling Stone" ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและบ็อบ ดิลลัน · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานซิส เดรก

ซอร์ฟรานซิส เดรก) เซอร์ฟรานซิส เดรก (Sir Francis Drake, พ.ศ. 2083 - 2139) นักสำรวจและนักเดินเรือชาวอังกฤษที่เคยเป็นโจรสลัดปล้นเรือสเปนมาก่อน ในปี พ.ศ. 2110 (ก่อนกรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่หนึ่ง 2 ปี) ได้เป็นผู้บัญชาการเรือ จูดิท ในเที่ยวการเดินทางสำรวจอินเดียตะวันตก (อเมริกากลาง) ที่ล้มเหลวของผู้เป็นญาติคือ จอน ฮอว์กินส์ และได้เดินทางกลับไปที่นั่นอีกหลายครั้งเพื่อไปเก็บรวบรวมทรัพย์สินที่เสียหายจากพวกสเปน การกระทำของเดรกในงานนี้ทำให้เขาได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2120 เดรกได้ออกเดินทางพร้อมกับเรือ 5 ลำสู่มหาสมุทรแปซิฟิกผ่านทางช่องแคบมาเจลลัน แต่หลังจากที่เรือหลายลำได้รับความเสียหายอย่างหนักจากพายุและไฟที่ใหม้เรือ เดรกได้เดินทางเพียงลำพังด้วยเรือชื่อ โกลเดนไฮนด์ แล่นข้ามหาสมุทรแปซิฟิกจนถึงเกาะเปลิวแล้วจึงเดินทางกลับอังกฤษผ่านแหลมกู๊ดโฮปเมื่อ พ.ศ. 2123 นับเป็นการเดินทางรอบโลกได้สำเร็จเป็นครั้งแรกของชาวอังกฤษ ในปีต่อมา สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 ได้เสด็จเยี่ยมเรือของเดรกและทรงแต่งตั้งให้เขาเป็นอัศวิน (เซอร์) ในปี พ.ศ. 2128 เซอร์ฟรานซิส เดรก ได้นำขบวนเรือจำนวน 25 ลำรบกับพวกอินเดียนแดงที่เป็นฝ่ายสเปนและขนยาสูบ มันฝรั่ง และชาวอาณานิคมเวอร์จิเนียที่ท้อแท้กลับบ้าน ในสงครามที่รบกับกองเรืออาร์มาดา (Spanish Armada) ที่ยิ่งใหญ่และไม่มีใครเคยเอาชนะได้ของสเปนที่ประกอบด้วยเรือถึง 130 ลำ (พ.ศ. 2131) ได้สู้รบกันนานถึงหนึ่งสัปดาห์ในช่องแคบอังกฤษที่อังกฤษเป็นฝ่ายชนะ ความกล้าหาญและความเชี่ยวชาญในการรบทางเรือยิ่งทำให้เซอร์ฟรานซิสที่ตำแหน่งหน้าที่เป็นรองผู้บัญชาการกองเรือยิ่งโดดเด่นมากขึ้น การได้ชัยชนะครั้งสำคัญนี้ ทำให้อังกฤษมีแสนยานุภาพทางทะเลมากที่สุด ปี พ.ศ. 2138 เซอร์ฟรานซิสได้ออกเดินทางอีกครั้งหนึ่งเพื่อไปยังอินเดียตะวันตกแต่ก็ได้เสียชีวิตด้วยโรคบิดที่นอกชายฝั่งเมืองปอร์โตเบโล (ในประเทศปานามาปัจจุบัน) ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและฟรานซิส เดรก · ดูเพิ่มเติม »

ฟลอเรนซ์

ฟลอเรนซ์ (Florence) หรือ ฟีเรนเซ (Firenze) เป็นเมืองหลวงของแคว้นทัสกานีและมณฑลฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ระหว่าง..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและฟลอเรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟิลาเดลเฟีย

ฟิลาเดลเฟีย Philadephia หรือที่ เรียกกันว่า Philly หรือ The City of Brotherly Love เป็นเมืองหลวงแห่งแรก ของ America เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐเพนซิลเวเนีย และเป็นเมืองที่พลเมืองหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับ 6 ของสหรัฐอเมริกา และเป็นเมืองที่มีพื้นที่เมืองจากประชากรเป็นอันดับ 5 Retrieved on March 12, 2011.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและฟิลาเดลเฟีย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2122

ทธศักราช 2122 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2122 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2128

ทธศักราช 2128 ตรงหรือใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2128 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2130

ทธศักราช 2130 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2130 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2150

ทธศักราช 2150 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2150 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2162

ทธศักราช 2162 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2162 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2163

ทธศักราช 2163 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2163 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2165

ทธศักราช 2165 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2165 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2172

ทธศักราช 2172 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2172 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2175

ทธศักราช 2175 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2175 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2179

ทธศักราช 2179 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2179 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2198

ทธศักราช 2198 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2198 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2206

ทธศักราช 2206 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2206 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2207

ทธศักราช 2207 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2207 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2208

ทธศักราช 2208 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2208 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2217

ทธศักราช 2217 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2217 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2224

ทธศักราช 2224 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2224 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2232

ทธศักราช 2232 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2232 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2234

ทธศักราช 2234 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2234 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2235

ทธศักราช 2235 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2235 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2241

ทธศักราช 2241 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2241 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2272

ทธศักราช 2272 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2272 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2282

ทธศักราช 2282 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2282 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2297

ทธศักราช 2297 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2297 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2306

ทธศักราช 2306 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2306 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2308

ทธศักราช 2308 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2308 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2313

ทธศักราช 2313 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2313 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2318

ทธศักราช 2318 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2318 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2319

ทธศักราช 2319 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2319 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2320

ทธศักราช 2320 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2320 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2321

ทธศักราช 2321 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2321 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2323

ทธศักราช 2323 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2323 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2324

ทธศักราช 2324 ตรงกับคริสต์ศักราช 1781 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2324 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2366

ทธศักราช 2366 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2366 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2457 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2461 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2470

ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2470 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2513 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)

รรคแรงงาน (Labour Party) เป็น พรรคการเมืองกลาง-ซ้ายในสหราชอาณาจักร ซึ่งเป็นหนึ่งในสามพรรคการเมืองใหญ่ของประเทศ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 (ค.ศ. 1900) ซึ่งเก่าแก่ที่สุดในสหราชอาณาจักร โดยเข้าควบรวมพรรคเสรีนิยมในช่วงต้นยุคปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเดโมแครต (สหรัฐ)

รรคเดโมแครต (Democratic Party) เป็นหนึ่งในสองพรรคการเมืองใหญ่ของสหรัฐ (อีกพรรคหนึ่งคือ ริพับลิกัน).

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพรรคเดโมแครต (สหรัฐ) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707

งราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ ค.ศ. 1707-1800) พระราชบัญญัติสห..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังบักกิงแฮม

ระราชวังบักกิงแฮม (Buckingham Palace) เดิมชื่อ คฤหาสน์บักกิงแฮม เป็นพระราชวังที่เป็นที่ประทับเป็นทางการของราชวงศ์อังกฤษตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอนในสหราชอาณาจักรเป็นสถานที่ที่ใช้สำหรับการเลี้ยงรับรองของรัฐและยังเป็นสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยวสำคัญที่หนึ่งของกรุงลอนดอน และยังเป็นที่รวมพลังใจทั้งในการฉลองและในยามคับขันของชาวอังกฤษ พระราชวังบักกิงแฮมแต่เดิมชื่อ “คฤหาสน์บักกิงแฮม” (Buckingham House) สิ่งก่อสร้างเดิมเป็นคฤหาสน์ที่สร้างสำหรับจอห์น เชฟฟิลด์ ดยุคแห่งบักกิงแฮมในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพระราชวังบักกิงแฮม · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังวินด์เซอร์

ระราชวังวินด์เซอร์ (ภาษาอังกฤษ: Windsor Castle) เป็นพระราชวังตั้งอยู่ที่วินด์เซอร์, มลฑลบาร์คเชอร์ในสหราชอาณาจักร สร้างโดยสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษเมื่อปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพระราชวังวินด์เซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 1 (Charles I; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600 — 30 มกราคม ค.ศ. 1649) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์สจวต รวมทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ (Charles II of England; 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 – 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685) พระมหากษัตริย์อังกฤษ พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ และพระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์ ในราชวงศ์สจวต ระหว่างปี ค.ศ. 1660 ถึงปี ค.ศ. 1685 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 พระราชสมภพเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 ที่พระราชวังเซนต์เจมส์ในกรุงลอนดอน เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระนางเฮนเรียตตา มาเรีย ได้อภิเษกสมรสกับพระนางแคเธอริน และครองสกอตแลนด์ระหว่างวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 ถึงวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 และ อังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 ถึงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ที่พระราชวังไวท์ฮอลในกรุงลอนดอน พระเจ้าชาลส์ที่ 2 เป็นพระมหากษัตริย์ตามกฎหมายหลังจากพระราชบิดาพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ถูกประหารชีวิตที่พระราชวังไวต์ฮอลเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 แต่รัฐสภาอังกฤษมิได้ประกาศแต่งตั้งให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์และผ่านบัญญัติว่าเป็นการดำรงตำแหน่งของพระองค์เป็นการผิดกฎหมาย จึงเกิดช่วงว่างระหว่างรัชกาลในอังกฤษ แต่ทางรัฐสภาสกอตแลนด์ประกาศให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ของชาวสกอตเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1649 ที่เอดินบะระ และรับพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1651 หลังจากที่พ่ายแพ้ยุทธการวูสเตอร์เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ก็เสด็จหนีไปยุโรปภาคพื้นทวีปและไปประทับลี้ภัยเป็นเวลา 9 ปีในประเทศฝรั่งเศสและเนเธอร์แลนด์ของสเปน หลังจากที่รัฐบาลสาธารณรัฐภายใต้การนำของริชาร์ด ครอมเวลล์ล่มในปี ค.ศ. 1659 นายพลจอร์จ มองค์ก็อัญเชิญชาลส์ให้กลับมาเป็นสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษในสมัยที่เรียกกันว่า “การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ” พระเจ้าชาลส์ที่ 2 เสด็จกลับถึงอังกฤษเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 และเสด็จเข้าลอนดอนในวันประสูติครบ 30 พรรษาเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 และทรงได้รับการราชาภิเศกเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษและ ไอร์แลนด์เมื่อวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 1660 รัฐสภาภายใต้การนำของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 ออกพระราชบัญญัติต่อต้านพิวริตันที่รู้จักกันในชื่อ “ประมวลกฎหมายแคลเรนดัน” (Clarendon code) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อหนุนสถานะของคริสตจักรแห่งอังกฤษ แม้ว่าในทางส่วนพระองค์แล้วพระเจ้าชาลส์ที่ 2 จะทรงสนับสนุนนโยบายความมีเสรีภาพในการนับถือศาสนาก็ตาม ส่วนปัญหาใหญ่ในด้านการต่างประเทศในต้นรัชสมัยก็คือการสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1670 พระเจ้าชาลส์ทรงไปทำสัญญาลับกับพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสที่ระบุว่าฝรั่งเศสจะช่วยอังกฤษในสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สาม และจะถวายเงินบำนาญแก่พระองค์โดยมีข้อแม้ว่าสมเด็จพระเจ้าชาลส์ต้องสัญญาว่าจะเปลื่ยนจากการนับถือนิกายแองกลิคันไปเป็นการนับถือนิกายโรมันคาทอลิก แต่พระเจ้าชาลส์มิได้ทรงระบุเวลาที่แน่นอนในเรื่องการเปลี่ยนนิกาย แต่ในขณะเดียวกันก็ทรงพยายามเพิ่มสิทธิและเสรีภาพให้แก่ผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิกและนิกายโปรเตสแตนต์ต่าง ๆ มากขึ้นโดยการออกพระราชปฏิญญาพระคุณการุญในปี ค.ศ. 1672 แต่รัฐสภาบังคับให้ทรงถอนในปี ค.ศ. 1679 ในปี ค.ศ. 1679 ไททัส โอตส์สร้างข่าวลือเรื่อง “การลอบวางแผนโพพิช” ที่เป็นผลให้เกิดวิกฤตกาลการกีดกัดต่อมา เมื่อเป็นที่ทราบกันว่าดยุกแห่งยอร์กพระอนุชาของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และรัชทายาทผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าเจมส์ที่ 2เปลี่ยนไปนับถือโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ทำให้บ้านเมืองแบ่งเป็นสองฝักสองฝ่าย ฝ่ายวิกสนับสนุนการยกเว้นไม่ให้ดยุกแห่งยอร์กขึ้นครองราชย์และฝ่ายทอรีต่อต้านการยกเว้น พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ทรงเข้าข้างฝ่ายหลัง หลังจากที่ผู้ก่อการโปรเตสแตนต์วางแผน “การลอบวางแผนไรย์เฮาส์” ที่จะปลงพระองค์เองและดยุกแห่งยอร์กในปี ค.ศ. 1683 ที่ทำให้ผู้นำพรรควิกหลายคนถูกประหารชีวิตหรือถูกเนรเทศ พระเจ้าชาลส์ที่ 2 จึงทรงยุบสภาในปี ค.ศ. 1679 และทรงราชย์โดยไม่มีรัฐสภาจนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ก่อนจะเสด็จสวรรคตพระเจ้าชาลส์ที่ 2 ก็ทรงเปลี่ยนไปนับถือโรมันคาทอลิกบนพระแท่นที่ประชวร พระเจ้าชาลส์ไม่มีพระราชโอรสธิดากับพระนางแคเธอรินแห่งบราแกนซา เพราะพระนางทรงเป็นหมัน แต่ทรงยอมรับว่ามีพระราชโอรสธิดานอกสมรส 12 องค์กับพระสนมหลายคน พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ทรงเป็นที่รู้จักกันในพระนาม “ราชาเจ้าสำราญ” (Merrie Monarch) ซึ่งหมายถึงการใช้ชีวิตในราชสำนักของพระองค์ที่เต็มไปด้วยความสนุกสำราญซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการที่ถูกเก็บกดมาเป็นเวลานานภายใต้การปกครองของโอลิเวอร์ ครอมเวลล์และกลุ่มพิวริตัน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ

ลายเซ็นของพระองค์ พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ (William III of England; 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1650 — 8 มีนาคม ค.ศ. 1702) ทรงเป็นที่รู้จักกันในนามว่า วิลเลียมที่ 2 แห่งสกอตแลนด์ และ วิลเลมที่ 3 แห่งออเรนจ์ ทรงเป็นขุนนางดัทช์ชั้นสูง และทรงเป็นศาสนิกชนนิกายโปรแตสแตนต์ เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายวิลเลมแห่งออเรนจ์และเจ้าหญิงแมรี สจวตประสูติที่ The Hague ภายหลัง 8 วันจากที่พระองค์ประสูติ พระบิดาของพระองค์ก็สวรรคตด้วยไข้ทรพิษ ดังนั้นจึงทำให้พระเจ้าวิลเลียมทรงกลายเป็นเจ้าชายผู้ทรงอำนาจสูงสุดนับตั้งแต่ถือกำเนิดเลยทีเดียวก็ว่าได้ ต่อมาเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2203 เมื่อพระเจ้าวิลเลียมมีพระชนมายุได้ราวสิบกว่าพรรษา พระราชมารดาก็สวรรคตด้วยไข้ทรพิษในระหว่างที่ทรงเยี่ยมพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเชษฐาของพระองค์ โดยก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ลงได้ทรงตัดสินใจให้พระเจ้าชาลส์เป็นผู้ปกครอง โดยพระเจ้าชาลส์นั้นได้ทรงมอบหน้าที่ให้เป็นของเจ้าหญิงอมาเลีย เนื่องจากทรงเข้าใจในพระราชประสงค์ของพระเจ้าชาลส์เป็นอย่างดี และพระองค์ก็มิได้ทรงละเลยในการเขียนจดหมายติดต่อถึงหลานชายแต่อย่างใด ในปี พ.ศ. 2217 พระองค์ได้มีความพยายามในการที่จะสมรสกับแมรีหลานสาวของพระองค์เอง ซึ่งแมรี่เป็นธิดาของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ การสมรสนี้แม้นว่าเป็นไปอย่างยาก ลำบากมากก็ตาม แต่ในที่สุดก็ทรงได้เข้าพิธีอภิเษกสมรสในปี พ.ศ. 2220 พระองค์ได้ทรงเข้าไปมีส่วนร่วมในสงครามที่ต่อต้านอำนาจพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสหลายต่อหลายครั้งด้วยกัน เหล่าสมาชิกนิกายโปรแตสแตนต์ถึงกับได้มอบเหรียญตราและเครื่องราชอิสริยาภรณ์เนื่องจากเลื่อมใสศรัทธาในพระองค์ แต่นั่นก็เป็นเพียงแค่บางส่วนเท่านั้น ชื่อเสียงและกิตติศัพท์ของพระองค์ทำให้พระองค์ทรงได้รับการสถาปนาเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษในเวลาต่อมา ถึงแม้ว่าจะมีเหตุผลอื่น ในการประสบความสำเร็จของพระองค์จะเป็นในด้านการทหาร หรือกองเรือรบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดก็ตาม พระองค์สวรรคตในปี พ.ศ. 2245 ด้วยโรคปอดอักเสบ อันเนื่องจากการที่พระองค์ทรงตกจากม้าของพระองค์เอง และเป็นที่เชื่อกันว่าม้าของพระองค์ นั้นได้ก้าวเท้าพลาดไปสะดุดกับรังของตัวตุ่นเข้า และนี่คงเป็นเหตุผลหนึ่งของที่มา ในการดื่มอวยพร Make a toasted ซึ่งมักจะมีการนิยมกล่าวกันในระหว่างที่ดื่มอวยพรว่า "the little gentleman in the black velvet waistcoat." และในปีถัดมา ท่านเซอร์วินสตัน เชอร์ชิล ก็ได้เพิ่มเติมลงไปอีกว่า "opened the trapdoor to a host of lurking foes".

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่

ระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่ (George II of Great Britain) พระราชสมภพเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (George III of the United Kingdom) (4 มิถุนายน ค.ศ. 1738 – 29 มกราคม ค.ศ. 1820) เป็นพระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และราชอาณาจักรไอร์แลนด์สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ ระหว่างวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร (George V of the United Kingdom) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ซึ่งทรงสถาปนาขึ้นจากราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาสายอังกฤษ ในฐานะที่ทรงเป็นประมุขสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพแห่งอังกฤษ พระองค์เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดียและปฐมกษัตริย์เสรีรัฐไอร์แลนด์อีกด้วย พระองค์ทรงครองสิริราชสมบัติตั้งแต่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2453 ผ่านช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2457 ถึง พ.ศ. 2461) จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2479 พระองค์ทรงปฏิบัติราชการในราชนาวีอังกฤษตั้งแต่พระชนมายุ 12 พรรษา แต่หลังจากการสิ้นพระชนม์อย่างไม่คาดฝันของเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งแคลเรนซ์และแอวันเดล พระเชษฐา ทำให้ทรงกลายเป็นรัชทายาทในราชบัลลังก์และอภิเษกสมรสกับพระคู่หมั้นของพระเชษฐาคือเจ้าหญิงแมรีแห่งเทก ถึงแม้ว่าทั้งสองพระองค์จะเสด็จประพาสจักรวรรดิอังกฤษเป็นบางโอกาส แต่พระเจ้าจอร์จที่ 5 โปรดที่จะประทับที่พระตำหนักพร้อมกับการสะสมดวงตราไปรษณียากร และทรงมีชีวิตที่ต่อมานักชีวประวัติเห็นว่าไม่น่าสนใจเนื่องจากความเป็นธรรมดาและเรียบง่าย เมื่อสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 พระราชบิดาเสด็จสวรรคตในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ (19 มิถุนายน พ.ศ. 2109 – 27 มีนาคม พ.ศ. 2168) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ตั้งแต่วันที่ 24 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษหรือพระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์ พระเจ้าเจมส์ที่ 2แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2228 – พ.ศ. 2232) หรือ พระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์ เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ พระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์ และพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2228 ถึง 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2232 นับว่าเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษพระองค์สุดท้ายที่นับถือนิกายโรมันคาทอลิก เมื่อเทียบกับช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ไทย พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษทรงครองราชย์ในเวลาเดียวกันกับระหว่างรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชในสมัยกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าเจมส์เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระนางเฮนเรียตตา มาเรีย ประสูติที่พระราชวังเซนต์เจมส์ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พิวริตัน

อห์น เฮาว์ (John Howe) และ ริชาร์ด แบ็กซ์เตอร์ (Richard Baxter) พิวริตัน (Puritan) จาก คริสต์ศตวรรษที่ 16 และ คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นคำที่ใช้เรียกกลุ่มคริสต์ศาสนิกชนที่สนับสนุนความเชื่อทางปรัชญาและการกระทำพิธีทางศาสนาที่ “บริสุทธิ์” (“Purity”) กว่า และความเคร่งครัดส่วนบุคคล กลุ่มพิวริตันเชื่อว่าการปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ (English Reformation) ยังไม่เพียงพอและคริสตจักรแห่งอังกฤษยังทำพิธีศาสนาที่ไม่ต่างไปจากพิธีศาสนาของศาสนจักรโรมันคาทอลิกเท่าใดนัก คำว่า “พิวริตัน” เป็นคำที่ใช้เรียกแทนคำว่า “คาร์ธาร์” ที่ใช้เรียกผู้ที่มีหัวรุนแรงที่เป็นผู้นับถือลัทธิคาร์ธาริสม์ (Catharism) ในฝรั่งเศส บางครั้งกลุ่มเพียวริตันก็ร่วมมือกับคณะเพรสไบทีเรียน (Presbyterian) ในการตั้งข้อเสนอเพื่อที่จะทำให้นิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์ใกล้กับคริสตจักรปฏิรูป (Reformed Churches) บนแผ่นดินใหญ่ยุโรปมากขึ้น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและพิวริตัน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐ

กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐอเมริกา (Native Americans in the United States) เป็นวลีที่หมายถึงชนพื้นเมืองในทวีปอเมริกาจากทวีปอเมริกาเหนือที่รวมแผ่นดินใหญ่ของสหรัฐอเมริกาและบางส่วนของอะแลสกาและฮาวาย ที่ประกอบด้วยกลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันหลายกลุ่มที่เป็นชนเผ่าอินเดียน (Indian tribe) แต่เป็นคำที่ถือว่าไม่สุภาพต่อคนหลายคนที่รวมทั้งรัสเซลล์ มีนส์นักปฏิกิริยาของขบวนการอเมริกันอินเดียน (American Indian Movement) ตามความเห็นของมีนส์ “ในการสัมนานานาชาติของอินเดียนจากทวีปอเมริกาที่กรุงเจนีวาในสวิตเซอร์แลนด์ที่สหประชาชาติ ใน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและกลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

กอร์ดอน บราวน์

มส์ กอร์ดอน บราวน์ (James Gordon Brown; 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494) เป็นชาวสกอตแลนด์ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรและควบตำแหน่งลอร์ดแห่งสภาการคลัง, รัฐมนตรีการสวัสดิการสังคม และหัวหน้าพรรคแรงงาน ซึ่งเข้ารับตำแหน่งในฐานะหัวหน้าพรรคแรงงานเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2550 โดยก่อนหน้านั้นเขาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงการคลังในรัฐบาลของนายโทนี แบลร์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและกอร์ดอน บราวน์ · ดูเพิ่มเติม »

การกำหนดการปกครองด้วยตนเอง

การกำหนดการปกครองด้วยตนเอง (Self-determination) คือ สิทธิของบุคคลที่สามารถกำหนดการกระทำของตนเองได้โดยปราศจากการบังคับจากภายนอก ในทางการเมือง หลักการดังกล่าวถูกมองว่าเป็นเสรีภาพของบุคคลในดินแดนที่ยกให้หรือการรวมชาติที่จะกำหนดสถานะทางการเมืองของตน และวิธีการปกครองโดยปราศจากอิทธิพลมากเกินควรจากประเทศอื่น จนถึงปัจจุบันยังมีความขัดแย้งในการจำกัดความและหลักเกณฑ์ทางกฎหมายสำหรับการกำหนดกลุ่มซึ่งกล่าวอ้างสิทธิการกำหนดการปกครองด้วยตนเองทางกฎหมายBetty Miller Unterberger,, Encyclopedia of American Foreign Policy, 2002.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง · ดูเพิ่มเติม »

การลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557

มีการลงประชามติว่าประเทศสกอตแลนด์ควรเป็นประเทศเอกราชหรือไม่ในวันที่ 18 กันยายน 2557 หลังความตกลงระหว่างรัฐบาลสกอตแลนด์และสหราชอาณาจักร มีการเสนอร่างพระราชบัญญัติการลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ซึ่งกำหนดการจัดการลงประชามตินี้ในวันที่ 21 มีนาคม 2556 ผ่านรัฐสภาสกอตแลนด์เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2556 และได้รับพระบรมราชานุญาตในวันที่ 17 ธันวาคม 2556 คำถามลงประชามติที่คณะกรรมการการเลือกตั้งแนะนำจะเป็น "สกอตแลนด์ควรเป็นประเทศเอกราชหรือไม่" ผู้ออกเสียงลงคะแนนตอบได้เพียงใช่หรือไม่ ผู้อยู่อาศัยทุกคนในสกอตแลนด์ที่มีอายุเกิน 16 ปีสามารถออกเสียงลงมติได้โดยมีข้อยกเว้นบางประการ รวมมีกว่า 4 ล้านคน ข้อเสนอเอกราชต้องการคะแนนเสียงข้างมากปรกติจึงจะผ่าน เยสสกอตแลนด์ (Yes Scotland) เป็นกลุ่มรณรงค์หลักสนับสนุนเอกราช ขณะที่เบตเทอร์ทูเกเธอร์ (Better Together) เป็นกลุ่มรณรงค์หลักคัดค้านเอกราช ขณะที่กลุ่มรณรงค์ พรรคการเมือง ธุรกิจ หนังสือพิมพ์และปัจเจกบุคคลสำคัญอื่นอีกมากเกี่ยวข้องด้วยเช่นกัน ปัญหาสำคัญที่ถูกหยิบยกระหว่างการรณรงค์มีเงินตราซึ่งสกอตแลนด์หลังได้รับเอกราชจะใช้ รายจ่ายสาธารณะและน้ำมันทะเลเหนือ การนับคะแนนเริ่มหลังปิดการออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งเมื่อ 22:00 BST (21:00 UTC) ของวันที่ 18 กันยายน เช้าวันที่ 19 กันยายน 2557 เมื่อนับการลงมติทั้งหมดแล้ว 55.3% ลงมติคัดค้านเอกราช หลังจากนั้น อเล็กซ์ ซัลมอนด์ นายกรัฐมนตรีสกอตแลนด์ได้ประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและหัวหน้าพรรคแห่งชาติสกอตเพื่อแสดงความรับชอบต่อผลประชามต.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและการลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

การล่มสลายของสหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตถูกยุบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2534 ตามปฏิญญาหมายเลข 142-เอชแห่งสภาโซเวียตแห่งสาธารณรัฐ (Soviet of the Republics)Declaration № 142-Н of the Soviet of the Republics of the Supreme Soviet of the Soviet Union, formally establishing the dissolution of the Soviet Union as a state and subject of international law.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและการล่มสลายของสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

การสิ้นพระชนม์ของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์

วันที่ 31 สิงหาคม..​ 2540 ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ สิ้นพระชนม์ภายหลังทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ภายในอุโมงค์ทางลอดสะพานปองต์เดอลัลมา กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดดี ฟาเยด พระสหาย และอองรี ปอล คนขับรถ เสียชีวิตในที่เกิดเหตุ มีผู้รอดชีวิตเพียงคนเดียวคือ เทรเวอร์ รีส์–โจนส์ ผู้ทำหน้าที่องครักษ์  ขบวนช่างภาพปาปารัสซีที่ติดตามไดอานาตกเป็นจำเลยสังคมทันที เนื่องจากมีการนำเสนอข่าวว่าช่างภาพปาปารัสซีเป็นสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุ แต่การสืบสวนของหน่วยงานยุติธรรมของฝรั่งเศสซึ่งใช้เวลานานกว่า 18 เดือน สรุปผลว่า นายอองรี ปอล อยู่ในอาการมึนเมาขณะขับรถยนต์และไม่สามารถควบคุมรถซึ่งขับมาด้วยความเร็วสูงได้ จึงทำให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นในคืนนั้น อองรี ปอล นั้นเป็นรองหัวหน้าแผนกรักษาความปลอดภัยโรงแรมริตซ์ และก่อนเกิดอุบัติเหตุเขาได้ท้าทายกลุ่มช่างภาพปาปารัสซีที่คอยอยู่หน้าโรงแรม เจ้าหน้าที่นิติเวชยังตรวจพบยาต้านอาการทางจิต และยาต้านโรคซึมเศร้าในตัวอย่างเลือดของอองรี ปอลNundy, Julian; Graves, David. . The Daily Telegraph.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและการสิ้นพระชนม์ของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

การซื้ออะแลสกา

็ค 7.2 ล้านดอลลาร์ที่ใช้ซื้ออะแลสกา (คิดเป็น 119 ล้านดอลลาร์ ตามค่าเงินในปี 2014) การซื้ออะแลสกา (Alaska Purchase; Продажа Аляски) เป็นการที่สหรัฐอเมริกาได้มาซึ่งรัชเชียนอเมริกาจากจักรวรรดิรัสเซีย ใน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและการซื้ออะแลสกา · ดูเพิ่มเติม »

การประกาศเลิกทาส

ำเนาใบประกาศเลิกทาสของประธานาธิบดี อับราฮัม ลินคอล์น การประกาศเลิกทาส (Emancipation Proclamation) เป็นคำสั่งของฝ่ายบริหารที่ออกโดยประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา อับราฮัม ลินคอล์น เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและการประกาศเลิกทาส · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์

กุมภาพันธ์ เป็นเดือนที่ 2 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นเดือนที่มีจำนวนวัน 28 หรือ 29 วัน โดยปกติจะมี 28 วัน ยกเว้นปีอธิกสุรทินที่มี 29 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกุมภาพันธ์เริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกุมภ์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีมีน แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกุมภาพันธ์ดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวแพะทะเล และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำในปลายเดือน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและกุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์การ์ตูน

การ์ตูนม้าเคลื่อนไหว เกิดจากการซ้อนภาพหลายภาพต่อเนื่องกัน ภาพยนตร์การ์ตูน เป็นทัศนศิลป์รูปแบบหนึ่ง มีรูปแบบเป็นภาพเคลื่อนไหวที่สร้างด้วยการฉายภาพวาด ต่อเนื่องกันด้วยความเร็วสูง ผิดกับภาพยนตร์ซึ่งสร้างโดยใช้กล้องบันทึกภาพของวัตถุเคลื่อนไหวด้วยความเร็วสูง.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและภาพยนตร์การ์ตูน · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่

วะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ (Great Depression) เป็นเหตุการณ์เศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ที่เกิดในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป ในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ก ทเวน

ซามูเอล แลงฮอร์น คลีเมนส์ มาร์ก ทเวน (1909) มาร์ก ทเวน (Mark Twain) เป็นนามปากกาของ ซามูเอล แลงฮอร์น คลีเมนส์ (Samuel Langhorne Clemens; 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1835 - 21 เมษายน ค.ศ. 1910) เป็นนักเขียน นักบรรยาย และนักเขียนเรื่องขบขันชาวอเมริกันที่มีชื่อเสียง และยังเป็นคนขับเรือกลไอน้ำ นักขุดทอง และนักหนังสือพิมพ์อีกด้วย ในช่วงสูงสุดของชีวิตเขานั้น เรียกได้ว่าเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่งในยุคนั้นเลยทีเดียว วิลเลียม ฟอล์คเนอร์ (William Faulkner) ได้เขียนเกี่ยวกับ มาร์ก ทเวน ไว้ว่า เป็น "นักเขียนอเมริกันแท้ ๆ คนแรก และพวกเรานับแต่นั้นมาเป็นทายาทของเขา" ผลงานของเขาที่น่าจะเป็นที่คุ้นตาของคนไทย ก็คือ ทอม ซอว์เยอร์ ผจญภัย (The Adventures of Tom Sawyer) และ ฮัคเคิลเบอรี่ ฟินน์ ผจญภัย (The Adventures of Huckleberry Finn).

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและมาร์ก ทเวน · ดูเพิ่มเติม »

มาร์กาเรต แทตเชอร์

มาร์กาเรต ฮิลดา แทตเชอร์ (Margaret Thatcher) หรือยศขุนนางอังกฤษคือ บารอเนสแทตเชอร์ (ชื่อเดิม มาร์กาเรต ฮิลดา โรเบิตส์; 13 ตุลาคม พ.ศ. 24688 เมษายน พ.ศ. 2556) นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรตั้งแต่ พ.ศ. 2522 ถึง พ.ศ. 2533 และเป็นผู้นำพรรคอนุรักษนิยมตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึงปี พ.ศ. 2533 โดยเป็นผู้หญิงคนแรก ที่ดำรงทั้งสองตำแหน่งพร้อมกันในประวัติศาสตร์สหราชอาณาจักร บารอนเนสแทตเชอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรเป็นเวลายาวนานที่สุดนับตั้งแต่สมัยของลอร์ดซอลส์เบอรี และอยู่ในตำแหน่งติดต่อกันยาวนานที่สุดนับตั้งแต่สมัยของลอร์ดลิเวอร์พูล นายกรัฐมนตรีในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นสตรีคนแรกที่นำพรรคการเมืองเสียงข้างมากของสหราชอาณาจักร และเป็นสตรีคนแรกของเพียงสามคนที่ได้ดำรงหนึ่งในสี่ตำแหน่งสำคัญของประเทศ หลังจากการเกษียณตัวเองจากการเมืองในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและมาร์กาเรต แทตเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาดอนน่า

มาดอนนา ลูอิส ชีโคเน (Madonna Louise Ciccone) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปในชื่อของ มาดอนน่า เป็นนักร้องสาวแนวเพลงป็อปชาวอเมริกัน เป็นศิลปินที่ได้รับความนิยมมาก มีชื่อเสียงแพร่หลายไปทั่วทุกมุมโลก ด้วยภาพลักษณ์ที่แรง เป็นคนกล้า มุ่งมั่น และชัดเจน อันเป็นเอกลักษณ์ของเธอเสมอมา โดยเป็นนักร้องหญิงเพียงคนเดียวที่มีเพลงขึ้นอันดับหนึ่งมากกว่า 10 เพลงทั้งฝั่งอเมริกา และอังกฤษ และได้รับฉายาว่าเป็น"ราชินีแห่งเพลงป็อป" นอกจากความสามารถด้านการร้องเพลงแล้ว มาดอนน่ายังเป็นนักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ ผู้กำกับภาพยนตร์ และนักแสดงอีกด้ว.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและมาดอนน่า · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียแห่งเท็ค

มาเรียแห่งเท็ค (Maria von Teck) หรือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย แมรี ออกัสตา ลูอิส โอลกา พอลีน คลอดีน แอกเนสแห่งเท็ค (Princess Victoria Mary Augusta Louise Olga Pauline Claudine Agnes of Teck) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ พระนางเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 5 จึงถูกออกพระนามว่า สมเด็จพระราชินีแมรี (Queen Mary) พระนางยังทรงมีพระยศเป็นจักรพรรดินีแห่งอินเดียและพระราชินีแห่งไอร์แลนด์อีกด้วย หกสัปดาห์ภายหลังจากการหมั้นหมายกับเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ เจ้าชายสิ้นพระชนม์ด้วยโรคปวดบวม ในปีต่อมาเจ้าหญิงแมรีทรงหมั้นหมายกับรัชทายาทพระองค์ใหม่ พระอนุชาในเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ คือ เจ้าชายจอร์จ ในฐานะสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2453 พระองค์ทรงสนับสนุนพระราชสวามีตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เนื่องจากพระพลานามัยที่ไม่สมบูรณ์และการเปลี่ยนแปลงทางการครั้งใหญ่ที่เกิดมาจากผลกระทบหลังสงครามและการอุบัติขึ้นของลัทธิสังคมนิยมและชาตินิยม หลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระราชสวามีเมื่อปี พ.ศ. 2479 เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด พระโอรสองค์โตได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี-จักรพรรดิ แต่กลับสร้างความผิดหวังให้กับพระองค์ด้วยการสละราชสมบัติในปีเดียวกันเพื่ออภิเษกกับนางวอลลิส ซิมป์สัน สาวสังคมชาวอเมริกันที่หย่าร้างมาแล้วสองครั้ง พระองค์ทรงสนับสนุนเจ้าชายอัลเบิร์ต ซึ่งทรงสืบต่อราชบัลลังก์อังกฤษเป็นพระเจ้าจอร์จที่ 6 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2495 พระองค์ก็เสด็จสวรรคตในปีต่อมา ในช่วงเวลาของพระองค์ สมเด็จพระราชินีแมรีทรงเป็นที่รู้จักถึงการกำหนดลีลาให้พระราชวงศ์อังกฤษดำเนินไป ในฐานะที่ทรงเป็นแบบอย่างของความเป็นระเบียบทางการและขนบธรรมเนียมของพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะในงานพระราชพิธีต่าง ๆ พระองค์เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีที่ทรงเข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษกของทายาทของพระองค์ นอกจากนั้นพระองค์ที่ยังทรงเป็นที่รู้จักถึงการประดับเพชรพลอยในงานพิธีทางการต่าง ๆ ทรงทิ้งชุดเครื่องเพชรต่างๆ ซึ่งถือว่าประเมินค่ามิได้ในขณะนี้เอาไว้.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและมาเรียแห่งเท็ค · ดูเพิ่มเติม »

มิเชลล์ โอบามา

นางมิเชลล์ ลาวอห์น โรบินสัน โอบามา (เกิด 17 มกราคม พ.ศ. 2507) เป็นภรรยาของบารัก โอบามา ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 44 ซึ่งนั่นทำให้เธอดำรงสถานะสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งแห่งสหรัฐอเมริกา และนับเป็นคนแรกที่มีเชื้อสายแอฟริกัน-อเมริกัน มิเชลล์เกิดและโตในทางตอนใต้ของชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน และโรงเรียนกฎหมายมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ภายหลังจากจบการศึกษามิเชลล์ได้กลับไปทำงานกับสำนักงานกฎหมายซิดลีย์ออสตินในชิคาโก ก่อนจะพบรักกับบารัก และแต่งงานกัน ทั้งคู่มีบุตรสาวด้วยกันสองคนคือ มาเลีย แอน และซาช่า ในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและมิเชลล์ โอบามา · ดูเพิ่มเติม »

มีนาคม

มีนาคม เป็นเดือนสามของปี ในทั้งปฏิทินเกรกอเรียนและปฏิทินจูเลียน เป็นหนึ่งในเจ็ดเดือนที่มี 31 วัน เดือนมีนาคมในซีกโลกเหนือมีฤดูกาลเทียบเท่ากับเดือนกันยายนในซีกโลกใต้ ในซีกโลกเหนือ วันที่ 1 มีนาคมเป็นวันเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิทางอุตุนิยมวิทยา ส่วนในซีกโลกใต้ วันเดียวกันเป็นการเข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วงทางอุตุนิยมวิทยา เดือนมีนาคมมีวันในสัปดาห์เริ่มต้นตรงกับเดือนพฤศจิกายนทุกปี และเดือนกุมภาพันธ์เฉพาะปีปกติสุรทิน เดือนมีนาคมสิ้นสุดวันในสัปดาห์เดียวกับเดือนมิถุนายนทุกปี ในปีอธิกสุรทิน เดือนมีนาคมเริ่มต้นในวันเดียวกับเดือนกันยายนและธันวาคมของปีก่อนหน้า ในปีปกติสุรทิน เดือนมีนาคมเริ่มต้นในวันเดียวกับเดือนมิถุนายนปีก่อนหน้า คำว่า "March" ในภาษาอังกฤษ มาจากโรมโบราณ เมื่อเดือนมีนาคมเป็นเดือนแรกของปี และได้ชื่อภาษาละตินว่า "มาร์ติอุส" (Martius) ตามมาร์ส หรือแอรีส เทพแห่งสงครามของกรีก ในโรม ซึ่งมีลักษณะอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน เดือนมีนาคมเป็นเดือนแรกของฤดูใบไม้ผลิ จุดเริ่มต้นปีตามหลักเหตุผล และการเริ่มต้นฤดูกาลศึกสงคราม เดือนมกราคมเป็นเดือนแรกของปีปฏิทินในรัชสมัยกษัตริย์นูมา ปอมปิเลียส (ประมาณ 713 ปีก่อน ค.ศ.) หรือในรัชสมัยกษัตริย์เดเซมวีร์ราว 450 ก่อน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและมีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

ยูคอน

ูคอน (Yukon) เป็นดินแดนทางตะวันตกสุดและเป็นดินแดน ใน 3 ดินแดนที่เล็กที่สุดของประเทศแคนาดา ตั้งชื่อตามแม่น้ำยูคอน ซึ่งคำว่ายูคอนมีความหมายว่า "แม่น้ำใหญ่" ในภาษา Gwich’in ดินแดนนี้ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและยูคอน · ดูเพิ่มเติม »

ระบบเวสต์มินสเตอร์

ระราชวังเวสต์มินสเตอร์ ระบบเวสมินสเตอร์ เป็นระบอบการปกครองประชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา ซึ่งยึดตามการเมืองสหราชอาณาจักร คำนี้มาจากพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ อันเป็นที่ประชุมรัฐสภาสหราชอาณาจักร ระบบเวสมินสเตอร์ คือ ชุดวิธีดำเนินการสำหรับการดำเนินสภานิติบัญญัต.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและระบบเวสต์มินสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบริติชโคลัมเบีย

รัฐบริติชโคลัมเบีย (ภาษาอังกฤษ: British Columbia; ภาษาฝรั่งเศส: la Colombie-Britannique) คือรัฐหนึ่งของประเทศแคนาดา ที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกสุดของประเทศ รัฐบริติชโคลัมเบีย มีเมืองหลวงชื่อว่า "วิคตอเรีย" มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 15 ของประเทศ โดยมีเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐคือเมือง "แวนคูเวอร์" ซึ่งเมืองแวนคูเวอร์นี้ เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของประเท.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและรัฐบริติชโคลัมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย

รัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย (Baja California) เป็นรัฐเหนือสุดและตะวันตกสุดของประเทศเม็กซิโก ก่อนที่เป็นรัฐในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและรัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกันชน

รัฐกันชน (Buffer state) คือประเทศที่ตั้งอยู่ระหว่างรัฐมหาอำนาจคู่แข่งหรือเป็นปรปักษ์ระหว่างกัน ซึ่งสาเหตุของการคงอยู่มีเพื่อเป็นการป้องกันความขัดแย้งระหว่างรัฐมหาอำนาจด้วยกัน รัฐกันชนที่มีเอกราชอย่างแท้จริง มักจะดำเนินนโยบายต่างประเทศสายกลาง ซึ่งเป็นการป้องกันตนเองจากการตกเป็นรัฐบริวาร ความร่วมมือกันระหว่างรัฐกันชนเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีการถ่วงดุลอำนาจ ซึ่งเข้าสู่ยุทธศาสตร์และการคิดในเชิงการทูตของยุโรปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 บ่อยครั้งที่การรุกรานรัฐกันชนโดยหนึ่งในมหาอำนาจที่รายล้อมมันอยู่มักจะก่อให้เกิดสงครามระหว่างประเทศ อย่างเช่น การรุกรานเบลเยียมของเยอรมนี ทำให้สหราชอาณาจักรตัดสินใจเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและรัฐกันชน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐวอชิงตัน

รัฐวอชิงตัน (Washington) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ในวอชิงตันมีธุรกิจชั้นนำของโลกหลายบริษัทได้แก่ โบอิง (ปัจจุบันย้ายไปที่ รัฐอิลลินอยส์) ไมโครซอฟท์ แอมะซอน.คอม นินเทนโดอเมริกา และเศรษฐกิจอื่นได้แก่ การท่องเที่ยว อิเล็กทรอนิกส์ การทำเหมืองแร่ ป่าไม้ และผลิตภัณฑ์จากไม้ ถึงแม้ว่าชื่อจะคล้ายกัน วอชิงตัน ดี.ซี. ซึ่งเป็นเมืองหลวงของสหรัฐฯ อยู่ทางตะวันออกของประเทศ และไม่ได้อยู่ในรัฐวอชิงตัน ในภาพยนตร์เรื่อง Sleepless in seattle ก็สร้างในเมือง ซีแอตเติล รัฐวอชิงตัน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและรัฐวอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาสหราชอาณาจักร

รัฐสภาสหราชอาณาจักร หรือ รัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ (Parliament of the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland หรือ Parliament of the United Kingdom) เป็นสถาบันฝ่ายนิติบัญญัติสูงสุดในสหราชอาณาจักรและดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร โดยมีประมุขเป็นพระมหากษัตริย์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 รัฐสภาสหราชอาณาจักรอังกฤษเป็นระบบสองสภา (Bicameralism) ซึ่งประกอบไปด้วย “สภาสูง” หรือ สภาขุนนาง (House of Lords) และ “สภาล่าง” หรือ สภาสามัญชน (House of Commons) พระมหากษัตริย์เป็นองค์ประกอบที่สามของรัฐสภา สภาทั้งสองสภาประชุมแยกกันในห้องประชุมรัฐสภาภายในพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า “ตึกรัฐสภา” ที่นครเวสต์มินสเตอร์ในกรุงลอนดอน ตามปกติแล้วรัฐมนตรีของรัฐบาลทั้งหมดรวมทั้งนายกรัฐมนตรีเป็นสมาชิกสภาสามัญชน แต่ก็มีข้อยกเว้นในบางกรณีที่เป็นสมาชิกของสภาขุนนาง ที่ประชุมรัฐสภา ณ พระราชวังเวสมินเตอร์ รัฐสภาสหราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งเป็นครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและรัฐสภาสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาอังกฤษ

รัฐสภาอังกฤษและพระมหากษัตริย์ ราว ค.ศ. 1300 รัฐสภาอังกฤษ (Parliament of England) เป็นสถาบันฝ่ายนิติบัญญัติสูงสุดในราชอาณาจักรอังกฤษ รัฐสภาอังกฤษวิวัฒนาการมาจากสภาของต้นยุคกลางซึ่งมีหน้าที่ให้คำปรึกษาต่อพระมหากษัตริย์อังกฤษ การวิวัฒนาการทำให้อำนาจของรัฐสภาเพิ่มมากขึ้นในขณะที่อำนาจของพระมหากษัตริย์ลดน้อยลง เมื่อรัฐสภาอังกฤษและรัฐสภาแห่งสกอตแลนด์ลงนามในพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 ซึ่งรวมราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรสกอตแลนด์เข้าด้วยกัน รัฐสภาอังกฤษและรัฐสภาแห่งสกอตแลนด์ก็ถูกยุบ รัฐสภาใหม่กลายเป็นรัฐสภาแห่งบริเตนใหญ่ และในที่สุดก็เป็นรัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักรซึ่งเป็นรากฐานของระบบรัฐสภาของอังกฤษในปัจจุบัน ซึ่งทำให้ระบบรัฐสภาของสหราชอาณาจักรเป็นระบบรัฐสภาที่เก่าแก่ที่สุดในโลกจนได้รับสมญานามว่า “แม่แห่งรัฐสภา” ซึ่งเป็นระบบประชาธิปไตยที่เป็นรากฐานของมาตรฐานในการก่อตั้งระบบรัฐสภาทั่วโลก.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและรัฐสภาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐออริกอน

รัฐออริกอน (Oregon) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทางตะวันตกของประเทศ ภูมิประเทศในรัฐมีความหลากหลายตั้งแต่ ป่า และ ชายฝั่งทะเล รวมถึงที่ราบลุ่มและทะเลทราย เมืองหลวงของรัฐคือ เซเลม และเมืองสำคัญในรัฐได้แก่ พอร์ตแลนด์ ยูจีน และ ออริกอนซิตี มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงได้แก่ มหาวิทยาลัยรัฐพอร์ตแลนด์ หรือ Portland State University มหาวิทยาลัยออริกอน ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ พอร์ตแลนด์ เทรลเบรเซอรส์ ในปี 2551 ออริกอนมีประชากรประมาณ 3,747,455 คน ชื่อรัฐออริกอน ออกเสียงตามคนในรัฐออริกอนว่า /ˈɔr.ə.g(ə)n/ (ออริกัน) โดยชื่อมักจะถูกออกเสียงเป็น /ˈɔr.ə.ˌgɑn/ (ออริกอน) โดยในรัฐจะเห็นชื่อรัฐเขียนเป็น "Orygun" เพื่อบอกให้นักท่องเที่ยวรู้คำอ่านของชื่อรัฐอย่างถูกต้อง.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและรัฐออริกอน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐโนวาสโกเชีย

รัฐโนวาสโกเชีย (Nova Scotia) เป็นรัฐในแคนาดา ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของแคนาดา เป็นรัฐที่มีพลเมืองหนาแน่นที่สุดของแคนาดาทางฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก มีเมืองหลวงคือ แฮลิแฟกซ์ เป็นเมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของรัฐ รัฐโนวาสโกเชียยังเป็นรัฐที่เล็กเป็นอันดับ 2 ของแคนาดา กับพื้นที่ 55,284 ตร.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและรัฐโนวาสโกเชีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐไอดาโฮ

รัฐไอดาโฮ (Idaho) เป็นเป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา โดยมีเมืองหลวงชื่อ บอยซี (Boise) และมีรหัสย่อว่า ID.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและรัฐไอดาโฮ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเวอร์จิเนีย

รัฐเวอร์จิเนีย (Commonwealth of Virginia) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของประเทศ เมืองหลวงของรัฐคือ ริชมอนด์ และเมืองที่ประชากรมากที่สุดคือ เวอร์จิเนียบีช เวอร์จิเนียเป็นรัฐที่มีภูมิทัศน์สวยงามมากเนื่องจากมีทั้งพื้นที่เป็นภูเขาและติดทะเล มีป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ รัฐเวอร์จิเนียติดต่อกับรัฐแมริแลนด์ วอชิงตัน ดี.ซี. และ มหาสมุทรแอตแลนติก ทางทิศตะวันออก ติดต่อกับ รัฐนอร์ทแคโรไลนา และรัฐเทนเนสซี ทางทิศใต้ ติดต่อกับรัฐเคนทักกี และ รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย ทางทิศตะวันตก เวอร์จิเนียประกอบไปด้วย 95 เคาน์ตี และ 39 เมืองอิสระ จุดสูงสุดในรัฐคือ เมาต์โรเจอส์ และจุดต่ำสุดในรัฐคือมหาสมุทรแอตแลนติก ชื่อของรัฐเวอร์จิเนีย ตั้งตามชื่อของ สมเด็จพระบรมราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ หรือราชินีผู้ทรงพรหมจรรย์ (The Virgin Queen) รัฐเวอร์จิเนียเป็นบ้านเกิดของประธานาธิบดี 8 คน ซึ่งรวมถึง จอร์จ วอชิงตัน และ โทมัส เจฟเฟอร์สัน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและรัฐเวอร์จิเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชสำนักเซนต์เจมส์

พระราชวังเซนต์เจมส์ในอดีตที่ถูกใช้เป็นที่ตั้งของราชสำนักอังกฤษ ราชสำนักเซนต์เจมส์ คือราชสำนักของพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งถูกตั้งชื่อตามพระราชวังเซนต์เจมส์ พระราชวังหลวงที่เก่าแก่ที่สุดของระบอบราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร ราชสำนักเซนต์เจมส์ถือกำเนิดขึ้นมาตั้งแต่สมัยราชอาณาจักรอังกฤษ (ก่อนปี พ.ศ. 2250) และสมัยราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (พ.ศ. 2250 - 2343) ราชสำนักเซนต์เจมส์ยังถูกใช้เป็นสถานที่ต้อนรับเอกอัครราชทูตและข้าหลวงใหญ่ประจำสหราชอาณาจักรทุกคนอย่างเป็นทางการ ส่วนพระราชวังเซนต์เจมส์ยังคงเป็นสถานที่ประจำสำหรับการรับรองการแต่งตั้งเอกอัครราชทูตต่างชาติ และยังถูกใช้เป็นสำนักงานประจำของผู้แทนพระองค์พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในการรับมอบอักษรสารตราตั้งจากเอกอัคราชทูตต่างชาติอีกด้วย นอกจากนี้ในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและราชสำนักเซนต์เจมส์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (Kingdom of Great Britain) หรือ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (United Kingdom of Great Britain) เป็นรัฐในยุโรปตะวันตก ดำรงอยู่ในช่วงค.ศ. 1707 จนถึง ค.ศ. 1801 เกิดจากการรวมกันของราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ภายใต้พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 (พ.ศ. 2250) ก่อนหน้านี้ราชอาณาจักรทั้งสองได้มีพระประมุขพระองค์เดียวกัน ตั้งแต่สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ขึ้นครองราชย์เป็นประมุขของอังกฤษในค.ศ. 1631 สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เข้าแทนที่ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ในปีค.ศ. 1801 หลังจากราชอาณาจักรไอร์แลนด์เข้าร่วมในพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส (Royaume de France) คือประเทศฝรั่งเศสในสมัยกลางและต้นสมัยใหม่ ก่อนที่จะเปลี่ยนการปกครองมาเป็นแบบสาธารณรัฐดังปัจจุบัน ถือเป็นรัฐที่ทรงอิทธิพลมากที่สุดรัฐหนึ่งในยุโรป เป็นประเทศมหาอำนาจตั้งแต่ปลายสมัยกลางและสงครามร้อยปี และกลายเป็นจักรวรรดิที่แผ่ขยายอาณานิคมไปทั่วโลกแม้แต่ในทวีปอเมริกาเหนือ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสมีต้นกำเนิดมาจากราชอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก ซึ่งเป็นรัฐด้านตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงตามสนธิสัญญาแวร์เดิง และอยู่ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงจนถึงปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและราชอาณาจักรฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ"ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ" เป็นศัพท์บัญญัติของ (constitutional monarchy) เป็นรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐโดยไม่ทรงมีบทบาททางการเมืองและทรงอยู่ในขอบเขตของรัฐธรรมนูญไม่ว่าเป็นหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์อาจมีพระราชอำนาจโดยพระบารมีและรัฐบาลอาจดำเนินการในพระนาม แต่พระมหากษัตริย์จะไม่ทรงกำหนดนโยบายสาธารณะหรือเลือกผู้นำทางการเมือง เวอร์นอน บอกดานอร์ (Vernon Bogdanor) นักรัฐศาสตร์ชาวอังกฤษ นิยามว่า ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ "องค์อธิปัตย์ที่ปกเกล้าแต่ไม่ปกครอง" (a sovereign who reigns but does not rule), excerpted from การปกครองรูปแบบนี้ต่างจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงควบคุมการตัดสินใจทางการเมืองโดยไม่ทรงถูกรัฐธรรมนูญควบคุมเอาไว้ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางทีเรียกว่า ปรมิตตาญาสิทธิราชย์ (limited monarchy) สาธารณรัฐอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (crowned republic) หรือราชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา (parliamentary monarchy) นอกจากเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติแล้ว ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญอาจมีพระราชอำนาจอย่างเป็นทางการ เช่น ยุบสภานิติบัญญัติ หรืออนุมัติกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วเป็นพระราชอำนาจทางพิธีการ มิใช่เป็นช่องให้พระมหากษัตริย์จัดการการเมืองได้โดยพลการ วอลเทอร์ แบกฮอต (Walter Bagehot) นักทฤษฎีการเมืองชาวอังกฤษ เขียนไว้ในหนังสือ ดิอิงลิชคอนสติติวชัน (The English Constitution) ว่า มีพระราชสิทธิ์สามประการเท่านั้นที่ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญทรงใช้ได้ตามพระทัย คือ แสวงหาคำปรึกษา ประทานคำปรึกษา และประทานคำตักเตือน ประเทศราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่โดดเด่น เช่น สหราชอาณาจักรและอดีตเมืองขึ้นทั้งสิบห้าซึ่งล้วนใช้การปกครองที่เรียกว่า "ระบบเวสมินสเตอร์" (Westminster system) ส่วนรัฐสามแห่ง คือ กัมพูชา มาเลเซีย และสันตะสำนัก ใช้ราชาธิปไตยแบบเลือกตั้ง โดยให้อภิชนกลุ่มเล็ก ๆ เป็นคณะผู้เลือกตั้งองค์อธิปัตย์ขึ้นมาเป็นระยะ ๆ นับแต่เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร

ระบอบราชาธิปไตยของสหราชอาณาจักร เป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของสหราชอาณาจักรและอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรผู้เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ราชนาวี

กองทัพเรือสหราชอาณาจักร หรือ ราชนาวี (Royal Navy อักษรย่อ: RN) เป็นเหล่าทัพหลักของกองทัพสหราชอาณาจักร ซึ่งมีต้นกำเนิดมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เหล่าทัพนี้เป็นเหล่าทัพที่เก่าแก่ที่สุด โดยตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 17 ถึงปลายศตวรรษที่ 19 ราชนาวีสหราชอาณาจักรจัดเป็นทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและราชนาวี · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด นิกสัน

ริชาร์ด มิลเฮาส์ นิกสัน (ภาษาอังกฤษ: Richard Milhous Nixon) (9 มกราคม พ.ศ. 2456 - 22 เมษายน พ.ศ. 2537) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 37 ของสหรัฐอเมริกา ระหว่าง พ.ศ. 2512- พ.ศ. 2517 และเคยเป็นรองประธานาธิบดีคนที่ 36 ระหว่างปี พ.ศ. 2496 - พ.ศ. 2504 ริชาร์ด นิกสันเป็นประธานาธิบดีคนแรกและคนเดียวที่ลาออกจากตำแหน่ง สาเหตุที่ลาออกนั้นเกิดจากคดีวอเตอร์เกต ในสมัยของนิกสันนั้นประสบความสำเร็จในด้านการทูต โดยเฉพาะการผ่อนคลายความตึงเครียดในช่วงสงครามเย็นกับสหภาพโซเวียต และประเทศจีน รวมไปถึงการถอนตัวออกจากสงครามเวียดนาม.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและริชาร์ด นิกสัน · ดูเพิ่มเติม »

ร็อกแอนด์โรล

อลวิส เพรสลีย์ นักร้องร็อกแอนด์โรลที่มีอิทธิพลที่สุดคนนึงในยุคนั้น ร็อกแอนด์โรล (Rock and roll หรือ rock 'n' roll) คือแนวเพลงประเภทหนึ่งที่ได้พัฒนาในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ช่วงปลายยุค 40s จนมาได้รับความนิยมในต้นยุค 50s และได้แพร่ขยายความนิยมไปทั่วโลก ซึ่งในปัจจุบันเราจะเรียกกันสั้นๆว่า "ร็อก" ส่วนเรื่องจังหวะจะเป็นจังหวะ บูกี้ วูกี้ บลูส์ โดยจะทำให้เด๋นโดยจังหวะแบ็ค บีท (Back Beat) ซึ่งต่อมาจะใช้กลองสแนร์ ดนตรีร็อกแอนด์โรลช่วงแรกจะเล่นโดยกีตาร์ไฟฟ้า หนึ่งหรือสองตัว (1 ลีด,1 ริทึม),กีตาร์เบส (หรือดับเบิ้ลเบส),ชุดกลอง ส่วนคีย์บอร์ดจะเป็นส่วนเสริม ร็อกแอนด์โรลในช่วงต้นยุค 50s มักจะใช้แซกโซโฟนนำดนตรี ต่อมาจึงเปลี่ยนมาเป็นกีตาร์ช่วงกลางยุค 50s เปียโนก็ถูกใช้เป็นส่วนสำคัญในดนตรีร็อกแอนด์โรลช่วงกลางยุค 40s ความได้รับความนิยมในดนตรีร็อกแอนด์โรลเป็นอย่างมากได้แพร่กระจายสู่สังคม นอกจากทางด้านดนตรีแล้ว ยังมีผลต่อแฟชั่น ไลฟ์สไตล์ ภาษา ศิลปินที่มีชื่อเสียงอย่างมากคือ เอลวิส เพรสลีย์ ที่สร้างภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์ในรูปแบบของร็อกแอนด์โรล ในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและร็อกแอนด์โรล · ดูเพิ่มเติม »

ลอรา บุช

ลอร่า เลน เวลช์ บุช (Laura Lane Welch Bush)(เกิด 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489) เป็นภรรยาของประธานาธิบดีคนที่ 43 คือ ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช และเป็นสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งแห่งสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและลอรา บุช · ดูเพิ่มเติม »

ลอสแอนเจลิส

ลอสแอนเจลิส (Los Angeles) หรือที่รู้จักในชื่อ แอลเอ (L.A.) เป็นเมืองใหญ่ที่มีประชากรมากที่สุดอันดับ 2 ในสหรัฐอเมริกา และเป็นหนึ่งในศูนย์กลาง ทางด้าน เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการบันเทิง ลอสแอนเจลิสตั้งอยู่ในรัฐแคลิฟอร์เนีย และเริ่มตั้งเป็นเมืองเมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2393 (ค.ศ. 1850) ในขณะที่มีประชากร 1,610 คน ในปี พ.ศ. 2543 ตามสำมะโนประชากรลอสแอนเจลิส มีประชากรประมาณ 4 ล้านคนในเขตตัวเมือง และเขตรอบนอกประมาณ 17.5 ล้านคน ลอสแอนเจลิสได้ชื่อว่าเป็นเมืองที่มีการปะปนของวัฒนธรรมมากที่สุดในโลกแห่งหนึ่ง เนื่องจากการอพยพของคนหลายเชื่อชาติโดยเฉพาะชาวเอเชีย และอเมริกาใต้ เนื่องจากลักษณะของอากาศที่อบอุ่นสบาย และลักษณะการเป็นอยู่ต่างๆ ชื่อเมืองลอสแอนเจลิส (Los Angeles) มาจากคำว่า โลสอังเคเลส (Los Ángeles) ในภาษาสเปน หมายถึง ทูตสวรรค์หลายองค์ เป็นรูปพหูพจน์ของคำว่า el ángel ซึ่งเป็นเพศชาย ชื่อเมืองจึงมีความหมายว่า "เมืองแห่งทูตสวรรค์" ลอสแอนเจลิสได้เป็นที่รู้จักในฐานะเป็นที่ตั้งของฮอลลีวูด และปลายทางของถนนสายประวัติศาสตร์ ทางหลวงสหรัฐหมายเลข 66 มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่ตั้งอยู่ในลอสแอนเจลิส ได้แก่ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส (UCLA) และมหาวิทยาลัยเซาเทิร์น แคลิฟอร์เนีย (USC) ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงในเมือง ได้แก่ ลอสแอนเจลิส เลเกอร์ส (บาสเกตบอล) ลอสแอนเจลิส คลิปเปอร์ส (บาสเกตบอล) ลอสแอนเจลิส สปาร์ค (บาสเกตบอลหญิง) ลอสแอนเจลิส ดอดจ์เจอร์ส (เบสบอล) ลอสแอนเจลิส คิงส์ (ฮอกกี้น้ำแข็ง) ลอสแอนเจลิส กาแลกซี (ฟุตบอล) ซี.ดี. ชีวาส ยูเอสเอ (ฟุตบอล) นอกจากนี้ในเมืองลอสแอนเจลิส ได้เคยเป็นเจ้าภาพจัดงานโอลิมปิกสองครั้ง ในปี พ.ศ. 2475 (ค.ศ. 1932) และ พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) ในอดีตมีทีมอเมริกันฟุตบอลในชื่อ "ลอสแอนเจลิส เรดเดอร์ส" ซึ่งปัจจุบันได้ย้ายไปไปประจำเมืองโอคแลนด์ และเปลี่ยนชื่อเป็นโอคแลนด์ เรดเดอรส์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและลอสแอนเจลิส · ดูเพิ่มเติม »

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ. 2549) และประมาณ 12 - 14 ล้านคนถ้ารวมนครหลวงลอนดอนและปริมณฑล ลอนดอนเป็นเมืองที่ประกอบด้วยหลายชนชาติอย่างมาก ประชากรมีความหลากหลายทั้งด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ซึ่งประมาณว่ามีมากกว่า 300 ภาษา เราเรียกชาวลอนดอนว่า ลอนดอนเนอร์ (Londoner) ลอนดอนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมในระดับนานาชาติ และเป็นเมืองท่องเที่ยวสำคัญของทวีปยุโรป โดยสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในลอนดอน คือ ท่าอากาศยานนานาชาติฮีทโธรว.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

ละครบรอดเวย์

รงละครนิวแอมสเตอร์แดม และละครบรอดเวย์เรื่อง เดอะไลออนคิง ละครบรอดเวย์ (Broadway theatre) มีชื่อเสียงทางด้านของศิลปะการละครเวที มีเอกลักษณ์ของละครอเมริกันอย่างที่นิยมกันเรียกกันว่าละครเพลง มีองค์ประกอบรูปแบบการแสดง เพลงและการเต้นรำในลักษณะต่างๆ ที่กำหนดไว้อย่างตายตัวไม่ว่าจะมีการแสดงสักกี่รอบก็ตาม โดย บรอดเวย์ เป็นชื่อของถนนสายหนึ่งในเมืองนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา และวงการภาพยนตร์ก็มักจะนำเรื่องราวจากละครเพลงมาทำเป็นภาพยนตร์และส่วนมากจะประสบความสำเร็จได้รางวัลอยู่เสมอ เช่น เรื่อง West Side Story, The Sound of Music, South Pacific, The King and I, และ Chicago เป็นต้น ละครเพลงบรอดเวย์ แต่ละเรื่องมักได้รับความนิยมยาวนานมาก ตัวอย่าง เมื่อวันที่ 9 มกราคมปีนี้เอง ที่สถิติบันทึกว่า ละครเพลงเรื่อง The Phantom Of Opera ได้ทำการแสดงยาวนานที่สุด จำนวน 7,486 รอบ ณ โรงละครมาเจสติก และหลายเรื่องได้รับรางวัลโทนี่ ซึ่งเป็นมาตรฐานดีที่สุดของวงการบรอดเว.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและละครบรอดเวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิมอนโร

right ลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) คือแถลงการณ์ที่ตั้งชื่อตามอดีตประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา เจมส์ มอนโร ที่ได้แถลงการณ์ไว้เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 1823 โดยกล่าวถึงจุดมุ่งหมายที่จะนำพาประเทศให้อยู่ในความ สงบ และ โดดเดี่ยว และไม่ต้องการให้ชาติยุโรปเข้ามาแทรกแซงทางด้านการเมือง หรือแสวงหาดินแดนในทวีปอเมริกา ซึ่งอังกฤษ ฝรั่งเศส ปรัสเซีย รัสเซีย และออสเตรีย ต่างสนใจที่จะให้ความช่วยเหลือทางการทหารแก่สเปน ในการปราบกบฏอาณานิคมทั้งในอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ อันเป็นความพยายามของชาติต่าง ๆ ในการแสวงหาโอกาสครองครองดินแดนในแถบนี้ แถลงการณ์ฉบับนี้เป็นนโยบายต่างประเทศของสหรัฐ มีหลักการณ์สำคัญดังนี้.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและลัทธิมอนโร · ดูเพิ่มเติม »

ลินดอน บี. จอห์นสัน

ลินดอน เบนส์ จอห์นสัน (Lyndon Baines Johnson, LBJ) ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 36 (1963 - 1969) และเป็นรองประธานาธิบดีคนที่ 37 (1961 - 1963) ได้กระทำพิธีสาบานตนเป็นประธานาธิบดีคนที่ 36 ของสหรัฐอเมริกา เมื่อบ่ายวันที่ 22 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและลินดอน บี. จอห์นสัน · ดูเพิ่มเติม »

ล็อกเกอร์บี

ล็อกเกอร์บี (Lockerbie) เป็นเมืองขนาดเล็กมีประชากรประมาณ 4,009 คน (สถิติ ปี พ.ศ. 2544) ตั้งอยู่ในแคว้นสกอตแลนด์ในสหราชอาณาจักร ห่างจากเมืองกลาสโกว์ ไปประมาณ 120 กิโลเมตร และห่างจากชายแดนอังกฤษ 32 กิโลเมตร ในวันที่ 21 ธันวาคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและล็อกเกอร์บี · ดูเพิ่มเติม »

วอชิงตัน ดี.ซี.

กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. (Washington, D.C) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตปกครองพิเศษโคลอมเบีย (District of Columbia) มักเรียกทั่วไปว่า กรุงวอชิงตัน (Washington) หรือ ดี.ซี (D.C.) เป็นเมืองหลวงของสหรัฐ ก่อตั้งขึ้นเมื่อภายหลังจากการปฏิวัติอเมริกา โดยชื่อ วอชิงตัน มาจากชื่อของจอร์จ วอชิงตัน ประธานาธิบดีสหรัฐคนแรก และบิดาผู้ก่อตั้งประเทศคนหนึ่ง วอชิงตันเป็นนครหลักนครหนึ่งของเขตมหานครวอชิงตัน (Washington Metropolitan Area) โดยมีประชากรที่อาศัยอยู่ในวอชิงตันจำนวนประมาณ 6,131,977 คน โดยวอชิงตันได้รับฉายาว่าเป็นเมืองหลวงทางการเมืองของโลก เนื่องจากเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลางสหรัฐและสถาบันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศจำนวนมากเช่น ธนาคารโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เป็นต้น กรุงวอชิงตันเป็นนครที่นักท่องเที่ยวเข้าเยี่ยมชมมากที่สุดนครหนึ่งในโลก โดยในแต่ละปีจะมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมชมวอชิงตัน ปีละประมาณ 20 ล้านคน การลงนามรัฐบัญญัติที่ตั้งในสหรัฐ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและวอชิงตัน ดี.ซี. · ดูเพิ่มเติม »

วอลต์ ดิสนีย์

''Newman Laugh-O-Gram'' (1921) วอลเตอร์ อีเลียส ดิสนีย์ (Walter Elias Disney) (5 ธันวาคม 2444 - 15 ธันวาคม 2509, ค.ศ. 1901-1966) เป็นผู้สร้างผลงานการ์ตูนที่แพร่หลาย และประสบความสำเร็จมากที่สุดของโลกคนหนึ่ง เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทวอลท์ ดิสนีย์ และสร้างภาพยนตร์การ์ตูนสีเป็นคนแรก เริ่มทำการ์ตูน มิกกี้เม้าส์ (Mickey Mouse) โดนัลด์ดั๊ก (Donald Duck) และภาพยนตร์เรื่องยาว เช่น สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด (Snow White and the Seven Dwarfs), แฟนตาเซีย (Fantasia), พินอคคิโอ (Pinocchio) และ แบมบี้ (Bambi) หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 หนังการ์ตูนต้องใช้ค่าใช้จ่ายในการสร้างจำนวนมาก ดิสนีย์จึงเริ่มทำภาพยนตร์เกี่ยวกับการผจญภัยที่เป็นจริง เช่น เดอะ ลิวิง เดสเสิร์ท (The Living Desert) นอกจากนี้ยังได้สร้างสวนสนุกสองแห่ง และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ 59 รางวัล โดยได้รับรางวัลออสการ์ถึง 26 รางวัล นับเป็นบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงและได้รับรางวัลออสการ์มากที่สุดในโลก 100px.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและวอลต์ ดิสนีย์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกิลีกส์

วิกิลีกส์ (Wikileaks) เป็นเว็บไซต์ที่นำข้อมูลเอกสารของรัฐบาลและบริษัท ซึ่งอนุญาตให้ผู้ใช้สามารถเผยแพร่ เพื่อการกล่าวหาได้ โดยไม่ถูกผลกระทบทางลบกลับจากองค์กรเหล่านั้น เว็บไซต์วิกิลีกส์อ้างว่าการส่งข้อความต่าง ๆ นั้นจะไม่สามารถถูกติดตามได้ ไม่ว่าจากใครก็ตาม เว็บไซต์ทำงานโดยใช้รุ่นดัดแปลงของซอฟต์แวร์มีเดียวิก.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและวิกิลีกส์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม เชกสเปียร์

วิลเลียม เชกสเปียร์ (William Shakespeare; รับศีล 26 เมษายน ค.ศ. 1564 - 23 เมษายน ค.ศ. 1616) เป็นกวีและนักเขียนบทละครชาวอังกฤษ ได้รับยกย่องทั่วไปว่าเป็นนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ของอังกฤษและของโลก มักเรียกขานกันว่าเขาเป็นกวีแห่งชาติของอังกฤษ และ "Bard of Avon" (กวีแห่งเอวอน) งานเขียนของเขาที่ยังหลงเหลืออยู่ถึงปัจจุบัน ประกอบด้วยบทละคร 38 เรื่อง กวีนิพนธ์แบบซอนเน็ต 154 เรื่อง กวีนิพนธ์อย่างยาว 2 เรื่อง และบทกวีแบบอื่นๆ อีกหลายชุด บทละครของเขาได้รับการแปลออกไปเป็นภาษาต่างๆ มากมาย และเป็นที่นิยมนำมาแสดงมากที่สุดในบรรดาบทละครทั้งหมด เชกสเปียร์เกิดและเติบโตที่เมืองสแตรทฟอร์ด ริมแม่น้ำเอวอน เมื่ออายุ 18 ปี เขาสมรสกับแอนน์ ฮาธาเวย์ มีบุตรด้วยกัน 3 คนคือ ซูซานนา และฝาแฝด แฮมเน็ตกับจูดิธ ระหว่างช่วงปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและวิลเลียม เชกสเปียร์ · ดูเพิ่มเติม »

วินสตัน เชอร์ชิล

ซอร์วินสตัน ลีโอนาร์ด สเปนเซอร์-เชอร์ชิล (Winston Leonard Spencer-Churchill) เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัย ระหว่างปี 1940 ถึง 1945 และปี 1951 ถึง 1955 ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคสงครามของศตวรรษที่ 20 นอกจากนี้ วินสตันยังเป็นทหารในกองทัพอังกฤษ, นักประวัติศาสตร์, นักเขียน, ตลอดจนศิลปิน เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาอักษรศาสตร์ และยังเป็นบุคคลแรกที่ได้เป็น พลเมืองเกียรติยศแห่งสหรัฐอเมริกา ผู้คนมักนิยมเรียกเขาด้วยชื่อ "วินสตัน" แทนที่จะเรียกด้วยนามสกุล วินสตันเกิดในตระกูลชนชั้นสูงที่สืบเชื้อสายมาจากดยุกแห่งมาร์ลบะระ สาขาหนึ่งของตระกูลสเปนเซอร์ บิดาของเขาคือ ลอร์ดรันดอล์ฟ เชอร์ชิล นักการเมืองผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีคลัง ส่วนมารดาของเขาคือ เจนนี จีโรม นักสังคมสงเคราะห์ชาวอเมริกัน ในขณะที่ยังเป็นทหารหนุ่ม เขาได้ปฏิบัติภารกิจในบริติชอินเดีย และซูดาน และในสงครามโบเออร์ครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นนักข่าวสงครามและเขียนหนังสือเกี่ยวกับปฏิบัติการของเขา เขาเป็นผู้มีบทบาททางการเมืองแถวหน้ามาตลอดห้าสิบปี ได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีมากมาย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเขาเป็นหัวหน้ากรรมการการค้า, รัฐมนตรีปิตุภูมิ, และรัฐมนตรียุติธรรม ระหว่างสงคราม เขายังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรียุติธรรม จนกระทั่งความพ่ายแพ้ของอังกฤษในการทัพกัลลิโพลี ทำให้เขาต้องออกจากคณะรัฐบาลและไปประจำการราชการทหารอยู่ที่แนวหน้าภาคตะวันตกในตำแหน่งผู้บัญชาการกองพันลูกเสือที่ 6 จนกระทั่งเขาได้กลับคืนคณะรัฐบาลในตำแหน่งรัฐมนตรียุทธภัณฑ์ รัฐมนตรีว่าการสงคราม และ รัฐมนตรีน่านฟ้า และในปี 1921-1922 เป็นรัฐมนตรีว่าการอาณานิคม และต่อมาในปี 1924-1929 เป็นรัฐมนตรีคลังหลวง โดยเขาได้กำหนดให้สกุลเงินปอนด์กลับไปอิงค่าทองคำเหมือนกับยุคก่อนสงคราม ซึ่งทำให้เกิดภาวะเงินฝืดแพร่ไปทั้งเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร ภายหลังห่างหายจากงานการเมืองไปในทศวรรษที่ 1930 วินสตันก็ได้กลับมาทำงานการเมืองอีกครั้งเมื่อนาซีเยอรมนีเริ่มที่จะสั่งสมกำลังทหารและดูจะเป็นภัยคุกคามต่ออังกฤษ และแล้วการอุบัติขึ้นอย่างฉับพลันของสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ทำให้เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรียุติธรรมอีกครั้ง และภายหลังการลาออกของนายกรัฐมนตรี เนวิล เชมเบอร์ลิน ในวันที่ 10 พฤษภาคม 1940 วินสตันก็กลายเป็นนายกรัฐมนตรี คำประกาศหนักแน่นของเขาที่จะไม่เป็นผู้ยอมแพ้ได้ช่วยกระตุ้นให้ชาวอังกฤษหันมาต่อต้านนาซีเยอรมนี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงต้นสงครามซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ยากเย็นเมื่อสหราชอาณาจักรและอาณานิคมอังกฤษเป็นเพียงฝ่ายเดียวที่ลุกขึ้นอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ วินสตันได้กล่าวสุนทรพจน์ของเขาผ่านวิทยุกระจายเสียงปลุกขวัญกำลังใจชาวอังกฤษ เขาเป็นผู้นำของอังกฤษไปจนกระทั่งสามารถมีชัยเหนือนาซีเยอรมนีได้ แต่ทว่าการได้รับชัยชนะมาต้องแลกกับการสูญเสียการเป็นอภิมหาอำนาจของโลกให้กับสหรัฐอเมริกาไป เหล่าประเทศอาณานิคมที่ยึดครองได้แก่ อินเดีย มาเลเซีย พม่า เป็นต้นต่างก็ได้เรียกร้องเอกราชจนจำใจต้องยอมเป็นเหตุทำให้จักรวรรดิอังกฤษล่มสลายและกลายเป็นเครือจักรภพแห่งชาติแทน ภายหลังพรรคอนุรักษนิยมพ่ายการเลือกตั้งในปี 1945 เขาก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำฝ่ายค้านต่อรัฐบาลพรรคแรงงาน เขาได้ออกมาเตือนอย่างเปิดเผยถึงอิทธิพลของโซเวียตในยุโรปผ่านมาตรการ "ม่านเหล็ก" และยังส่งเสริมความเป็นหนึ่งเดียวของยุโรป ภายหลังชนะเลือกตั้งในปี 1951 วินสตันก็กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ในช่วงการดำรงตำแหน่งครั้งที่สองนี้ รัฐบาลของเขาเต็มไปด้วยข้อราชการต่างประเทศ ทั้งวิกฤตการณ์มาลายา, กบฎมาอูมาอูในเคนยา, สงครามเกาหลี ตลอดจนสนับสนุนการรัฐประหารในอิหร่าน ในปี 1953 เขาเริ่มเจ็บป่วยจากภาวะขาดเลือดในสมอง และลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 1955 แต่เขายังคงเป็นสมาชิกสภาสามัญชนไปจนถึงปี 1964 วินสตันถึงแก่อสัญกรรมด้วยวัย 90 ปีในปี 1965 โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระราชทานรัฐพิธีศพให้เป็นเกียรติ เขายังคงได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นหนึ่งในกลุ่มคนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติอังกฤษ ชื่อของเขาอยู่ในลำดับที่ 1 ของทำเนียบชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลจากการจัดอันดับในปี 2002.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและวินสตัน เชอร์ชิล · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาสหรัฐ

วุฒิสภาสหรัฐ (United States Senate) เป็นสภาสูงของรัฐสภาสหรัฐ โดยเป็นสภานิติบัญญัติแห่งสหรัฐร่วมกับสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐซึ่งเป็นสภาล่าง องค์ประกอบและอำนาจของวุฒิสภาตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐ มาตรา 1 วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกวุฒิสภาซึ่งเป็นผู้แทนจากแต่ละรัฐ โดยแต่ละรัฐมีผู้แทนเท่ากันรัฐละสองคน ไม่ว่ามีประชากรมากน้อยเพียงใด โดยมีวาระดำรงตำแหน่งสลับฟันปลา (staggered term) วาระละ 6 ปี ปัจจุบันในสหภาพมี 50 รัฐ ฉะนั้นจึงมีสมาชิกวุฒิสภา 100 คน ตั้งแต่ปี 1789 ถึง 1913 สมาชิกวุฒิสภามาจากการแต่งตั้งของสภานิติบัญญัติของรัฐที่ตนเป็นผู้แทน หลังการให้สัตยาบันการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญครั้งที่ 17 ในปี 1913 ปัจจุบัน สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งของประชาชน ห้องประชุมวุฒิสภาตั้งอยู่ปีกเหนือของอาคารรัฐสภาสหรัฐในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและวุฒิสภาสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

วูดโรว์ วิลสัน

ทมัส วูดโรว์ วิลสัน (Thomas Woodrow Wilson) เป็นนักการเมืองและนักวิชาการอเมริกันผู้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีคนที่ 28 ของสหรัฐอเมริกา ดำรงตำแหน่งเป็นเวลาสองสมัย ระหว่าง..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและวูดโรว์ วิลสัน · ดูเพิ่มเติม »

ศาลฎีกา

ัญลักษณ์ของศาลฎีกา ศาลฎีกา เป็นศาลยุติธรรมชั้นสูงสุด มีเขตอำนาจทั่วทั้งราชอาณาจักร มีอำนาจพิจารณาพิพากษาบรรดาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค ภายใต้เงื่อนไขของกฎหมายว่าด้วยการฎีกา และมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลชั้นต้นโดยตรงต่อศาลฎีกาไม่ต้องผ่านศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาคตามกฎหมายเฉพาะ เช่น คดีแรงงาน คดีภาษีอากร คดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ คดีล้มละลายเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการ เป็นต้น และคดีที่กฎหมายอื่นบัญญัติให้ศาลฎีกามีอำนาจพิจารณาพิพากษา รวมทั้งมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดหรือสั่งคำร้องคำขอที่ยื่นต่อศาลฎีกาตามกฎหมาย (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23) คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลฎีกาเป็นที่สุด (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23).

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและศาลฎีกา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนายูดาห์

นายูดาห์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 281 หรือศาสนายิว (Judaism; יהדות) คือวิถีชีวิต ปรัชญา และศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ตามความเชื่อของชาวยิวLewis (1984), pp.10, 20 มีต้นกำเนิดในคัมภีร์ฮีบรู (หรือคัมภีร์ทานัค) รวมถึงคัมภีร์ชั้นหลัง เช่น คัมภีร์ทาลมุด ศาสนิกชนยูดาห์ถือว่าวิถีนี้ เป็นพันธสัญญาระหว่างพระยาห์เวห์กับวงศ์วานอิสราเอล ศาสนายูดาห์แบบรับบีถือว่าพระยาห์เวห์ได้ประทานธรรมบัญญัติที่เรียกว่าคัมภีร์โทราห์แก่โมเสสที่ภูเขาซีนาย ศาสนายูดาห์มีพระเจ้าสูงสุด คือ พระยาห์เวห์ โดยชาวยิวมีความเชื่อว่าพระเจ้าทรงสร้างโลกและมนุษย์คู่แรกเมื่อประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสตกาล และถือว่าโมเสสคือศาสดา ให้กำเนิดศาสนายูดาห์เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล และยังมีบุคคลสำคัญ เช่น อับราฮัม อิสอัค ยาโคบ ยูดาห์ ผู้เผยพระวจนะท่านอื่น ๆ อีกจำนวนมาก ฯลฯ เป็นต้น ศาสนายูดาห์มีความเป็นมายาวนานกว่าสี่พันปี (นับจากสมัยอับราฮัม) จึงถือเป็นศาสนาเอกเทวนิยมที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังดำรงอยู่ในปัจจุบัน ในคัมภีร์ทานัคที่เขียนขึ้นในยุคหลัง เช่น หนังสือเอสเธอร์ เรียกชาวฮีบรูหรือวงศ์วานอิสราเอลว่าชาวยิว คัมภีร์ของศาสนายูดาห์ยังมีอิทธิพลอย่างมากต่อกลุ่มศาสนาอับราฮัมยุคหลังด้วย คือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาบาไฮ รวมทั้งมีอิทธิพลต่อจริยธรรมและระบบซีวิลลอว์ตะวันตกทั้งทางตรงและทางอ้อม ชาวยิวเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ศาสนา ซึ่งหมายรวมทั้งที่เป็นชาวยิวโดยกำเนิดและและคนที่เข้ารีตยิว ในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและศาสนายูดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาฮินดู

ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและศาสนาฮินดู · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A. The fundamental Christian faith: the origin, history and interpretation of the Apostles' and Nicene creeds. C. Scribner's sons, 1913.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด

ทางอากาศ ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด (Goddard Space Flight Center; GSFC) เป็นห้องทดลองด้านอวกาศที่สำคัญแห่งหนึ่งขององค์การนาซา ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1959 เป็นศูนย์การบินอวกาศแห่งแรกของนาซา มีเจ้าหน้าที่พลเรือนประมาณ 10,000 คน ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ห่างออกไปประมาณ 6.5 ไมล์ ในเขตเมืองกรีนเบลท์ รัฐแมริแลนด์ สหรัฐอเมริกา ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดเป็นองค์กรที่ใหญ่ที่สุดซึ่งรวบรวมนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรมาไว้ด้วยกันเพื่อศึกษาเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับโลก ระบบสุริยะ และเอกภพ โดยอาศัยการสังเกตการณ์ผ่านอุปกรณ์สังเกตการณ์ในอวกาศ รวมถึงเป็นห้องทดลองในการวิจัยพัฒนาและควบคุมการทำงานของยานอวกาศสำหรับงานวิทยาศาสตร์ที่ไม่ต้องใช้มนุษย์ควบคุม นอกเหนือจากงานวิจัยเกี่ยวกับอวกาศ ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดยังศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนภารกิจการปฏิบัติงานในอวกาศรวมถึงการออกแบบและสร้างยานอวกาศด้วย นักวิทยาศาสตร์ของศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดคนหนึ่งคือ จอห์น ซี. เมเทอร์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

สมัยใหม่

กาลิเลโอ กาลิเลอี บิดาแห่งวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ สมัยใหม่ เป็นช่วงเวลาหนึ่งของอารยธรรมต่างๆ ซึ่งในช่วงนี้ อารยธรรมนั้น ๆ จะเริ่มมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ เริ่มมีแนวคิดที่ยึดหลักความจริง หลุดพ้นจากความเชื่องมงายหลายอย่างในอดีต นักวิชาการได้กำหนดช่วงเวลาที่เป็น "สมัยใหม่" ของสากลโลกไว้ให้เป็นช่วง ค.ศ. 1453-ค.ศ. 1945 โดยเริ่มนับจากการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์และสิ้นสุดลงหลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติ นับตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายเป็นต้นมา ผู้คนเริ่มสงสัยในความเชื่อและเนื้อหาตำราเรียนแบบเก่า ๆ ที่เชื่อกันมายาวนาน และไม่นาน ความเชื่อเก่าๆ และอำนาจการปกครองที่เด็ดขาดของศาสนจักรเริ่มเสื่อมถอยลง ผู้คนเริ่มคิดได้ว่ามนุษย์สามารถลิขิตชีวิตของตนได้ด้วยการกระทำของตนเอง จึงเริ่มดิ้นรนเพื่อชีวิตที่ดีกว่า และมีการคิดค้นทฤษฎี สิ่งประดิษฐ์ รวมไปถึงศิลปะขึ้นมากมาย ทำให้เข้าสู่สมัยใหม่ในที่สุด ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เป็นช่วงเวลาหนึ่งที่อยู่ในช่วงปลายสมัยกลางถึงต้นสมัยใหม่ ซึ่งการเริ่มต้นของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในช่วงปลายสมัยกลาง เป็นปัจจัยสำคัญที่ชักนำโลกเข้าสู่สมัยใหม่ คือ วิทยาการต่างๆ จากโรมัน เริ่มถูกฟื้นฟูขึ้นมาและแผ่กระจายไปในแถบยุโรป เทคโนโลยีถูกพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ จนในช่วงปลายของสมัยใหม่ วิทยาการถูกใช้ไปในทางการเข่นฆ่ากันเองของมนุษย์ เกิดสงครามโลก สังหารผู้คนไปหลายสิบล้านคน จนในที่สุดก็มีการตระหนักถึงการใช้วิทยาการอย่างถูกทาง และมีการควบคุมเทคโนโลยีที่อาจก่ออันตราย แต่ในขณะเดียวกันก็มีการพัฒนาเทคโนโลยีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้สมัยใหม่สิ้นสุดลง และเข้าสู่ สมัยปัจจุบัน ตั้งแต่ ค.ศ. 1945 เป็นต้นมา หมวดหมู่:ยุคสมัยในประวัติศาสตร์.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสมัยใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในช่วงระหว่าง 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ (Mary II of England) (30 เมษายน ค.ศ. 1662 – 28 ธันวาคม ค.ศ. 1694) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชวงศ์สจวตของราชอาณาจักรอังกฤษและไอร์แลนด์ระหว่างปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ (Elizabeth I of England หรือ Virgin Queen หรือ Gloriana หรือ Good Queen Bess -- 7 กันยายน พ.ศ. 2076 -- 24 มีนาคม พ.ศ. 2146) และทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษ และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งไอร์แลนด์ ตั้งแต่ วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2101 จนเสด็จสวรรคต บางครั้งพระองค์ก็ทรงได้รับพระฉายานามว่า "ราชินีพรหมจารี" (เนื่องจากการไม่อภิเษกสมรสเลยตลอดพระชนม์ชีพ) สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 ทรงเป็นกษัตรีย์พระองค์ที่ 5 และนับเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ทิวดอร์ สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 ผู้ประสูติที่พระราชวังกรีนิช เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 กับสมเด็จพระราชินีแอนน์ บุลิน พระมเหสีพระองค์ที่ 2 ซึ่งถูกประหารชีวิตโดยการบั่นพระเศียรเมื่อสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 พระชนมายุได้เพียงเกือบ 3 พรรษา จากนั้นพระองค์ก็ทรงถูกประกาศว่าเป็นพระราชธิดานอกกฎหมาย เมื่อสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 สวรรคตราชบัลลังก์อังกฤษก็ตกไปเป็นของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 พระราชโอรสในพระเจ้าเฮนรีและสมเด็จพระราชินีเจน ซีมัวร์ พระมเหสีองค์ที่ 3 เมื่อเสด็จสวรรคตพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดก็ทรงมอบราชบัลลังก์แก่เลดีเจน เกรย์ซึ่งเท่ากับเป็นการตัดพระเชษฐภคินีต่างพระมารดาสองพระองค์ออกจากสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ แต่ในที่สุดเจ้าหญิงแมรีก็ได้เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 ผู้ทรงเป็นโรมันคาทอลิก ในรัชสมัยของราชินีนาถแมรีเจ้าหญิงอลิซาเบธทรงถูกจำขังอยู่ปีหนึ่งในข้อสงสัยว่าทรงมีส่วนร่วมในการสนับสนุนฝ่ายก่อการโปรเตสแตนต์ หลังจากเสด็จสวรรคตของพระเชษฐภคินีสมเด็จพระราชินีนาถแมรี เจ้าหญิงอลิซาเบธก็เสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์ทรงตั้งพระทัยที่จะปกครองโดยมีที่ปรึกษาราชการผู้มีคุณธรรม พระองค์ทรงไว้วางพระทัยในกลุ่มที่ปรึกษาที่ทรงไว้วางใจที่นำโดยวิลเลียม เซซิล บารอนแห่งเบอร์ลีย์ที่ 1 สิ่งแรกที่ทรงกระทำในฐานะพระราชินีนาถคือการสนับสนุนการก่อตั้งสถาบันโปรเตสแตนต์อังกฤษ ซึ่งมีพระองค์เองเป็น “ประมุขสูงสุด” (Supreme Governor) นโยบายทางศาสนาของพระองค์เป็นนโยบายที่ดำเนินตลอดมาในช่วงรัชสมัยการปกครอง และต่อมาวิวัฒนาการมาเป็น “นิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์” ในปัจจุบัน ในระหว่างที่ครองราชย์ก็เป็นที่หวังกันว่าพระองค์จะทรงเสกสมรส แต่แม้ว่ารัฐบาลจะยื่นคำร้องหลายครั้ง และ การทรงทำความรู้จักกับกับคู่หมายหลายคนพระราชินีนาถอลิซาเบธก็มิได้ทรงทำการเสกสมรสกับผู้ใด สาเหตุที่ไม่ทรงยอมเสกสมรสก็ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ เมื่อมีพระชนมายุสูงขึ้นพระองค์ก็ทรงมีชื่อเสียงจากการเป็น “พระราชินีผู้ทรงพรหมจรรย์” และเกิดลัทธินิยมของผู้ติดตามนโยบายดังว่าที่เฉลิมฉลองกันด้วยภาพเหมือน, เทศกาล และ วรรณกรรมร่วมสมัย ในด้านการปกครองพระราชินีนาถอลิซาเบธทรงดำเนินนโยบายที่เป็นสายกลางมากกว่าพระราชบิดา พระอนุชา และ พระเชษฐภคินีStarkey, 5.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี

มเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี (Queen Elizabeth, The Queen Mother), เอลิซาเบธ แองเจลา มาร์เกอริต โบวส์-ลีออน (Elizabeth Angela Marguerite Bowes-Lyon; 4 สิงหาคม พ.ศ. 2443 - 30 มีนาคม พ.ศ. 2545) เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร ตั้งแต..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 6 (George VI of the United Kingdom; 14 ธันวาคม ค.ศ. 1895 — 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ และเครือจักรภพอังกฤษระหว่างปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8

เจ้าชายเอดเวิร์ด ดยุกแห่งวินเซอร์ หรืออดีต สมเด็จพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8 (เอดเวิร์ด อัลเบิร์ต คริสเตียน จอร์จ แอนดรูว์ แพทริค เดวิด; 23 มิถุนายน พ.ศ. 2437 - 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2515) เป็นอดีตพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ รวมถึงดินแดนของอังกฤษในโพ้นทะเลต่าง ๆ และสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดีย ตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระราชบิดา เมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2479 จนกระทั่งการสละราชสมบัติของพระองค์ในวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2479 พระองค์เป็นพระประมุของค์ที่สองในราชวงศ์วินด์เซอร์ ซึ่งพระราชบิดาทรงเปลี่ยนชื่อมาจากราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา เมื่อปี พ.ศ. 2460 ก่อนการเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าชายเอดเวิร์ดแห่งยอร์ก เจ้าชายเอดเวิร์ดแห่งยอร์กและคอร์นวอลล์ ดยุกแห่งคอร์นวอลล์ ดยุกแห่งโรธเซย์ และเจ้าชายแห่งเวลส์ (ในชั้นรอยัลไฮเนส) ขณะทรงเป็นชายแรกรุ่น พระองค์ทรงปฏิบัติราชการในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยการเสด็จเยือนต่างประเทศแทนพระองค์พระราชบิดาและทรงข้องเกี่ยวกับหญิงสาวสูงวัยที่แต่งงานแล้วมากมาย ช่วงเวลาหลายเดือนในรัชกาล พระองค์ทรงทำให้เกิดวิกฤตการณ์ในรัฐธรรมนูญ ได้ชื่อว่าวิกฤตการณ์สละราชสมบัติด้วยการขออภิเษกสมรสกับวอลลิส ซิมป์สัน แม่ม่ายหย่าร้างชาวอเมริกัน แม้ว่าทางกฎหมายแล้วพระองค์จะอภิเษกสมรสกับนางซิมป์สันและคงเป็นกษัตริย์อยู่ได้ แต่คณะรัฐมนตรีของพระองค์ได้คัดค้านการอภิเษกสมรสโดยโต้แย้งว่าประชาชนจะไม่ยอมรับเธอเป็นพระราชินีได้เลย พระองค์ทรงทราบดีว่ารัฐบาลของสแตนเลย์ บาลด์วิน นายกรัฐมนตรีจะลาออกถ้าการอภิเษกสมรสยังคงดำเนินต่อไป อันจะทำให้ลากพระองค์ไปสู่การเลือกทั่วไปซึ่งจะเป็นการทำลายสถานะของพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญที่ทรงเป็นกลางทางการเมืองของพระองค์อย่างไม่สามารถแก้ไขได้ แทนที่จะเลิกกับนางซิมป์สัน แต่พระองค์กลับทรงเลือกที่จะสละราชสมบัติ สมเด็จพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8 เป็นพระประมุของค์เดียวของสหราชอาณาจักรที่ทรงสละราชบัลลังก์อย่างสมัครใจ นอกจากนี้ยังเป็นพระประมุขที่ทรงครองราชสมบัติสั้นที่สุดพระองค์ในประวัติศาสตร์อังกฤษ และมิได้ทรงกระทำพิธีบรมราชาภิเษกเลย หลังจากการสละราชสมบัติ พระองค์ทรงเปลี่ยนกลับไปใช้พระอิสริยยศของพระราชโอรสในพระมหากษัตริย์คือ เจ้าชายเอดเวิร์ด และทรงได้รับการเฉลิมพระอิสริยยศเป็น ดยุกแห่งวินด์เซอร์ เมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2480 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 พระองค์ทรงได้รับมอบหมายให้ประจำการในกองกำลังทหารอังกฤษในประเทศฝรั่งเศส แต่หลังจากข้อกล่าวหาลับต่างๆ ที่ว่าพระองค์ทรงเข้าข้างฝ่ายนาซีเยอรมัน ก็ทรงถูกย้ายไปยังบาฮามาสในฐานะข้าหลวงใหญ่ และ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด หลังจากสิ้นสุดสงคราม พระองค์ก็ไม่ทรงได้รับการแต่งตั้งทางราชการอื่นใดอีกและทรงใช้เวลาที่เหลือในพระชนม์ชีพด้วยความสันโดษ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร หมวดหมู่:ราชวงศ์วินด์เซอร์ หมวดหมู่:บุคคลจากริชมอนด์ (ลอนดอน) หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ผู้ทรงสละราชบัลลังก์ หมวดหมู่:เจ้าชายแห่งเวลส์ หมวดหมู่:ผู้รอดชีวิตจากการลอบสังหาร หมวดหมู่:ไนท์ออฟเดอะการ์เตอร์.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสมเด็จพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐ

หพันธ์สาธารณรัฐเป็นสหพันธรัฐของรัฐที่มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย การใช้คำว่า "สาธารณรัฐ" ไม่คงเส้นคงวา ทว่า ณ ใจกลาง ความหมายตามอักษรของคำว่า "สาธารณรัฐ" เมื่อใช้อ้างอิงถึงระบอบการปกครองหมายถึง "รัฐซึ่งอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนหรือผู้แทนประชาชน มิใช่พระมหากษัตริย์หรือจักรพรรดิ; ประเทศที่ไม่มีพระมหากษัตริย์" ในสหพันธ์สาธารณรัฐ มีการแยกใช้อำนาจระหว่างรัฐบาลกลางและรัฐบาลของเขตการปกครองย่อยหนึ่ง ๆ แม้ว่าสหพันธ์สาธารณรัฐแต่ละแห่งจัดการการแยกใช้อำนาจนี้ต่างกัน แต่ปัญหาร่วมที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงและการป้องกันประเทศ และนโยบายการเงินปกติจัดการที่ระดับสหพันธรัฐ ขณะที่ปัญหาอย่างการบำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐานและนโยบายการศึกษาปกติจัดการที่ระดับภูมิภาคหรือท้องถิ่น ทว่า มีความเห็นแตกต่างกันว่าปัญหาใดควรเป็นอำนาจหน้าที่ของสหพันธรัฐ และเขตการปกครองปกติมีอำนาจอธิปไตยในบางปัญหาซึ่งรัฐบาลกลางไม่มีเขตอำนาจ ฉะนั้น สหพันธ์สาธารณรัฐจึงนิยามขัดต่อสาธารณรัฐรัฐเดี่ยว (unitary republic) ดี่ที่สุด ซึ่งรัฐบาลกลางมีอำนาจอธิปไตยเต็มเหนือทุกส่วนของชีวิตการเมือง ข้อแตกต่างทางการเมืองระหว่างสหพันธ์สาธารณรัฐและสหพันธรัฐอื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหพันธ์ราชาธิปไตย (federal monarchies) ซึ่งมีระบบการปกครองแบบรัฐสภา ส่วนใหญ่เป็นประเด็นของรูปแบบทางกฎหมายมากกว่าสาระทางการเมือง เพราะสหพันธรัฐส่วนมากมีการปฏิบัติหรือโครงสร้างเป็นแบบประชาธิปไตยอยู่แล้ว ทว่า ในบางสหพันธ์ราชาธิปไตย เช่น สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ยึดหลักการอื่นนอกเหนือจากประชาธิปไต.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสหพันธ์สาธารณรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สันนิบาตชาติ

ันนิบาตชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสันนิบาตชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐดัตช์

รณรัฐดัตช์ (อังกฤษ: ชื่อเต็ม Republiek der Zeven Verenigde Nederlanden หรือ De Nederlandse Republiek และ De Verenigde Provincien) เป็นการรวมหนึ่งในส่วนรัฐทั้ง 7 ของเนเธอร์แลนด์ของสเปน โดยเป็นกบฏโปรแตสแตนท์ในกลุ่มขุนนาง ผู้ปกครองคนแรกคือ วิลเลียมที่ 1 แห่งออเรนจ์ และทำให้เกิดสงคราม 80 ปีจนสงบศึกในปี ค.ศ. 1648.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสาธารณรัฐดัตช์ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐไวมาร์

รณรัฐไวมาร์ (Weimarer Republik) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกประเทศเยอรมนีในยุคสาธารณรัฐระหว่างปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสาธารณรัฐไวมาร์ · ดูเพิ่มเติม »

สิบสามอาณานิคม

มอาณานิคม (Thirteen Colonies) เป็นอาณานิคมของอังกฤษฝั่งแอตแลนติกในทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคมบริติชอเมริกา ก่อตั้งระหว่าง..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสิบสามอาณานิคม · ดูเพิ่มเติม »

สงคราม ค.ศ. 1812

งคราม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสงคราม ค.ศ. 1812 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองอเมริกา

งครามกลางเมืองอเมริกา (American Civil War) เป็นสงครามกลางเมืองซึ่งเกิดขึ้นในสหรัฐระหว่างปี 1861 ถึง 1865 สืบเนื่องจากข้อโต้แย้งยืดเยื้อเกี่ยวกับทาส ระหว่างฝ่ายหนึ่งเป็นกลุ่มชาตินิยมสหภาพซึ่งประกาศความภักดีต่อรัฐธรรมนูญสหรัฐ กับกลุ่มแบ่งแยกดินแดนสมาพันธรัฐซึ่งสนับสนุนสิทธของรัฐในการขยายทาสอีกฝ่ายหนึ่ง ในบรรดา 34 รัฐของสหรัฐในเดือนกุมภาพันธ์ 1861 เจ็ดรัฐทาสในภาคใต้ประกาศแยกตัวออกจากสหรัฐเพื่อตั้งเป็นสมาพันธรัฐอเมริกา หรือ "ฝ่ายใต้" สมาพันธรัฐเติบโตจนมี 11 รัฐทาส รัฐบาลสหรัฐไม่เคยรับรองทางการทูตซึ่งสมาพันธรัฐ เช่นเดียวกับประเทศอื่นทุกประเทศ (แม้สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสจะให้สถานภาพคู่สงคราม) รัฐที่ยังภักดีต่อสหรัฐ (รวมทั้งรัฐชายแดนซึ่งทาสชอบด้วยกฎหมาย) เรียก "สหภาพ" หรือ "ฝ่ายเหนือ" สงครามเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 12 เมษายน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสงครามกลางเมืองอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอ่าวเปอร์เซีย

งครามอ่าวเปอร์เซีย หรือ สงครามอ่าว (Gulf War, 2 สิงหาคม 2533 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ชื่อรหัสปฏิบัติการโล่ทะเลทราย (Operation Desert Shield, 2 สิงหาคม 2533 – 17 มกราคม 2534) เป็นปฏิบัติการนำสู่การสั่งสมกำลังและการป้องกันของซาอุดีอาระเบียและปฏิบัติการพายุทะเลทราย (Operation Desert Storm, 17 มกราคม 2534 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ในระยะสู้รบ เป็นสงครามในภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียระหว่างกำลังผสมจาก 34 ชาตินำโดยสหรัฐอเมริกาต่อประเทศอิรักหลังการบุกครองและผนวกคูเวตของอิรัก สงครามนี้มีชื่ออื่น เช่น สงครามอ่าวเปอร์เซีย, สงครามอ่าวครั้งที่หนึ่ง, สงครามคูเวต, สงครามอิรัก ซึ่งคำว่า "สงครามอิรัก" ต่อมาใช้เรียกการบุกครองอิรักเมื่อปี 2546 แทน การยึดครองคูเวตของกองทัพอิรักซึ่งเริ่มเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2533 นั้นถูกนานาชาติประณาม และสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติพลันใช้วิธีการบังคับทางเศรษฐกิจต่ออิรัก ประธานาธิบดี จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช วางกำลังสหรัฐเข้าสู่ซาอุดีอาระเบียและกระตุ้นให้ประเทศอื่นส่งกำลังของตนไปที่นั้นด้วย มีหลายชาติเข้าร่วมกำลังผสม ซึ่งเป็นพันธมิตรทางทหารที่ใหญ่ที่สุดนับแต่สงครามโลกครั้งที่สอง กำลังทหารของกำลังผสมส่วนใหญ่มาจากสหรัฐ โดยมีซาอุดีอาระเบีย สหราชอาณาจักรและอียิปต์เป็นผู้มีส่วนร่วมรายใหญ่ตามลำดับ ซาอุดีอาระเบียสมทบเงิน 36,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐจากค่าสงคราม 60,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สงครามนี้มีการริเริ่มการถ่ายทอดข่าวสดจากแนวหน้าของการสู้รบ หลัก ๆ โดยเครือข่ายซีเอ็นเอ็นของสหรัฐ สงครามนี้ยังได้ชื่อเล่นว่า สงครามวิดีโอเกม หลังการถ่ายทอดภาพรายวันจากกล้องบนเครื่องบินทิ้งระเบิดสหรัฐระหว่างปฏิบัติการพายุทะเลทราย ความขัดแย้งระยะแรกเพื่อขับกองทัพอิรักออกจากคูเวตเริ่มด้วยทางระดมทิ้งระเบิดทางอากาศและทางเรือเมื่อวันที่ 17 มกราคม 2534 และดำเนินไปห้าสัปดาห์ ตามด้วยการโจมตีภาคพื้นดินเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ สงครามสิ้นสุดด้วยชัยชนะอย่างขาดลอยของกำลังผสม ซึ่งขับกองทัพอิรักออกจากคูเวตและรุกเข้าดินแดนอิรัก กำลังผสมยุติการบุกและประกาศหยุดยิงหลังการทัพภาคพื้นเริ่ม 100 ชั่วโมง การสู้รบทางอากาศและทางบกจำกัดอยู่ในประเทศอิรัก คูเวตและบางพื้นที่ตรงพรมแดนซาอุดีอาระเบีย ประเทศอิรักปล่อยขีปนาวุธสกั๊ดต่อเป้าหมายทางทหารของกำลังผสมและต่ออิสราเอล.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสงครามอ่าวเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามคอซอวอ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสงครามคอซอวอ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามปฏิวัติอเมริกา

งครามปฏิวัติอเมริกา (American Revolutionary War; ค.ศ. 1775–1783) หรือเรียก สงครามประกาศอิสรภาพอเมริกา (American War of Independence) หรือสงครามปฏิวัติในสหรัฐ เป็นการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างบริเตนใหญ่และสิบสามอาณานิคมอเมริกาเหนือซึ่งหลังสงครามเปิดฉากประกาศอิสรภาพเป็นสหรัฐอเมริกา สงครามนี้มีจุดกำเนิดจากการต่อต้านภาษีบางชนิดและพระราชบัญญัติซึ่งชาวอเมริกันจำนวนมากอ้างว่าไม่ชอบธรรมและมิชอบด้วยกฎหมาย การประท้วงของแพทริอัต (Patriot) ลุกลามเป็นการคว่ำบาตร และในวันที่ 16 ธันวาคม 1773 พวกเขาทำลายการส่งสินค้าชาในท่าบอสตัน รัฐบาลบริเตนตอบโต้โดยปิดท่าบอสตัน แล้วผ่านมาตรการโดยมุ่งลงโทษอาณานิคมที่เป็นกบฏ แพทริอัตสนองโดยซัฟฟอล์กรีซอฟส์ (Suffolk Resolves) คือ การสถาปนารัฐบาลเงาซึ่งกำจัดการควบคุมมณฑลจากคราวน์นอกบอสตัน สิบสองอาณานิคมตั้งสภาภาคพื้นทวีปเพื่อประสานงานการต่อต้าน และสถาปนาคณะกรรมการและการประชุมใหญ่ซึ่งยึดอำนาจชะงัด ความพยายามยึดยุทโธปกรณ์อเมริกันของบริเตนในเดือนเมษายน 1775 นำสู่การยุทธ์อย่างเปิดเผยระหว่างกำลังคราวน์และทหารอาสาสมัครแพทริอัต ทหารอาสาสมัครเดินหน้าล้อมกำลังบริติชในบอสตัน บังคับให้ต้องอพยพนครในเดือนมีนาคม 1776 สภาภาคพื้นทวีปตั้งจอร์จ วอชิงตันให้บังคับบัญชาทหารอาสาสมัคร ต่อมา เขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพภาคพื้นทวีปที่เพิ่งตั้ง ตลอดจนประสานงานหน่วยทหารอาสาสมัครของรัฐ ในเวลาเดียวกับการทัพบอสตัน ความพยายามบุกครองควิเบกของอเมริกาและปลุกการกบฏต่อพระมหากษัตริย์บริติชล้มเหลวโดยสิ้นเชิง วันที่ 2 กรกฎาคม 1774 สภาลงมติสนับสนุนเอกราชอย่างเป็นทางการ โดยออกคำประกาศในวันที่ 4 กรกฎาคม เซอร์วิลเลียม ฮาว (William Howe) เริ่มการตีโต้ตอบซึ่งมุ่งยึดนครนิวยอร์กคืน ฮาวชนะวอชิงตันด้วยอุบาย ทำให้ความมั่นใจของฝ่ายอเมริกาแตะจุดต่ำสุด วอชิงตันสามารถยึดกองทัพเฮชชัน (Hessian) ได้ที่เทรนตัน และขับบริเตนออกจากนิวเจอร์ซีย์ ฟื้นความมั่นใจของฝ่ายอเมริกา ในปี 1777 บริเตนส่งกองทัพใหม่โดยมีจอห์น เบอร์กอยน์ (John Burgoyne) เป็นผู้บังคับบัญชาให้ยกลงใต้จากแคนาดาและแยกอาณานิคมนิวอิงแลนด์ ทว่า ฮาวไม่สนับสนุนเบอร์กอยน์ แต่นำกองทัพของเขาในอีกการทัพหนึ่งต่อกรุงฟิลาเดลเฟีย เมืองหลวงฝ่ายปฏิวัติ เบอร์กอยน์หมดกำลังบำรุง ถูกล้อมและยอมจำนนในเดือนตุลาคม 1777 ความปราชัยของบริเตนที่ซาราโทกา (Saratoga) มีผลใหญ่หลวง ฝรั่งเศสและสเปนได้จัดหาอาวุธ เครื่องกระสุนและกำลังบำรุงอื่นให้ชาวอาณานิคมอย่างลับ ๆ ตั้งแต่เดือนเมษายน 1776 บัดนี้ฝรั่งเศสเข้าสู่สงครามอย่างเป็นทางการในปี 1778 โดยลงนามพันธมิตรทางทหารซึ่งรับรองเอกราชของสหรัฐ บริเตนตัดสินใจยอมเสียอาณานิคมทางเหนือ และกู้อดีตอาณานิคมทางใต้ กำลังบริเตนโดยมีชาลส์ คอร์นวอลลิส (Charles Cornwallis) เป็นผู้บังคับบัญชายึดจอร์เจียและเซาท์แคโรไลนา ยึดกองทัพอเมริกาได้ที่ชาลส์ตัน เซาท์แคโรไลนา ยุทธศาสตร์นี้อาศัยการก่อการกำเริบของลอยัลลิสต์ (Loyalist) ติดอาวุธจำนวนมาก แต่มีผู้มาเข้าร่วมน้อยเกินไป ในปี 1779 สเปนเข้าร่วมสงครามเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสภายใต้สนธิสัญญาตระกูล (Pacte de Famille) โดยเจตนายึดยิบรอลตาร์และอาณานิคมบริติชในแคริบเบียน บริเตนประกาศสงครามต่อสาธารณรัฐดัตช์ในปี 1780 ในปี 1781 หลังปราชัยอย่างเด็ดขาดสองครั้งที่คิงส์เมาน์เทนและคาวเพนส์ คอร์นวอลลิสถอยไปเวอร์จิเนียโดยตั้งใจอพยพ ชัยทางเรืออย่างเด็ดขาดของฝรั่งเศสในเดือนกันยายนตัดทางหนีของบริเตน กองทัพร่วมฝรั่งเศส-อเมริกาโดยมีเคาต์รอช็องโบ (Count Rochambeau) และวอชิงตันเป็นผู้นำล้อมกองทัพบริติชที่ยอร์กทาวน์ เมื่อเห็นว่าไม่มีการช่วยเหลือและสถานการณ์ป้องกันไม่อยู่ คอร์นวอลลิสยอมจำนนในเดือนตุลาคม และทหารถูกจับเป็นเชลยประมาณ 8,000 คน วิกในบริเตนคัดค้านฝ่ายข้างมากทอรีนิยมสงครามในรัฐสภาอย่างยาวนาน ทว่า ความปราชัยที่ยอร์กทาวน์ทำให้วิกเป็นฝ่ายเหนือกว่า ต้นปี 1782 พวกเขาลงมติยุติปฏิบัติการบุกทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือ แต่สงครามกับฝรั่งเศสและสเปนยังดำเนินต่อ โดยบริเตนชนะทั้งสองประเทศระหว่างการล้อมใหญ่ยิบรอลตาร์ นอกเหนือจากนี้ พวกเขาชนะฝรั่งเศสทางเรือหลายครั้งทโดยที่เด็ดขาดที่สุด คือ ยุทธนาวีที่ซานต์ (Battle of the Saintes) ในแคริบเบียนปีเดียวกัน วันที่ 3 กันยายน 1783 คู่สงครามลงนามสนธิสัญญากรุงปารีสซึ่งยุติสงคราม บริเตนตกลงรับรองเอกราชของสหรัฐเหนือดินแดนโดยมีขอบเขตคร่าว ๆ อยู่ที่แคนาดาทางเหนือ ฟลอริดาทางใต้และแม่น้ำมิสซิสซิปปีทางตะวันตก แม้การเข้ามีส่วนเกี่ยวข้องของฝรั่งเศสมีผลชี้ขาดต่อสาเหตุของเอกราชอเมริกา แต่ได้ดินแดนเพียงเล็กน้อย และมีปัญหาหนี้สินมหาศาล สเปนได้อาณานิคมฟลอริดาของบริเตนและเกาะมินอร์กา แต่ไม่สามารถชิงยิบรอลตาร์คืนซึ่งเป็นเป้าหมายหลัก ฝ่ายดัตช์มีแต่เสีย โดยถูกบังคับให้ยกดินแดนบางส่วนให้บริต.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสงครามปฏิวัติอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

สงครามนโปเลียน

งครามนโปเลียน (Napoleonic Wars, Guerres napoléoniennes) เป็นสงครามต่อเนื่องที่เกี่ยวข้องกับจักรวรรดิฝรั่งเศสของนโปเลียน และพันธมิตรต่าง ๆ ของยุโรป และฝ่ายพันมิตรต่อต้านที่เริ่มขึ้นราว..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสงครามนโปเลียน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเจ็ดปี

ำหรับสงครามเจ็ดปีในความหมายอื่น อ่าน สงครามเจ็ดปี (แก้ความกำกวม) สงครามเจ็ดปี (Seven Years' War) หรือ สงครามไซลีเซียครั้งที่ 3 (Third Silesian War) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสงครามเจ็ดปี · ดูเพิ่มเติม »

สตาร์ วอร์ส (ภาพยนตร์)

ตาร์ วอร์ส (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น สตาร์ วอร์ส เอพพิโซด 4: ความหวังใหม่)ลูคัส, จอร์จ (เขียน/กำกับ).

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสตาร์ วอร์ส (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สติง

กอร์ดอน แมททิว โทมัส ซัมเนอร์ (Gordon Matthew Thomas Sumner, CBE) เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม ค.ศ. 1951 หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ สติง (Sting) เป็นนักดนตรี นักแสดงชาวอังกฤษ จากวอลล์เซนด์ ในนอร์ธไทน์ไซด์ ก่อนที่จะก้าวสู่ฐานะศิลปินเดี่ยวเขาเป็นนักเขียนเพลงและนักร้องและมือเบสให้กับวงร็อกที่ชื่อ เดอะโพลิซ ในฐานะศิลปินเดี่ยวและสมาชิกวงเดอะโพลิซ สติงได้รับรางวัลแกรมมี่ 16 ครั้งจากผลงานของเขา ได้รับรางวัลแกรมมี่ครั้งแรกในสาขาแสดงดนตรีร็อกบรรเลงยอดเยี่ยมในปี 191 และเคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์สาขาเพลงยอดเยี่ยม 3 ครั้ง.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสติง · ดูเพิ่มเติม »

สตีเวน สปีลเบิร์ก

ตีเวน อัลลัน สปีลเบิร์ก เกิดเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1946 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน ผู้สร้างหนัง สปีลเบิร์กรับรางวัลออสการ์ 3 ครั้ง.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสตีเวน สปีลเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญานาวิกวอชิงตัน

นธิสัญญานาวิกวอชิงตัน (Washington Naval Treaty) หรือ สนธิสัญญาห้ามหาอำนาจ (Five-Power Treaty) เป็นสนธิสัญญาจำกัดอาวุธยุทธภัณฑ์ทางนาวีของประเทศที่ร่วมลงนาม 5 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา, จักรวรรดิบริติช, จักรวรรดิญี่ปุ่น, สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3, และราชอาณาจักรอิตาลี โดยเป็นผลพวงจากการประชุมนาวิกวอชิงตันที่วอชิงตัน ดี.ซี. ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสนธิสัญญานาวิกวอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอำนาจกลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วยสนธิสัญญาฉบับอื่น แม้จะได้มีการลงนามสงบศึกตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสนธิสัญญาแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาเจย์

นธิสัญญาเจย์ หรือ สนธิสัญญาบริติช หรือ สนธิสัญญาลอนดอน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสนธิสัญญาเจย์ · ดูเพิ่มเติม »

สไปซ์เกิลส์

ปซ์เกิลส์ (Spice Girls) เป็นกลุ่มศิลปินหญิงจากอังกฤษ เริ่มก่อตั้งวงในปี ค.ศ. 1994 ในลอนดอน หลังจากออกซิงเกิลแรก "Wannabe" ก็สร้างปรากฏการณ์ในวงการเพลงป็อปไปทั่วโลก ยอดขายมีมากกว่า 55 ล้านชุดทั่วโลก ถือว่าเป็นกลุ่มศิลปินหญิงที่ประสบความสำเร็จที่สุด สไปซ์เกิลส์ ได้ออกอัลบั้มทั้งหมด 3 สตูดิโออัลบั้ม กับ 10 ซิงเกิล ซึ่งมีซิงเกิลที่ขึ้นอันดับ 1 ในสหราชอาณาจักรถึง 9 เพลง, ซิงเกิลที่ขึ้นอันดับ 1 ช่วงคริสต์มาสติดต่อกันสามปีซ้อนในสหราชอาณาจักร และซิงเกิลเพลง Wannabe ซึ่งเป็นซิงเกิลที่ขายดีที่สุดเท่าที่เคยมีมาของวงหญิงล้วน msn.com และมีภาพยนตร์เรื่อง Spiceworld ที่ทำรายได้ 75 ล้านดอลลาร์สหรัฐ พวกเธอยังได้รับรางวัลต่างๆหลายเวที รวมถึง บริท อวอร์ดส ในปี 2016 Spice Girls ได้รวมตัวกันใหม่อีกครั้งเพื่อฉลองที่วงครบรอบ 20 ปี โดยสมาชิกทีตอบรับกลับมารวมตัวใหม่อีกครั้งมีเพียงแค่ เอ็มม่า บันทัน, เมล บี และ เจรี ฮัลลิเวลล์ โดยทั้ง 3 จะเปิดตัวในนาม "Spice Girls GEM" ในเร็วๆนี้ซึ่งคำว่า GEM มาจากชื่อแรกของทั้ง 3 สมาชิกที่กลับมารวมตัวใหม่ในครั้งนี้นำมาประกอบกันใหม่ โดย G ย่อมาจาก Geri, E ย่อมาจาก Emma และ M ย่อมาจาก Mel B.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสไปซ์เกิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

หลักการสิบสี่ข้อ

หลักการสิบสี่ข้อของประธานาธิบดีวิลสัน เป็นการรวบรวมเอาเนื้อหาของสุนทรพจน์ของประธานาธิบดีวิลสัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 เกี่ยวกับสันติภาพของโลกหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ต่อมา หลักการสิบสี่ข้อนี้ได้กลายเป็นหลักการของสนธิสัญญาแวร์ซาย เมื่อเยอรมนียอมแพ้สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและหลักการสิบสี่ข้อ · ดูเพิ่มเติม »

ห้องทำงานรูปไข่

ห้องทำงานรูปไข่ มองจากด้านบน ภายนอกของห้องทำงานรูปไข่ ห้องทำงานรูปไข่ (Oval Office) เป็นห้องทำงานอย่างเป็นทางการของประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1909 ในสมัยอดีตประธานาธิบดีวิลเลียม เอช. ทัฟต์ บริเวณส่วนต่อขยาย บริเวณปีกตะวันตกของทำเนียบขาว ห้องทำงานรูปไข่ มีลักษณะเป็นรูปวงรี มีขนาดด้านยาว 35 ฟุต 10 นิ้ว (10.9 เมตร) ด้านกว้าง 29 ฟุต (8.8 เมตร) เพดานสูง 18 ฟุต 6 นิ้ว (5.6 เมตร) ตกแต่งด้วยสถาปัตยกรรมแบบบาโรก ผสมผสานกับนีโอคลาสสิก.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและห้องทำงานรูปไข่ · ดูเพิ่มเติม »

อภิมหาอำนาจ

แผนที่อภิมหาอำนาจในปีค.ศ. 1945 สหรัฐอเมริกา (น้ำเงิน), สหภาพโซเวียต (แดง), และ จักรวรรดิอังกฤษ (เขียวน้ำเงิน) รัสเซีย อภิมหาอำนาจ (superpower) คือ รัฐซึ่งเป็นผู้นำในระบบระหว่างประเทศและความสามารถในการใช้อำนาจชักจูงให้เกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ และก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนและวางแผนใช้อำนาจในระดับทั่วโลกเพื่อปกป้องผลประโยชน์เหล่านี้ รัฐ "อภิมหาอำนาจ" ถูกพิจารณาว่ามีความเหนือกว่ารัฐ "มหาอำนาจ" อลิซ ไลแมน มิลเลอร์ ศาสตราจารย์แห่งกิจการความมั่นคงแห่งชาติ ณ บัณฑิตวิทยาลัยกองทัพเรือ ให้คำจำกัดความของอภิมหาอำนาจว่า "ประเทศซึ่งมีความสามารถจะรักษาอำนาจครอบงำและส่งอิทธิพลได้ในทุกพื้นที่ในโลก และในบางครั้ง ในมากกว่าหนึ่งภูมิภาคของโลกในเวลาใดเวลาหนึ่ง และอาจกล่าวได้ว่าบรรลุสถานะความเป็นเจ้าโลก คำดังกล่าวเริ่มถูกใช้เป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและอภิมหาอำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฟรด ฮิตช์ค็อก

อัลเฟร็ด ฮิตช์ค็อก (Alfred Hitchcock; 13 สิงหาคม 1899 — 29 เมษายน 1980) ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียงมากในแนวระทึกขวัญหรือ ทริลเลอร์ ฮิตช์ค็อกได้เริ่มต้นกำกับภาพยนตร์ในอังกฤษ ก่อนที่จะไปกำกับที่อเมริกาในปี 1939 ฮิตช์ค็อกถือเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ที่เป็นตำนานบนแผ่นฟิล์มของฮอลลีวู้ดและของโลก ในด้านการทำภาพยนตร์แนวทริลเลอร์ และผู้กำกับภาพยนตร์รุ่นหลัง ๆ ต่อมา ก็มีหลายคน ที่ยกย่องฮิตช์ค็อกซ์ และเอาสไตล์ของฮิตช์ค็อกเป็นต้นแบบในการทำหนัง ถึงแม้ภายในช่วงชีวิตของฮิตช์ค็อกเมื่ออยู่ในอเมริกานั้นเขาจะโด่งดังและมีชื่อเสียงมาก แต่กลับไม่ได้รับคำวิจารณ์ที่ดีนักจากนักวิจารณ์ในสมัยนั้น ภาพยนตร์ของเขาส่วนใหญ่ที่สร้างขึ้น จะเน้นทางด้านความแฟนตาซี และความหวาดกลัวของมนุษย์ในรูปแบบต่าง ๆ และชอบใช้เหตุการณ์ที่มีตัวละครที่ไม่รู้ประสีประสา ให้ตกอยู่ในสถานการณ์ที่อยู่เหนือการควบคุมของตัวละครนั้น ๆ ซึ่งนักวิจารณ์หลายคนกล่าวว่า ฮิตช์ค็อกนั้นไม่ได้กำกับภาพยนตร์แต่กำกับอารมณ์ของคนดูมากกว่า และตัวฮิตช์ค็อกเองก็เคยกล่าวว่า เขาสนุกกับการได้เล่นกับความรู้สึกของคนดู ฮิตช์ค็อกเปิดเผยว่า เมื่อตอนอายุได้ 5 ขวบ เขาจำได้ว่าเคยถูกพ่อส่งตัวไปให้ตำรวจจับเข้าคุกเป็นเวลา 10 นาที เป็นการลงโทษเนื่องจากความซุกซน นั่นทำให้เขาหวาดกลัวมาก และเป็นอิทธิพลส่งผลให้ผลงานภาพยนตร์แต่ละเรื่องของเขา เจ้าหน้าที่ตำรวจหรือนักสืบผู้เชี่ยวชาญจะไม่ใช่ตัวละครสำคัญหรือเป็นเงื่อนไขในการคลี่คลายปมลับเลย ซ้ำในบางเรื่องยังทำให้สถานการณ์เลวร้ายลงกว่าเดิมหรือยุ่งยากยิ่งขึ้นไปอีก นอกจากนี้แล้ว อัลเฟร็ด ฮิตช์ค็อก ยังมีรูปแบบการมีส่วนร่วมในภาพยนตร์ของตัวเองที่ไม่เหมือนใคร ไม่เพียงแต่กำกับเท่านั้น เขายังมักปรากฏตัวในหนังแต่ละเรื่องด้วย โดย การเดินผ่านไปมาหน้ากล้อง หรือโผล่มาเป็นตัวประกอบในฉากต่าง ๆ ซึ่งทางภาษาภาพยนตร์เรียกว่า cameo.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและอัลเฟรด ฮิตช์ค็อก · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนีย

อาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนีย (RMS Lusitania) คือชื่อเรือเดินสมุทรสัญชาติอังกฤษที่ครอบครองรางวัลบลูริบบันด์ (Blue Riband) ซึ่งมอบให้กับเรือที่เป็นเจ้าของสถิติเดินทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกด้วยเวลาน้อยที่สุด และเป็นเรือที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ณ ขณะนั้น อาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนียเดินสมุทรครั้งแรกโดยบริษัทสายการเดินเรือคูนาร์ดในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและอาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนีย · ดูเพิ่มเติม »

อี.ที. เพื่อนรัก

อี.ที.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและอี.ที. เพื่อนรัก · ดูเพิ่มเติม »

อเมริกันฟุตบอล

กีฬาอเมริกันฟุตบอลในช่วงก่อนเริ่มเทิร์น ทั้งสองฝ่ายจะเตรียมพร้อมในแนวหน้ากระดาน ในภาพมหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต (ชุดแดง) แข่งกับ มหาวิทยาลัยเทกซัสเทค (ชุดขาว) ลูกอเมริกันฟุตบอล รูปร่างกลมรี ปลายแหลม และโดยทั่วไปจะมี แนวตะเข็บด้ายขนาดใหญ่อยู่ที่ด้านหนึ่ง อเมริกันฟุตบอล (American football) เป็นกีฬาประเภททีมที่นิยมมากที่สุดในสหรัฐอเมริกา จุดมุ่งหมายของการแข่งขันคือแต่ละทีมจะต้องพยายามเคลื่อนลูกบอลเข้าไปสู่ เขตปลายสุดสนาม หรือที่เรียกว่าเอนด์โซนของฝ่ายตรงข้าม การเคลื่อนนั้นสามารถกระทำได้โดย การถือลูกวิ่ง และ การขว้างลูกไปให้เพื่อนร่วมทีม การทำคะแนนสามารถทำได้หลายวิธีคือ การถือลูกวิ่งผ่านเส้นเขตประตู การขว้างลูกไปให้เพื่อนร่วมทีมที่อยู่ในเขตสนามหลังเส้นประตู หรือ การแตะประตู โดยการเตะลูกที่มีเพื่อนร่วมทีมจับตั้งกับพื้นสนามให้ผ่านระหว่างเสาประตู (goalposts หรือ uprights) หลังจากหมดเวลาการแข่งขันทีมที่ได้คะแนนสูงกว่าจะเป็นฝ่ายชนะ ในสหรัฐอเมริกา และ ประเทศแคนาดา เรียกกีฬาประเภทนี้ว่า "ฟุตบอล (football) " (ในขณะเดียวกันเรียกฟุตบอล ว่า ซอคเกอร์) ในบางประเทศเรียกอเมริกันฟุตบอลว่า "กริดไอเอิร์นฟุตบอล (grid-iron football) " อเมริกันฟุตบอลนั้นเริ่มมีการพัฒนาแยกตัวออกมาจาก รักบี้ฟุตบอล ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 อรีนาฟุตบอล หรือ ฟุตบอลในร่ม เป็นกีฬาที่ดัดแปลงมาจากอเมริกันฟุตบอล.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและอเมริกันฟุตบอล · ดูเพิ่มเติม »

อเทวนิยม

หมายเปาโลถึงชาวเอเฟซัส (2:12) จากพาไพรัส 46ในศตวรรษที่ 3 ตอนต้น อเทวนิยม (atheism) คือ ทรรศนะที่ไม่เชื่อว่ามีพระเป็นเจ้า และเชื่อในกฎธรรมชาติ ตรงกันข้ามกับเทวนิยมEncyclopædia Britannica 2009 อเทวนิยมแตกต่างจากอไญยนิยม (agnosticism) ซึ่งเป็นมุมมองที่ว่ามนุษย์ไม่อาจพิสูจน์ได้ว่าพระเจ้ามีจริงหรือไม่ รวมถึงปรากฏการณ์ที่ไม่อาจรับรู้ได้ด้วยประสบการณ์ทางผัสสะ คำว่า atheism ในภาษาอังกฤษ มาจากภาษากรีก ἄθεος (atheos) อันมีความหมายว่า "ปราศจากเทพ" ถือเป็นคำหยาบที่ใช้เรียกผู้ปฏิเสธเทพที่สังคมบูชากัน หลังจากที่มีความคิดอย่างอิสระ (freethought) ความสงสัยทางวิทยาศาสตร์ (skeptical inquiry) และการวิจารณ์ศาสนา (criticism of religion) เพิ่มขึ้นแล้ว การใช้คำนี้ก็มีความหมายอย่างแคบลง บุคคลกลุ่มแรกที่เริ่มถือว่าตนเป็นผู้ที่ไม่เชื่อเรื่องพระเทพ โดยเรียกตนเองว่า "ผู้ถืออเทวนิยม" (atheist) นั้น ใช้ชีวิตอยู่ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 เนื่องจากเหตุที่ว่า ความหมายและความเข้าใจของอเทวนิยมนั้น มีความแตกต่างกัน ในปัจจุบันจึงทราบได้ยากว่าในโลกมีผู้ถืออเทวนิยมกี่คน อิงตามการคาดคะเนในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและอเทวนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ฮิลลารี คลินตัน

ลลารี ไดแอน ร็อดแดม คลินตัน เกิดวันที่ 26 ตุลาคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและฮิลลารี คลินตัน · ดูเพิ่มเติม »

ฮิวสตัน

วสตัน (Houston) เป็นเมืองขนาดใหญ่ที่สุดในรัฐเทกซัส และเมืองขนาดใหญ่อันดับสี่ของสหรัฐอเมริกา ฮิวสตันเป็นที่รู้จักในชื่อเสียงของอุตสาหกรรมพลังงาน น้ำมัน อากาศยาน และการขนส่งทางเรือ ท่าเรือในฮิวสตันเป็นท่าเรือที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลก มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในเมืองได้แก่ มหาวิทยาลัยไรซ์ ทีมกีฬาที่สำคัญได้แก.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและฮิวสตัน · ดูเพิ่มเติม »

ฮูวอนส์ทูบีอะมิลเลียนแนร์?

ูวอนส์ทูบีอะมิลเลียนแนร์? (Who Wants to Be a Millionaire?) เป็นรายการประเภทควิซโชว์ทางโทรทัศน์ ที่มีเงินรางวัลมหาศาลเป็นรางวัล ในการตอบคำถามให้ถูกหมดทุกข้อ ในจำนวนคำถาม 12 หรือ 15 ข้อ โดยมีตัวเลือกให้เลือก และความยากของคำถามค่อย ๆ เพิ่มขึ้นตามข้อหลัง ๆ รูปแบบและลิขสิทธิ์รายการเป็นของโซนีพิกเจอร์สเทเลวิชันอินเตอร์เนชันแนล สำหรับจำนวนเงินรางวัลสูงสุด (ฉบับดั้งเดิมในสหราชอาณาจักร) สูง 1 ล้านปอนด์ ส่วนในประเทศอื่นมักมีเงินรางวัลสูงสุดเป็นหน่วยล้านเช่นกัน จำนวนเงินในต่างประเทศต่าง ๆ อาจแตกต่างกันไปตามค่าเงินของประเทศนั้น รายการกำเนิดขึ้นในสหราชอาณาจักร มีพิธีกรคือ คริส แทร์แรนต์ รูปแบบรายการคิดขึ้นโดยเดวิด บริกส์ ร่วมกับสตีฟ ไนต์และไมค์ ไวต์ฮิลล์ ที่คิดการออกแบบเกมในรายการทางวิทยุช่องแคปิตอลเอฟเอ็มในช่วงเช้า ชื่อของรายการเดิมใช้ชื่อ Cash Mountain และเมื่อออกอากาศครั้งแรกในสหราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 1998 ก็ถือเป็นรูปแบบรายการเกมโชว์ที่สร้างความประหลาดใจ มีผู้เข้าแข่งขันเพียง 1 คน ที่เน้นภาวะเรื่องการตัดสินใจในแต่ละคำถามมากกว่าความเร็วในการตอบ โดยส่วนมากแล้วแต่ละเวอร์ชันจะไม่กำหนดเวลาในการตอบคำถาม.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและฮูวอนส์ทูบีอะมิลเลียนแนร์? · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ บุช

อร์จ บุช อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอร์จ บุช · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ ลูคัส

อร์จ วอลตัน ลูคัส จูเนียร์ (George Walton Lucas, Jr.; เกิด 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1944) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้อำนวยการสร้าง ผู้เขียนบทภาพยนตร์ ชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์ชุดมหากาพย์สตาร์ วอร์ส และอินเดียน่า โจนส์ อีกทั้งเป็นหนึ่งในบรรดาผู้กำกับและผู้ผลิตที่ประสบผลสำเร็จทางธุรกิจอุตสาหกรรมทางภาพยนตร์ โดยมีผลกำไรสุทธิที่ 3 พันล้านเหรียญสหรัฐในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอร์จ ลูคัส · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ วอชิงตัน

อร์จ วอชิงตัน (George Washington, 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732 Engber, Daniel (2006).. (Both Franklin's and Washington's confusing birth dates are clearly explained.) Retrieved on June 17, 2009.วันเกิดและวันถึงแก่กรรมของจอร์จ วอชิงตันในที่นี้เป็นระบบปฏิทินเกรกอเรียน อย่างไรก็ดี ขณะที่เขาเกิด สหราชอาณาจักรและประเทศอาณานิคมทั้งหมดยังใช้ปฏิทินจูเลียนอยู่ ดังนั้นในบันทึกร่วมสมัยนั้นจึงระบุวันเกิดของเขาเป็นวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732 บทบัญญัติว่าด้วยการใช้ปฏิทินรูปแบบใหม่ ค.ศ. 1750 เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1752 ซึ่งเปลี่ยนแปลงวันที่ในระบบของอังกฤษเดิม มาเป็นปฏิทินเกรกอเรียนโดยเริ่มต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม – 14 ธันวาคม ค.ศ. 1799) เป็นผู้นำทางทหารและการเมืองที่โดดเด่นของสหรัฐอเมริกาที่เพิ่งก่อตั้งขึ้น ระหว่าง..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอร์จ วอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ ดับเบิลยู. บุช

รืออากาศโท จอร์จ วอล์กเกอร์ บุช (George Walker Bush) เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) เป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 43 บุชสังกัดพรรครีพับลิกัน และเกิดในตระกูลบุชซึ่งเป็นตระกูลนักการเมืองตระกูลใหญ่ของสหรัฐอเมริกา โดยพ่อของเขาคือ จอร์จ บุช ประธานาธิบดีคนที่ 41 และน้องชายเขา เจบ บุช เป็นอดีตผู้ว่าการมลรัฐฟลอริดา ก่อนเริ่มเล่นการเมือง จอร์จ ดับเบิลยู บุชเป็นนักธุรกิจบ่อน้ำมัน และเป็นเจ้าของทีมเบสบอล เทกซัส เรนเจอร์ (Texas Rangers) เขาเริ่มเล่นการเมืองระดับท้องถิ่นโดยเป็นผู้ว่าการรัฐเทกซัสคนที่ 46 ชนะการเสนอชื่อลงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีของพรรครีพับลิกัน และชนะการเลือกตั้งต่อรองประธานาธิบดี อัล กอร์ใน พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) และได้รับการเลือกตั้งสมัยที่สองเมื่อ พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) โดยเอาชนะวุฒิสมาชิก จอห์น เคร์รี ของ พรรคเดโมแครต.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอร์จ ดับเบิลยู. บุช · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ เกิร์ชวิน

อร์จ เกิร์ชวิน (George Gershwin; 26 กันยายน ค.ศ. 1898 - 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1937) นักเปียโนและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน มีผลงานในแนวดนตรีคลาสสิก และเพลงป็อบ โดยเป็นผู้ประพันธ์บทเพลงประกอบละครบรอดเวย์ที่มีชื่อเสียง ทั้งในนามส่วนตัว และผลงานร่วมกับไอรา เกิร์ชวิน พี่ชาย ที่เป็นผู้ประพันธ์คำร้อง ผลงานที่มีชื่อเสียง เช่น ออร์เคสตราสำหรับเปียโน Rhapsody in Blue (1924), An American in Paris (1928) อุปรากร Porgy and Bess (1935) ซึ่งมีเพลงที่ไพเราะและได้รับชื่อเสียงอย่างมากคือ Summertimes และเพลงประกอบภาพยนตร์ Shall We Dance (1937) จอร์จ เกิร์ชวิน เดิมชื่อ ยาค็อบ เกิร์ชโชวิตซ์ (Jacob Gershowitz) บิดาเป็นชาวรัสเซียอพยพมาจากเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ชื่อ มอร์ริส เกิร์ชโชวิตซ์ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อสกุลเป็น เกิร์ชวิน (Gershvin, สะกดด้วย v) จอร์จเป็นลูกคนที่สองในจำนวนสี่คน มีพี่ชายชื่อ อิสราเอล เกิร์ชโชวิตซ์ (ไอรา เกิร์ชวิน) มีน้องชายชื่อ อาร์เทอร์ และน้องสาวชื่อ ฟรานเชส จอร์จเป็นคนแรกในตระกูลเกิร์ชวินที่เปลี่ยนวิธีสะกดนามสกุล จาก "Gershvin" เป็น "Gershwin" จอร์จ เกิร์ชวินเริ่มชีวิตการแสดงดนตรีตั้งแต่อายุ 15 ปี และเริ่มมีผลงานบันทึกเสียงเมื่ออายุ 17 ปี ในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอร์จ เกิร์ชวิน · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช

อร์จ เฮอร์เบิร์ต วอล์กเกอร์ บุช (George Herbert Walker Bush) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 41 ของสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2532-พ.ศ. 2536) และเป็นบิดาของจอร์จ ดับเบิลยู. บุช ประธานาธิบดีคนที่ 43 จอร์จ บุช เป็นรองประธานาธิบดีให้กับประธานาธิบดีโรนัลด์ เรแกน จากพรรคริพับลิกัน และลงสมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดีหลังจากหมดสมัยของเรแกน เหตุการณ์สำคัญในสมัยของเขาคือสงครามอ่าวเปอร์เซีย จอร์จ บุช จบจากมหาวิทยาลัยเยล เคยเป็นนักบินในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นเอกอัครราชทูตสหรัฐประจำองค์การสหประชาชาติ เคยเป็นผู้อำนวยการใหญ่ซีไอเอ.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น วิลเลียมส์

อห์น วิลเลี่ยมส์ (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475 -) นักแต่งเพลง นักแต่งดนตรีประกอบภาพยนตร์ ผู้อำนวยเพลง และนักเปียโนชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงอยู่ในแวดวงดนตรีมามากกว่า 6 ทศวรรษ โดยเป็นผู้แต่งและอำนวยเพลงประกอบภาพยนตร์จำนวนมากที่เป็นที่จดจำ ทั้งภาพยนตร์สตาร์ วอร์ส (Star Wars), ซูเปอร์แมน (Superman), แฮร์รี พอตเตอร์ (Harry Potter), จูราสสิค พาร์ค (Jurassic Park), จอว์ส (Jaws), อี.ที. เพื่อนรัก (E.T. the Extra-Terrestrial), ขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า (Raiders of the Lost Ark) รวมถึงภาพยนตร์เกือบทุกเรื่องของสตีเวน สปีลเบิร์ก (Steven Spielberg) วิลเลี่ยมส์กลายมาเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง นับตั้งแต่ผลงานดนตรีประกอบภาพยนตร์เรื่องจอว์ส ในปี..1975 และโด่งดังเป็นพลุแตกกับผลงานดนตรีประกอบในภาพยนตร์เรื่องสตาร์วอร์ส ในปี..1977 และตามมาด้วยอีกหลากหลายผลงานที่เป็นที่น่าจดจำ ผลงานของวิลเลี่ยมส์ โดยมากจะเป็นดนตรีสำหรับใช้ออร์เคสตร้าวงใหญ่บรรเลง เขามักจะประพันธ์เพลงธีมที่มีความโดดเด่น สอดคล้องและเหมาะสมกับภาพยนตร์เรื่องนั้นๆ และด้วยความโดดเด่นของเพลงธีมในภาพยนตร์แต่ละเรื่องนี้เอง จึงเป็นที่จดจำต่อผู้ชมเป็นอย่างมาก และทำให้วิลเลี่ยมส์เป็นที่รู้จักและมีชื่อเสียงด้วยผลงานอันโดดเด่นของเขา วิลเลี่ยมส์กลายมาเป็นที่รู้จักและเป็นที่ชื่นชอบต่อสาธารณชน ด้วยผลงานดนตรีประกอบภาพยนตร์ที่มีคุณภาพโดดเด่นจนเป็นที่ประจักษ์ วิลเลี่ยมส์ยังเป็นวาทยกรที่เป็นที่ยกย่องคนหนึ่ง เขาเคยได้เป็นวาทยกรประจำวงบอสตัน ป็อปส์ ออร์เคสตร้า (Boston Pops O rchestra) อยู่ 14 ปี ตั้งแต่ปี..1980-1994 ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นวาทยกรกิตติมศักดิ์ของวง และวิลเลี่ยมส์ก็มักจะได้รับเชิญให้เป็นวาทยกรเนื่องในโอกาสต่างๆ ทั้งคอนเสิร์ต และกิจกรรมสำคัญในอเมริกา เมื่อมีการจัดอันดับดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยมตามสถาบันภาพยนตร์หรือสื่อต่างๆ ดนตรีที่วิลเลี่ยมส์ประพันธ์ขึ้นมักจะติดอันดับอยู่เสมอ โดยเฉพาะเพลงธีมสตาร์วอร์ส (Star Wars Theme) ภาพยนตร์ที่วิลเลี่ยมส์ทำดนตรีประกอบนั้น มักจะได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์สาขาดนตรีประกอบยอดเยี่ยมอยู่เสมอ ถึงปัจจุบันนี้ เขามีชื่อเข้าชิงแล้วถึง 50 ครั้ง เคยชนะ 5 ครั้ง เขาเป็นนักดนตรีที่มีชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์มากที่สุด เขายังเป็นผู้ที่มีชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์มากเป็นอันดับที่ 2 รองจากวอลท์ ดิสนีย์ (Walt Disney) และวิลเลี่ยมส์ยังได้รับรางวัลเกียรติยศต่างๆมากมาย ที่เป็นสิ่งยืนยันว่าเขานั้นเป็นบุคคลที่ประสบความสำเร็จในอาชีพนักประพันธ์ดนตรี และมีคุณูปการต่อวงการดนตรีเป็นอย่างมาก.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอห์น วิลเลียมส์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ทราโวลตา

อห์น โจเซฟ ทราโวลตา เกิดเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1954 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน รุ่งโรจน์ที่สุดในฮอลลีวูด ด้วยหนังดังอย่าง Saturday Night Fever และ Grease ตลอดจนซีรีส์ทางโทรทัศน์ และผลงานเพลงประกอบภาพยนตร์ เขาเหมือนกับคนดังคนอื่น ๆ ที่ยืนอยู่ตรงจุดสูงสุดได้เพียงไม่นาน ช่วงทศวรรษที่ 80 ชื่อเสียงของเขาก็โรยเสียแล้ว และกลายเป็นเพียงความทรงจำจากยุคของเขา ช่วงทศวรรษต่อ ๆ มา เขายังสามารถคืนสู่ความเป็นซูเปอร์สตาร์ได้อีก.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอห์น ทราโวลตา · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น คาร์เพนเตอร์

อห์น ฮาเวิร์ด คาร์เพนเตอร์ (John Howard Carpenter) เกิดเมื่อวันที่ 16 มกราคม ค.ศ. 1948 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์เจ้าของรางวัลออสการ์ นักเขียนบท โปรดิวเซอร์ นักตัดต่อภาพยนตร์ นักประพันธ์เพลงและในบางครั้งเป็นนักแสดง ถึงแม้ว่าเขาจะทำงานภาพยนตร์หลากหลายแนว แต่ชื่อของเขาเป็นที่รู้จักในเรื่องภาพยนตร์สยองขวัญและนวนิยายวิทยาศาสตร์ ผลงานเด่นของคาร์เพนเตอร์ คืองานเขียนบท และกำกับภาพยนตร์เกี่ยวกับฆาตกรโรคจิต "ไมเคิล ไมเยอร์ส" ใน Halloween (1978) ที่เขากำกับเองในภาคแรก และเป็นผู้อำนวยการสร้าง เขียนบท หรือ แต่งเพลงประกอบในภาคอื่นๆ อีก 7 ภาค เป็นผลงานสร้างชื่อให้กับเจมี ลี เคอร์ติส รองมาคือ The Fog (1980), Christine (1983) ภาพยนตร์สยองขวัญเกี่ยวกับรถยนต์ผีสิง จากนวนิยายของสตีเฟน คิง, Starman (1984) ภาพยนตร์ไซไฟ นำแสดงโดยเจฟ บริดเจส, Escape from New York (1991) และ Escape from L.A. (1996) ภาพยนตร์ไซไฟ นำแสดงโดยเคิร์ต รัสเซลล.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอห์น คาร์เพนเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น แอดัมส์

อห์น แอดัมส์ (John Adams) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 2 ของสหรัฐอเมริกา และเป็นบิดาของประธานาธิบดีคนที่ 6 ของสหรัฐอเมริกา จอห์น ควินซี แอดัมส์ จอห์นเกิดเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอห์น แอดัมส์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เมเจอร์

ซอร์ จอห์น เมเจอร์ (Sir John Major)(29 มีนาคม พ.ศ. 2486 -) นักการเมืองชาวอังกฤษและนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรจากพรรคอนุรักษนิยม.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอห์น เมเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เอฟ. เคนเนดี

รือเอก จอห์น ฟิตซ์เจอรัลด์ เคนเนดี (John Fitzgerald Kennedy) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เจเอฟเค (JFK ย่อจากชื่อภาษาอังกฤษ) (29 พฤษภาคม ค.ศ. 1917 — 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1963) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 35 ของสหรัฐอเมริกา เจ้าของวาทะเปี่ยมไปด้วยจิตสำนึกหน้าที่ความรับผิดชอบของพลเมือง: "จงอย่าถามว่าประเทศชาติจะให้อะไรแก่ท่าน แต่จงถามตัวท่านเองว่าท่านจะทำอะไรให้ประเทศชาติ" เกิดเมื่อ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1917 ที่เมืองบรู๊คลาย รัฐแมสซาชูเซตส์ อยู่ที่นั่นถึง 10 ขวบ ครอบครัวก็ย้ายเข้านิวยอร์ก เป็นคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิก ลูกคนที่ 2 ในจำนวน 9 คนของโจเซฟ แพทริก เคนเนดี คหบดีใหญ่อดีตเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำสหราชอาณาจักร จากโรงเรียนมัธยมในรัฐคอนเนตทิคัต เรียนต่อมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เข้าหน่วยกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา เป็นผู้บังคับการเรือ ตอร์ปิโด Patrol Torpedo boat 59 รับเหรียญกล้าหาญจากวีรกรรมช่วยเพื่อนทหารให้รอดชีวิตจากเหตุเรืออับปางด้วยข้าศึกโจมตี เขาว่ายน้ำพยุงร่างเพื่อนที่ได้รับบาดเจ็บไปโดยไม่ทอดทิ้ง ลงสนามการเมืองได้เป็นวุฒิสมาชิกรัฐบ้านเกิด จากนั้นเข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดี ค.ศ. 1960 สหรัฐอเมริกาได้ประธานาธิบดีที่หนุ่มที่สุดเพียง 43 ปี และเป็นคริสต์คนแรกที่ดำรงตำแหน่งยิ่งใหญ่นี้ เจเอฟเคบริหารประเทศด้วยพลังหนุ่ม (เป็นคำหนึ่งที่เขาชอบมาก) และมองโลกในแง่ดี เคเนดี้เป็นผู้จัดตั้ง องค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา หรือยูเสด เพื่อให้การสนับสนุนประเทศประชาธิปไตยในการป้องกันลัทธิคอมมิวนิสต์ วันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1961 เขาแถลงต่อสภาคองเกรสว่าอเมริกากำลังเผชิญหน้ากับความท้าทายที่ไม่ธรรมดา ให้สภาอนุมัติงบประมาณเพื่อจุดมุ่งหมายของชาติคือ การส่งมนุษย์ไปลงบนดวงจันทร์ และเดินทางกลับอย่างปลอดภัย ด้านการต่างประเทศ เคนเนดียุติวิกฤตการณ์ต่าง ๆ ทางการเมืองด้วยการยื่นคำขาดให้สหภาพโซเวียตถอนฐานยิงขีปนาวุธในประเทศคิวบา ความสำเร็จอีกประการหนึ่งคือ สนธิสัญญาระหว่างประเทศในการห้ามทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ อย่างไรก็ตามนโยบายที่ผิดพลาดก็มีเช่นกัน การให้ความช่วยเหลือทางทหารแก่เวียดนามใต้ เป็นจุดเริ่มต้นสงครามเวียดนามที่โหดร้ายรุนแรง แรกทีเดียวประธานาธิบดีเชื่อข้อมูลฝ่ายทหารและนักค้าอาวุธสงคราม ว่าสหรัฐจะสามารถชนะกองกำลังคอมมิวนิสต์ในเวียดนามได้ไม่ยาก เพราะแสนยานุภาพทางทหารเหนือกว่า เฉพาะอย่างยิ่งกองกำลังทางอากาศที่ใช้เฮลิคอปเตอร์เป็นหลัก แต่นั่นไม่จริง สงครามเวียดนามยืดเยื้อ ทหารอเมริกันเข้าสมรภูมิเป็นจำนวนมหาศาล ความสูญเสียเกินบรรยาย ช่วงเวลาที่จะหมดวาระ เตรียมชิงเก้าอี้ผู้นำสมัยที่ 2 เขาตัดสินใจใช้การเจรจาทางการทูตยุติสงคราม แต่จากนั้นไม่นานเคนเนดีก็ถูกยิงเสียชีวิตที่เมืองแดลลัส รัฐเทกซัส ในเหตุการณ์การลอบสังหารฯ เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1963 ประวัติศาสตร์บันทึกถึงประธานาธิบดีผู้มีอายุน้อยที่สุดของสหรัฐอเมริกา ผู้มีผลงานโดดเด่นมากมายท่ามกลางวิกฤตการณ์หลังสงครามโลกครั้งที่สอง รอยต่อของยุคก้าวสู่สงครามเย็น เพื่อเป็นการให้เกียรติของท่าน รัฐบาลจึงนำชื่อของท่านมาตั้งเป็น ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดีในนครนิวยอร์ก ของ สหรัฐอเมริกา อีกด้ว.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอห์น เอฟ. เคนเนดี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบริติช

ักรวรรดิบริติช (British Empire) หรือ จักรวรรดิอังกฤษ ประกอบด้วยประเทศในเครือจักรภพ, คราวน์โคโลนี, รัฐในอารักขา, รัฐในอาณัติ และดินแดนอื่นซึ่งสหราชอาณาจักรปกครองหรือบริหาร จักรวรรดิกำเนิดจากดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในช่วงที่เจริญถึงขีดสุด จักรวรรดิบริติชเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นมหาอำนาจโลกชั้นแนวหน้านานกว่าหนึ่งศตวรรษ ใน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจักรวรรดิบริติช · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิสเปน

ักรวรรดิสเปน (Imperio Español, Spanish Empire) เป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลก และเป็นหนึ่งในจักรวรรดิโลก (global empire) จักรวรรดิแรก ที่มีดินแดนและอาณานิคมในยุโรป, อเมริกา, เอเชีย และ โอเชียเนีย มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ส่วนอาณานิคมในแอฟริกาเป็นดินแดนที่ได้มาในตอนปลายของคริสต์ศตวรรษที่ 20 สเปนก่อตัวขึ้นเป็นสหอาณาจักรในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจักรวรรดิสเปน · ดูเพิ่มเติม »

จิมมี คาร์เตอร์

รือเอก เจมส์ เอิร์ล "จิมมี" คาร์เตอร์ จูเนียร์ (James Earl "Jimmy" Carter, Jr) เกิดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 39 ของสหรัฐอเมริกาในช่วงปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจิมมี คาร์เตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ธีโอดอร์ โรสเวลต์

ีโอดอร์ รูสเวลต์ ธีโอดอร์ รูสเวลต์ (Theodore Roosevelt) (27 ตุลาคม พ.ศ. 2401 - 6 มกราคม พ.ศ. 2462) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 26 ของสหรัฐอเมริกา ผู้คนนิยมเรียกเขาว่า เท็ดดี้ ซึ่งรูสเวลต์นั้นคือแรงบรรดาลใจให้ก่อให้เกิดตุ๊กตาหมีในตำนานอย่าง หมีเท็ดดี้ ซึ่งหลายๆคนรู้จักดี แต่ในด้านการบริหารประเทศ รูสเวลต์ก็ไม่ได้น้อยหน้าใคร เขาได้ดำรงตำแหน่งติดต่อกันถึง 2 สมัย 8 ปี และใบหน้าของเขาก็ได้ถูกสลักไว้ในอนุสรณ์สถานแห่งชาติเมานต์รัชมอร์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า เขาหรือรูสเวลต์เป็นประธานาธิบดีที่มีความสามารถมากคนหนึ่งของอเมริกา มีบทบาทและทรงอิทธิพลคนหนึ่ง ที่สำคัญเขายังได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ซึ่งเป็นรางวัลอันทรงเกียรติสูงสุดในปี ค.ศ. 1905 อีกด้ว.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและธีโอดอร์ โรสเวลต์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกาเหนือ

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาเหนือ (North America; Amérique du Nord; América del Norte; Nordamerika) เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปเอเชียและแอฟริกาตามลำดับ ประกอบด้วยภูมิภาคอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง ซึ่งแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนตามขอบเขตของประเทศโดยมีแม่น้ำริโอแกรนด์เป็นแนวเขตแดน ภูมิภาคอเมริกาเหนือมีเพียง 2 ประเทศ คือ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ส่วนอเมริกากลางใช้ภาษาสเปนเป็นหลัก ประกอบด้วยประเทศทั้งใหญ่และเล็ก รวมถึงประเทศที่เป็นหมู่เกาะจำนวน 23 ประเทศ โดยกรีนแลนด์เป็นประเทศอยู่เหนือที่สุด และประเทศปานามาอยู่ใต้สุด มีพรมแดนติดกับทวีปอเมริกาใต้ สภาพโดยรวมแล้วประชากรในอเมริกาเหนือมีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาเหนือได้แก่พื้นที่ตอนเหนือทั้งหมดของดินแดนที่เรียกว่า โลกใหม่ ซีกโลกตะวันตก หรือ ทวีปอเมริกา อเมริกาเหนือมีส่วนเชื่อมต่อกับทวีปอเมริกาใต้บริเวณคอคอดปานามา ผู้เชี่ยวชาญบางคนกล่าวว่าอเมริกาเหนือไม่ได้เริ่มจากคอคอดปานามา แต่เริ่มจากคอคอดเตวานเตเปก (Tehuantepec) ในประเทศเม็กซิโก ซึ่งอยู่ในอเมริกากลาง.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและทวีปอเมริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ทอม โจนส์

ซอร์ โทมัส โจนส์ วูดเวิร์ด (Sir Thomas Jones Woodward, OBE) เกิดเมื่อ 7 มิถุนายน ค.ศ. 1940 ที่คิงส์แลนด์เทอร์เรซ เทรฟฟอร์ด พอนตีพริดด์ เป็นนักร้องชาวเวลส์ ตั้งแต่ปี 1965 เขามียอดขายมากกว่า 100 ล้านชุด และเป็น 1 ใน 4 ของโค้ชใน The Voice UK ปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและทอม โจนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส เจฟเฟอร์สัน

ทอมัส เจฟเฟอร์สัน (Thomas Jefferson) (เกิดวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 1743 - วันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1826)The birth and death of Thomas Jefferson are given using the Gregorian calendar.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและทอมัส เจฟเฟอร์สัน · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบขาว

ทำเนียบขาว (White House) เป็นที่พำนักอย่างเป็นทางการและสถานที่ทำงานหลักของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 1600 ถนนเพนซิลเวเนีย เขตตะวันตกเฉียงเหนือ วอชิงตัน ดี.ซี. โดยเป็นสถานที่พำนักของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาทุกคนตั้งแต่ประธานาธิบดีจอห์น แอดัมส์ ในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและทำเนียบขาว · ดูเพิ่มเติม »

ทีนา เทอร์เนอร์

ทีน่า เทอร์เนอร์ (Tina Turner)หรือชื่อจริง แอนนา เม บุลล็อก(Anna Mae Bullock) เกิดเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1939 ที่เมืองเล็กๆชื่อนัทบุชในรัฐเทนเนสซี สหรัฐอเมริกา เธอเป็นนักร้องหญิงที่ชื่อเสียงในระดับโลก ทีน่าเป็นทั้งนักร้อง นักแต่งเพลง นักเต้น นักแสดง ชาวอเมริกัน สัญชาติสวิส เธอได้รับรางวัลแกรมมี่มาแล้ว 8 ครั้ง ด้านการร้องเธอเป็นที่ยอมรับจากวงการดนตรีว่า น้ำเสียงของเธอทรงพลังเป็นอย่างมาก และตัวเธอได้รับฉายาว่า "ราชินีแห่งร็อกแอนด์โรล (The Queen of Rock & Roll)" อีกทั้งเธอยังเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายว่าเป็น "นักร้องหญิงที่มีเรียวขาสวยมากที่สุด" คนหนึ่งในวงการเพลงของโลกนานหลายทศวรรษ นอกจากเพลงร็อกแล้วเธอยังมีผลงานเพลงในแนวโซลอาร์แอนด์บี แด๊นซ์ และป็อป อีกด้วย เธอยังอยู่ในรายชื่อ The Immortals — The Greatest Artists of All Time ของนิตยสารโรลลิงสโตน และยังอยู่ใน Grammy Hall of Fame กับสองซิงเกิ้ลคือ "River Deep - Mountain High" (1999) และ "Proud Mary" (2003) เทอร์เนอร์เป็นที่รู้จักกันว่าเป็น ศิลปินร็อกหญิงที่โด่งดังและมียอดขายมากที่สุด ด้วยยอดขายมากว่า 180 ล้านชุด และมียอดขายตั๋วคอนเสิร์ตมากกว่าศิลปินเดี่ยวคนใ.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและทีนา เทอร์เนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์

ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ (London Heathrow Airport) หรือมักเรียกโดยย่อว่า ฮีทโธรว์ เป็นท่าอากาศยานที่มีการจราจรทางอากาศหนาแน่นที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยเป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดของประเทศสหราชอาณาจักร และทวีปยุโรป ในกรณีของจำนวนผู้โดยสาร และเป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดของโลก ในกรณีของจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเทศ ดำเนินการโดย บริษัท ท่าอากาศยานอังกฤษ จำกัด (เดิมคือ องค์การท่าอากาศยานแห่งประเทศอังกฤษ) ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเมืองฮิลลิงดอน ห่างจากตัวเมืองของกรุงลอนดอนประมาณ 24 กิโลเมตร (15 ไมล์) เป็นหนึ่งในสามของท่าอากาศยานที่อยู่ในเขตของกรุงลอนดอนและปริมณฑล อีกสองแห่งก็คือ ท่าอากาศยานลอนดอนซิตี และท่าอากาศยานลอนดอนบิกกิงฮิล ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์มีทางวิ่งขนานกัน 2 ทางวิ่ง ตามแนวทิศตัวออกและทิศตะวันตก และ มีอาคารผู้โดยสาร 4 อาคาร โดยอาคารที่ 5 กำลังก่อสร้าง และยังมีแผนปรับปรุงอาคารผู้โดยสารฝั่งตะวันออกใหม่ รวมทั้งเพิ่มทางวิ่งอีกหนึ่งเส้นทางด้ว.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติวอชิงตันดัลเลส

ท่าอากาศยานนานาชาติวอชิงตัน ดัลเลส (Washington Dulles International Airport) ตั้งอยู่ระหว่างเมืองชานทิลลีในแฟร์แฟกเคาน์ตี และดัลเลสในลูดอนเคาน์ตี รัฐเวอร์จิเนีย ห่างจากวอชิงตัน ดี.ซี.ไปทางตะวันตกประมาณ 41.8 กิโลเมตร (26 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานหลักของยูไนเต็ดแอร์ไลน์ และเป็นท่าอากาศยานสำคัญของเจ็ตบลูแอร์เวย์ วอชิงตัน ดัลเลส ตั้งชื่อตามจอห์น ฟอสเตอร์ ดัลเลส อดีตรัฐมนตรีต่างประเทศในสมัยประธานาธิบดีไอเซนฮาว.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและท่าอากาศยานนานาชาติวอชิงตันดัลเลส · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี

ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี · ดูเพิ่มเติม »

ดอลลาร์สหรัฐ

100 ดอลลาร์สหรัฐ ธนบัตรที่มีค่ามากสุดในสหรัฐในปัจจุบัน ดอลลาร์สหรัฐ (United States dollar; ในเอกสารเก่าอาจพบการใช้ เหรียญสหรัฐ) เป็นสกุลเงินของประเทศสหรัฐอเมริกา และยังใช้เป็นสกุลเงินสำรองในหลายประเทศทั่วโลก รหัสสากลคือ ISO 4217 ใช้ตัวย่อว่า USD และสัญลักษณ์ $ โดย 1 ดอลลาร์สหรัฐมีค่าเท่ากับเกือบ 34 บาท (baht) สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหนึ่งที่ใช้หน่วยเงิน ดอลลาร์ เป็นสกุลเงินประจำชาติ และยังมีประเทศอื่นที่มีเงินดอลลาร์เช่นกัน แต่ใช้ชื่อเรียกอื่น เช่น ดอลลาร์สิงคโปร์ ดอลลาร์ฮ่องกง ดอลลาร์ไต้หวัน นอกจากนี้ ดอลลาร์สหรัฐ ยังเป็นสกุลเงินหลักในหลายประเทศ และในบางประเทศถึงแม้ว่าดอลลาร์สหรัฐไม่ใช่สกุลเงินหลัก แต่ยังมีการยอมรับในการใช้จ่ายสินค้าทั่วไป ชื่อเล่นที่ชาวอเมริกันเรียก 1 เซนต์ ว่า "เพนนี" (penny), 5 เซนต์ ว่า "นิกเกิล" (nickel), 10 เซนต์ ว่า "ไดม์" (dime), 25 เซนต์ ว่า "ควอเตอร์" (quarter), 1 ดอลลาร์สหรัฐ ว่า "บั๊ก (ภาษาสแลง, ภาษาพูด)" (buck) และเรียก หนึ่งพันดอลลาร์สหรัฐ ว่า แกรนด์ (grand).

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและดอลลาร์สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ดอนัลด์ ทรัมป์

อนัลด์ จอห์น ทรัมป์ (Donald John Trump; เกิด 14 มิถุนายน ค.ศ. 1946) เป็นประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 45 และยังเป็นนักธุรกิจ, พิธีกรรายการโทรทัศน์ และนักแสดงรับเชิญในภาพยนตร์หลายเรื่อง เขาเป็นประธานและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ของบริษัททรัมป์ออร์กาไนเซชัน ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐอเมริกา ทรัมป์ยังเป็นผู้ก่อตั้งทรัมป์เอนเตอร์เทนเมนต์รีสอร์ต ที่มีกิจการกาสิโนและโรงแรมหลายแห่งทั่วโลก และด้วยการใช้ชีวิตที่หรูหราและการพูดจาที่โผงผางทำให้เขามีชื่อเสียง ยังเป็นส่วนให้เขาประสบความสำเร็จในรายการเรียลลิตี้โชว์ทางช่องเอ็นบีซี ที่ชื่อ The Apprentice (ที่เขารับตำแหน่งพิธีกรและผู้อำนวยการสร้าง) ดอนัลด์เกิดและเติบโตในนครนิวยอร์ก เขาเป็นบุตรคนที่ 4 ใน 5 ของเฟรด ทรัมป์ เศรษฐีผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในนครนิวยอร์ก ดอนัลด์ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากพ่อของเขาในเป้าหมายของอาชีพการเป็นนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และในครั้งจบการศึกษาจากโรงเรียนธุรกิจวอร์ตันแห่งมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและดอนัลด์ ทรัมป์ · ดูเพิ่มเติม »

ดิสคัฟเวอรี่ แชนแนล

ัฟเวอรี่ แชนแนล เป็นช่องรายการของ Discovery Communications นำเสนอรายการที่เจาะลึกเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับโลก รวมไปถึงสารคดีและรายการเรียลลิตี้โชว์ ด้วย Discovery Channel เป็นเครือข่ายในอเมริกา ที่มีคนดูถึง 92 ล้านครัวเรือน มีผู้ชม 431 ล้านครัวเรือนทั่วโลกใน 170 ประเทศ ในประเทศไทยสามารถรับชม Discovery Channel ได้ทาง TrueVisions ช่อง 562 ในระบบดิจิตอล และช่อง 555 ในระบบโทรทัศน์ความละเอียดสูง.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและดิสคัฟเวอรี่ แชนแนล · ดูเพิ่มเติม »

ดิออบเซิร์ฟเวอร์

ออบเซิร์ฟเวอร์ (The Observer) เป็นหนังสือพิมพ์ฉบับวันอาทิตย์ฉบับแรกของสหราชอาณาจักร มีแนวคิดทางการเมืองฝ่ายขวาเล็กน้อยจากหนังสือพิมพ์ เดอะ การ์เดียน (The Guardian) ในเครือเดียวกัน และยึดแนวเสรีนิยม / สังคมประชาธิปไตยในเกือบทุกประเด็นปัญห.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและดิออบเซิร์ฟเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดิออฟฟิซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน)

ออฟฟิซ (The Office) เป็นภาพยนตร์ซีรีส์ฉายทางโทรทัศน์แนวซิตคอม/ขบขัน ที่สร้างและเขียนบทครั้งแรกโดยริกกี เกอร์เวสและสตีเฟน เมอร์แชนท์ ฉายทางบีบีซีในประเทศอังกฤษในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและดิออฟฟิซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน) · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีสวิง

ดนตรีสวิง (Swing music) หรือบางครั้งรู้จักในชื่อ สวิงแจ๊ซ (swing jazz) หรือเรียกง่าย ๆ ว่า สวิง (swing) เป็นเพลงแจ๊ซประเภทหนึ่งที่พัฒนาในต้นคริสต์ทศวรรษ 1930 และเด่นชัดขึ้นในปี 1935 ในสหรัฐอเมริกา สวิงใช้ส่วนจังหวะที่แข็งแรงมั่นคง ที่ช่วยนำท่อนนำที่ใช้เครื่องดนตรีอย่างเครื่องทองเหลือง อย่างเช่นทรัมเปตและทรอมโบน หรือเครื่องเป่าไม้อย่าง แซกโซโฟนและคลาริเนต หรือเครื่องสายอย่าง ไวโอลินและกีตาร์ การใช้ทำนองจากกลาง ๆ ไปสู่ทำนองเร็ว และจังหวะเพลงแบบสวิงไทม์ วงสวิงมักจะมีคนโซโล่ที่จะแสดงคีตปฏิภาณ เมโลดี้ใหม่ ๆ ในการเรียบเรียงเพลง นอกจากนั้นผู้นำวงกับการเต้นรำแบบสวิงอย่าง เบนนี กูดแมนและเคานต์ เบซี เป็นที่โดดเด่นในกระแสเพลงป็อปอเมริกันในช่วงปี 1935 ถึง 1945 อีกด้วย หมวดหมู่:แนวดนตรี หมวดหมู่:ดนตรีแจ๊ส.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและดนตรีสวิง · ดูเพิ่มเติม »

ดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์

วต์ เดวิด ไอก์ ไอเซนฮาวร์ (Dwight David "Ike" Eisenhower; 14 ตุลาคม ค.ศ. 1890 - 28 มีนาคม ค.ศ. 1969) เป็นทหารและนักการเมืองชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีคนที่ 34 ของสหรัฐอเมริกา (ค.ศ. 1953 - ค.ศ. 1961) และเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง มียศทางการทหารเป็นนายพลห้าดาวซึ่งเทียบได้กับยศจอมพลในบางประเทศ ดไวต์ ดี.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสตินา อากีเลรา

ริสติน่า มาเรีย อากีเลรา เกิดเมื่อ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1980 เป็นนักร้อง-นักแต่งเพลง แนวป็อบ/อาร์แอนด์บีชาวอเมริกัน เจ้าของเพลงฮิต Genie In A Bottle, What A Girl Wants, Come On Over, Beautiful และ Ain't No Other Man และมียอดขายอัลบั้มรวมมากกว่า 43 ล้านหน่วยทั่วโลก โดยนิตยสาร โรลลิงสโตน ได้จัดให้เธออยู่อันดับที่ 58 ในหัวข้อ 100 นักร้องที่ยอดเยี่ยมที่สุดตลอดกาล โดยเธอเป็นผู้ที่อายุน้อยที่สุดที่ได้รับการจัดอันดั.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและคริสตินา อากีเลรา · ดูเพิ่มเติม »

คริสตจักรแห่งอังกฤษ

ภาคแคนเทอร์เบอรี (สีเหลือง) และภาคยอร์ก (สีชมพู) คริสตจักรแห่งอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 44-5 (Church of England) เป็นคริสตจักรประจำชาติ ของอังกฤษ และเป็นคริสตจักรแม่ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลก ในช่วงแรกคริสตจักรในอังกฤษยังเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรโรมันคาทอลิก แต่เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษตัดสินพระทัยหย่าขาดกับพระนางแคเธอรินแห่งอารากอนซึ่งฝ่าฝืนคำสั่งของพระสันตะปาปาไป พระองค์ก็มีพระราชโองการให้คริสตจักรแห่งอังกฤษแยกตัวจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและคริสตจักรแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 17

ริสต์ศตวรรษที่ 17 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1601 ถึง ค.ศ. 1700.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและคริสต์ศตวรรษที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

คองคอร์ด

รื่องบินคองคอร์ด 2 มีนาคม ค.ศ. 1969 เครื่องบินคองคอร์ด (Concorde) เป็นเครื่องบินขนส่งชนิดมีความเร็วเหนือเสียง เป็นหนึ่งในสองแบบของเครื่องบินเร็วเหนือเสียงที่ใช้เป็นเครื่องบินโดยสาร และนำมาให้บริการในเชิงพาณิชย์ โดยใช้เวลาศึกษาวิจัยเป็นเวลา 7 ปี เครื่องคองคอร์ดต้นแบบเครื่องแรกบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 1969 ทดสอบและพัฒนาอีก 4 ปี โดยคองคอร์ดเครื่องแรกออกจากสายการผลิตและเริ่มบินทดสอบเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม ค.ศ. 1973 รวมตั้งแต่เริ่มโครงการจนนำมาผลิตใช้เวลากว่า 13 ปีเต็มใช้เงินในการพัฒนากว่า 1,000 ล้านปอนด์ เครื่องบินคองคอร์ดมีความเร็วปกติ 2,158กิโลเมตรต่อชั่วโมง และเพดานบินสูงสุด 60,000 ฟุต (18.288กิโลเมตร) มีปีกสามเหลี่ยม การบินเชิงพาณิชย์ของคองคอร์ด ดำเนินการโดยบริติชแอร์เวย์ (British Airways) และแอร์ฟรานซ์ (Air France) เริ่มต้นเมื่อวันที่ 21 มกราคม ค.ศ. 1976 และสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 2003 และมีเที่ยวบิน “เกษียณอายุ” เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 2003 เที่ยวบินลอนดอน-นิวยอร์ก และปารีส-นิวยอร์ก ใช้เวลาเดินทางเฉลี่ยประมาณ 3 ชม.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและคองคอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

คันทรี (แนวดนตรี)

นตรีคันทรี (Country music) เป็นแนวเพลงที่ได้รับความนิยมเกิดในแถบสหรัฐอเมริกาทางตอนใต้และทางภูเขาแอพพาลาเชียน มีต้นกำเนิดจากดนตรีโฟล์ก, ดนตรีเคลติก, ดนตรีกอสเปล และดนตรีโอลด์-ไทม์ และพัฒนาอย่างรวดเร็วในช่วงทศวรรษ 1920Peterson, Richard A. (1999).

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและคันทรี (แนวดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

คามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล

มิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล หรือพระนามเดิม คามิลลา โรสแมรี หรือที่รู้จักกันในพระนาม คามิลลา พาร์กเกอร์ โบลส์ (Camilla, Duchess of Cornwall; ประสูติเมื่อ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2490) เป็นพระวรชายาพระองค์ที่สองของเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ องค์รัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร คามิลลาประสูติเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 ทรงเป็นธิดาของนายบรูซ ชานด์และนางโรซาลินด์ ชานด์ (สกุลเดิม คิวบิต) พระชนนีของพระองค์เป็นธิดาของโรแลนด์ คิวบิตที่ 3 บารอนแห่งอาซท์คอมบี้ พระองค์ประสูติในอีสต์ซัสเซ็กซ์ และทรงเติบโตขึ้นมาในชนชั้นสูงของอังกฤษ ในปี 1973 พระองค์สมรสกับทหารในกองทัพอังกฤษ ชื่อว่าอันดริว พาร์กเกอร์-โบลส์ และทั้งคู่มีบุตรสองคน ทั้งสองหย่ากันในปี 1995 ความสัมพันธ์ของคามิลลาและเจ้าชายชาลส์นั้นตกเป็นข่าวดังขึ้น ในที่สุดคลาเรนซ์เฮ้าส์ประกาศเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ว่าเจ้าชายชาลส์และคามิลลา ปากเกอร์ โบลส์ จะอภิเษกสมรสในวันที่ 8 เมษายน ปีเดียวกันนั้น อย่างไรก็ตามเนื่องจากการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 การอภิเษกสมรสต้องเลื่อนไปเป็นวันที่ 9 เมษายน แทนเพราะเจ้าชายชาลส์ต้องเสด็จพระราชดำเนิน ไปในการพระศพ รวมทั้งได้มีการประกาศเพิ่มเติมด้วยว่าหลังจากอภิเษกสมรสแล้ว คามิลลาจะดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงดัชเชสแห่งคอร์นวอล (Her Royal Highness the Duchess of Cornwall) และหลังจากเจ้าชายชาลส์เสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์จะทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงพระราชชายา (Her Royal Highness the Princess Consort) เชื่อกันว่าเนื่องจากอ้างอิงตามพระอิสริยยศของเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียที่ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าชายพระราชสวามี (His Royal Highness the Prince Consort) และหลังจากเสกสมรสแล้ว คามิลลาได้กลายเป็นพระมารดาเลี้ยงใน เจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ และ เจ้าชายเฮนรี แห่งเวลส์ พระโอรสทั้ง 2 พระองค์ของพระราชสวามีกับพระวรชายาพระองค์เก่า ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวล.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและคามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล · ดูเพิ่มเติม »

งานเลี้ยงน้ำชาที่บอสตัน

งานเลี้ยงน้ำชาที่บอสตัน (Boston Tea Party) เป็นการประท้วงทางการเมืองของกลุ่มซันส์ออฟลิเบอร์ตี (Sons of Liberty) ในบอสตันเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและงานเลี้ยงน้ำชาที่บอสตัน · ดูเพิ่มเติม »

ซัดดัม ฮุสเซน

ซัดดัม ฮุสเซน (Saddam Hussein) หรือ ศ็อดดาม ฮุเซน อับดุลมะญีด อัลตีกรีตี (อาหรับ: صدام حسين عبد المجيد التكريتي; ละติน:Ṣaddām Ḥusayn ʿAbd al-Majīd al-Tikrītī; 28 เมษายน พ.ศ. 2480-30 ธันวาคม พ.ศ. 2549) เป็นอดีตประธานาธิบดีของอิรัก ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและซัดดัม ฮุสเซน · ดูเพิ่มเติม »

ซานฟรานซิสโก

ซานฟรานซิสโก หรือ แซนแฟรนซิสโก (San Francisco) คือเมืองในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา มีประชากร ประมาณ 808,976 คน ซึ่งเป็นเมืองที่มีความหนาแน่นประชากรเป็นอันดับสองของประเทศ เมืองซานฟรานซิสโกตั้งอยู่บริเวณอ่าวซานฟรานซิสโก ชาวยุโรปกลุ่มแรกที่มาตั้งรกรากในซานฟรานซิสโกคือชาวสเปน โดยในปี ค.ศ. 1776 เมืองมีชื่อว่า เซนต์ฟรานซิส (St. Francis) ในภายหลังจากช่วงยุคตื่นทองในปี ค.ศ. 1848 ทำให้ประชากรในซานฟรานซิสโกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และเมืองเติบโตอย่างมาก ถึงแม้ว่าซานฟรานซิสโกจะประสบปัญหา แผ่นดินไหวและไฟไหม้ขนาดใหญ่ในช่วงปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและซานฟรานซิสโก · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์โบวล์

้วยรางวัลวินซ์ลอมบาร์ดี ถ้วยรางวัลชนะเลิศซูเปอร์โบวล์ ซูเปอร์โบวล์ (Super Bowl) เป็นการแข่งขันชิงแชมป์อเมริกันฟุตบอลอาชีพประจำปีของเอ็นเอฟแอล ระหว่างทีมผู้ชนะเลิศของ สายเอ็นเอฟซี (NFC, National Football Conference) และ สายเอเอฟซี (AFC, American Football Conference) จัดขึ้นวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมกราคม หรือวันอาทิตย์แรกของเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและซูเปอร์โบวล์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีกโลกตะวันตก

ซีกโลกตะวันตก ซีกโลกตะวันตกเป็นคำทางภูมิศาสตร์หมายถึง ครึ่งหนึ่งของโลกที่อยู่ทางตะวันตกของเส้นเมริเดียนแรก (ลากผ่านกรีนิช สหราชอาณาจักร) และทางตะวันออกของเส้นเมริเดียนที่ 180 องศา (แอนติเมอริเดียน) ส่วนอีกครึ่งหนึ่งเรียก ซีกโลกตะวันออก ในความหมายนี้ ซีกโลกตะวันตกประกอบด้วยทวีปอเมริกา ส่วนตะวันตกของทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ปลายสุดฝั่งตะวันออกของประเทศรัสเซีย ดินแดนต่าง ๆ ในโอเชียเนียและบางส่วนของแอนตาร์กติกา แต่ไม่รวมบางส่วนของหมู่เกาะอะลูเชียนที่อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐอะแลสกา ในความพยายามนิยามซีกโลกตะวันตกว่าเป็นส่วนของโลกซึ่งมิใช่ส่วนหนึ่งของโลกเก่า ยังมีการใช้เส้นเมอริเดียนที่ 20 องศาตะวันตก และเส้นเมอริเดียนที่ 160 องศาตะวันออกซึ่งอยู่ตรงข้ามนิยามซีกโลกตะวันตก.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและซีกโลกตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ซีเอสไอ: ไครม์ซีนอินเวสติเกชัน

ซีเอสไอ: ไครม์ซีนอินเวสติเกชัน (CSI: Crime Scene Investigation) หรือ ซีเอสไอ (บางครั้งจะรู้จักกันดีในนาม CSI: Las Vegas หรือ ซีเอสไอ ลาสเวกัส) (ในประเทศไทย ซีรีส์ชุดนี้ถูกเรียกว่า ทีมปฏิบัติการล่าความจริง ตามที่ออกฉายในช่อง AXN ของ True Visions และถูกเรียกว่า ไขคดีปริศนา ตามที่ออกเป็นสื่อบันเทิงตามบ้าน ที่ผลิตและจัดจำหน่ายโดยบริษัท เอสทีจี มัลติมีเดีย จำกัด) คือชื่อของรายการซีรีส์ออกฉายทางโทรทัศน์ที่เกี่ยวกับการทำงานของตำรวจที่เป็นที่นิยมในสหรัฐอเมริกา ที่ผลิตโดยช่อง ซีบีเอส ร่วมกับบริษัทกิจการบันเทิง Alliance Atlantis, ออกฉายในสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) เป็นต้นมา, รายการนี้มีศูนย์กลางของเรื่องอยู่ที่ทีมนักนิติเวชวิทยา ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองลาส เวกัส, รัฐเนวาดา ในช่วงเวลาปัจจุบัน (เหตุผลที่เลือกเมืองนี้ไม่ได้เลือกเพื่อการแสดงเท่านั้น แต่เพราะว่าห้องทดลองอาชญากรรมของกรมตำรวจเมืองลาส เวกัส ยังมีประสิทธิภาพยอดเยี่ยมเป็นที่สองในสหรัฐอเมริกา อีกด้วย จะเป็นรองก็แต่ห้องทดลองของสำนักงานสืบสวนกลางแห่งสหรัฐอเมริกา - FBI ในเมือง ควอนทิโค, รัฐเวอร์จิเนียเท่านั้น) ฤดูกาลแรก ของ CSI ดำเนินเรื่องในลาส เวกัส ต่อมาได้มีการสร้าง ซีเอสไอ ที่ดำเนินเรื่องในเมืองอื่นๆ เช่น ซีเอสไอ ไมอามี่ (CSI: Miami) (ไมอามี่, ฟลอริดา), ซีเอสไอ นิวยอร์ก (CSI: NY) (นิวยอร์ก) และ ซีเอสไอ ไซเบอร์ ("'CSI: Cyber"') (วอชิงตัน ดี.ซี.)แสดงโดยทีมนักแสดง ที่แตกต่างกันออกไป หน่วยนี้จะสืบสวนสอบสวนการเสียชีวิตที่เป็นปริศนา ผิดธรรมดา และบางครั้งก็น่าสยดสยอง เพื่อหาสาเหตุการตายที่แท้จริงและความเป็นมาของผู้ที่เสียชีวิต พวกเขายังสอบสวนอาชญากรรมร้ายแรงอื่น ๆ ด้วย แต่แกนสำคัญส่วนใหญ่ของเรื่องมักจะเป็นการฆาตกรรม ในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและซีเอสไอ: ไครม์ซีนอินเวสติเกชัน · ดูเพิ่มเติม »

ซีเอ็นเอ็น

ล นิวส์ เน็ตเวิร์ก (Cable News Network) หรือรู้จักกันในชื่อ ซีเอ็นเอ็น (CNN) เป็นเครือข่ายโทรทัศน์เคเบิล ที่เสนอข่าวสารตลอด 24 ชั่วโมง ก่อตั้งโดย เท็ด เทอร์เนอร์ เริ่มต้นออกอากาศเมื่อวันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2523 ปัจจุบันบริหารงานโดยเทิร์นเนอร์บรอดแคสติงซิสเตม หน่วยงานในเครือไทม์วอร์เนอร์ ซึ่งสำนักงานใหญ่ที่เรียกว่า ศูนย์กลางซีเอ็นเอ็น (CNN Center) ตั้งอยู่ที่เมืองแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย และมีห้องส่งอื่นๆ อยู่ที่นครนิวยอร์ก และกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ซึ่งซีเอ็นเอ็นที่ออกอากาศในสหรัฐอเมริกา จะส่งสัญญาณไปยังประเทศแคนาดาเพียงแห่งเดียว ส่วนซีเอ็นเอ็นที่ออกอากาศอยู่ใน 212 ประเทศทั่วโลกนั้น เป็นอีกช่องหนึ่งที่เรียกว่า ซีเอ็นเอ็นนานาชาติ (CNN International) ทั้งนี้ซีเอ็นเอ็นเป็นสถานีโทรทัศน์ข่าว ที่มีผู้ชมมากเป็นอันดับต้นๆ ของสหรัฐอเมริกาและทั่วโลก โดยมีคู่แข่งในประเทศที่สำคัญคือ ฟ็อกซ์นิวส์ และระดับนานาชาติคือ บีบีซี เวิลด์นิว.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและซีเอ็นเอ็น · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดีสหรัฐ

ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา (President of the United States; ย่อ: POTUS) เป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลแห่งสหรัฐ เป็นผู้นำสูงสุดของฝ่ายบริหาร และเป็นจอมทัพสหรัฐ รัฐธรรมนูญ มาตรา 2 บัญญัติว่า ประธานาธิบดีมีอำนาจหน้าที่บังคับใช้กฎหมายส่วนกลาง รับผิดชอบแต่งตั้งข้าราชการฝ่ายบริหาร ข้าราชการทูต ข้าราชการประจำ และข้าราชการตุลาการในส่วนกลาง ทั้งมีอำนาจทำสนธิสัญญาเมื่อได้รับคำแนะนำและยินยอมของวุฒิสภา นอกจากนี้ ประธานาธิบดีมีอำนาจอภัยโทษ ลดโทษ เปลี่ยนโทษ เรียกและเลื่อนประชุมสมัยวิสามัญแห่งสภาทั้งสองของรัฐสภา นับแต่สถาปนาประเทศเป็นต้นมา ประธานาธิบดีและรัฐบาลกลางมีอำนาจเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และแม้ปัจจุบันไม่มีอำนาจนิติบัญญัติอย่างเป็นทางการนอกเหนือไปจากการลงนามและยับยั้งร่างกฎหมายที่รัฐสภาอนุมัติ แต่ประธานาธิบดีก็แบกรับความรับผิดชอบขนานใหญ่ในการกำหนดวาระประชุมพรรค รวมถึงกำหนดนโยบายการต่างประเทศและการในประเทศด้วย ประธานาธิบดีสหรัฐนั้นมาจากการเลือกตั้งโดยอ้อมผ่านทางคณะผู้เลือกตั้ง (electoral college) มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 4 ปีและสามารถอยู่ในดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 2 วาระซึ่งบัญญัติไว้ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่ 22 ที่ได้รับการอนุมัติในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและประธานาธิบดีสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคิวบา

วบา (อังกฤษและCuba) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐคิวบา (Republic of Cuba; República de Cuba) ประกอบด้วยเกาะคิวบา (เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะแอนทิลลิสใหญ่) เกาะคูเบนตุด (Isla de la Juventud) และเกาะเล็ก ๆ ใกล้เคียง ตั้งอยู่ในภูมิภาคแคริบเบียนเหนือ ที่จุดบรรจบของทะเลแคริบเบียน อ่าวเม็กซิโก และมหาสมุทรแอตแลนติก คิวบาตั้งอยู่ทางทิศใต้ของสหรัฐอเมริกาภาคตะวันออก และหมู่เกาะบาฮามาส ทางทิศตะวันตกของหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอสและประเทศเฮติ ทางทิศตะวันออกของเม็กซิโก และทางทิศเหนือของหมู่เกาะเคย์แมนและเกาะจาเมกา สาธารณรัฐคิวบาเป็นเพียงประเทศเดียวในบริเวณภูมิภาคนี้ที่ยังคงมีการปกครองแบบคอมมิวนิสต์อยู.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและประเทศคิวบา · ดูเพิ่มเติม »

ปอนด์สเตอร์ลิง

ปอนด์สเตอร์ลิง (pound sterling) คือ มาตราเงินของอังกฤษ.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและปอนด์สเตอร์ลิง · ดูเพิ่มเติม »

ปีศาจแห่งโรงอุปรากร

ปีศาจแห่งโรงอุปรากร (The Phantom of the Opera; Le Fantôme de l'Opéra) เป็นวรรณกรรมฝรั่งเศสที่มีชื่อเสียงระดับโลก ซึ่งประพันธ์โดยนักเขียนชาวฝรั่งเศสนามว่า กัสตง เลอรู เป็นนวนิยายแนวโกธิกแบบลึกลับสยองขวัญซึ่งอิงจากเรื่องที่เกิดขึ้นจริงในโรงอุปรากรการ์นิเย่ของฝรั่งเศส และมีเนื้อหาที่กล่าวถึงความรักสามเส้าระหว่างชายอัปลักษณ์ชื่ออีริค (แฟนธ่อม) คริสติน ดาเอ้ ผู้เป็นนักร้องอุปรากรสาวซึ่งเป็นลูกศิษย์ของเขา และราอูล ซึ่งเรื่องนี้จบลงด้วยโศกนาฏกรรมที่เศร้าสลด จากเนื้อหาที่คลาสสิกของ ปีศาจแห่งโรงอุปรากร นี้เอง ที่ทำให้มีการนำมาดัดแปลงเป็นภาพยนตร์, ละครเวที และละครเพลงอยู่บ่อยครั้งตลอดช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา และยังมีบทประพันธ์ลูกอีกหลายเรื่อง อาทีเช่น The Phantom (โดย Susan Kay), แฟนทอมออฟเดอะแมนแฮตตัน เป็นต้น นิยายเรื่อง ปีศาจแห่งโรงอุปรากร นับเป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์ด้วย เนื่องจากกัสตง เลอรูได้เขียนขึ้นโดยได้แรงบันดาลใจจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงโดยนับจากช่วงเวลาที่เขาเขียนนิยายย้อนกลับไปประมาณสามสิบปี ซึ่งเหตุการณ์ที่สร้างความสนใจแก่เลอรู คือ "การตกลงมาอย่างไม่ทราบสาเหตุของโคมระย้า" ระหว่างอุปรากรเรื่อง "เฟาสต์" ซึ่งทำให้มีผู้บาดเจ็บหลายคนและเสียชีวิตหนึ่งคน, การจมน้ำเสียชีวิตของคนกลุ่มเล็กๆ ในคลองใต้โรงละครอย่างลึกลับ, การเสียชีวิตอย่างเป็นปริศนาของเคาต์ฟิลลิปป์ซึ่งเป็นผู้อุปถัมภ์โรงละคร และมีการพบศพของเขาที่ปากท่อระบายน้ำ, เรื่องเล่าเกี่ยวกับ "ผี" ในโรงละคร และการที่โรงละครจะต้องสูญเงินอย่างเป็นปริศนามากถึง 20,000 ฟรังส์ต่อเดือนในช่วงนั้น แม้ในนิยาย "ผีแห่งโรงละคร" จะเป็นเรื่องที่พูดกันมากในช่วงเวลานั้นจริงๆ แต่แท้จริงแล้ว เรื่องของผีไม่ใช่เรื่องแพร่หลาย หากเป็นเรื่องที่รู้กันลับๆ เฉพาะในหมู่คนที่ทำงานในโรงอุปรากรเท่านั้น หรืออีกนัยหนึ่งคือ เรื่องของผีตนนี้โด่งดังขึ้นจากนวนิยายของเลอรูนั้นเอง กัสตง เลอรูได้แสดงออกอย่างชัดเจนว่าเขาเชื่อเรื่องที่เขาเขียน และยังอ้างว่าระหว่างการซ่อมแซมโรงอุปรากรการ์นิเย่ เขาได้พบศพของมนุษย์ ซึ่งเขาแน่ใจว่านั่นคือ อีริค-ผีแห่งโรงละคร โดยอ้างว่าโครงกระดูกนั่นมี "แหวนทองคำเกลี้ยง" สวมที่นิ้ว ซึ่งตรงกับคำบอกเล่าของคนเปอร์เซียที่ว่า "เขาได้รับแหวนทองคำจากคริสติน ดาเอ้ในวันที่เธอทิ้งเขาไป" แต่เลอรู ไม่ได้บอกว่าร่างที่เชื่อว่าเป็นอีริคนั้นถูกย้ายไปไว้ที่ไหน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและปีศาจแห่งโรงอุปรากร · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ (Prime Minister of the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland) เป็นตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลในสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินแห่งสหราชอาณาจักร การกำหนดนโยบายและการบริหารราชการแผ่นดินต่างๆถือเป็นความรับผิดชอบของนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีต่อพระมหากษัตริย์, รัฐสภา, พรรคการเมือง และโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถือเป็นหนึ่งในสี่อำมาตย์นายก ซึ่งหมายถึงผู้บริหารสูงสุดทั้งสี่ของรัฐบาล นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันเป็น คนที่ 54 คือ เทเรซา เมย์ หัวหน้าพรรคอนุรักษนิยม ซึ่งได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ตามรัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ เป็นหน่วยงานส่วนราชการ รับผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวิจัยห้วงอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรัฐอเมริกา คอยจัดการหรือควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ คำขวัญขององค์การนาซาคือ "เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน" (For the benefit of all).

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและนาซา · ดูเพิ่มเติม »

นิวยอร์ก (แก้ความกำกวม)

นิวยอร์ก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและนิวยอร์ก (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

นิวอิงแลนด์

นิวอิงแลนด์ (New England) เป็นเขตหนึ่งในสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ โดยมีเมืองบอสตัน เป็นเมืองขนาดใหญ่ในเขต เขตนิวอิงแลนด์ประกอบด้วย 6 รัฐ ได้แก่ รัฐคอนเนตทิคัต รัฐนิวแฮมป์เชียร์ รัฐเมน รัฐแมสซาชูเซตส์ รัฐโรดไอแลนด์ และ รัฐเวอร์มอนต์ นิวอิงแลนด์มีทีมกีฬาที่สำคัญคือ นิวอิงแลนด์ เพทริออตส์ ทีมอเมริกันฟุตบอลจากเมืองฟอกซ์โบโร และทีมฟุตบอล นิวอิงแลนด์ เรฟโวลูชัน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและนิวอิงแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

นครนิวยอร์ก

นครนิวยอร์ก หรือที่นิยมเรียกกันว่า นิวยอร์กซิตี (New York City; NYC) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก เป็นมหานครเอกของโลก จัดได้ว่าเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน วัฒนธรรม บันเทิง ที่สำคัญที่สุดของโลก เป็นเมืองที่มี ตึกระฟ้า ตึกสูงมาก ตลอดระยะเวลา 150 ปี และยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ นิวยอร์กตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย 5 เขตปกครองที่เรียกว่า โบโรฮ์ (Borough) คือ เดอะบรองซ์ บรูคลิน แมนแฮตตัน ควีนส์ และสแตตัน ไอส์แลนด์ ประชากรรวมทั้งหมดประมาณ 8,274,527 คน ภายในพื้นที่ 790 ตร.กม.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและนครนิวยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แชร์ (นักร้อง)

แฌร์ (Cher;IPA: /ʃɛɹ/) หรือชื่อเกิด เฌอริลีน ซาร์กิเซียน (Cherilyn Sarkisian; เกิด 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1946) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงแนวป็อป เป็นนักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ โปรดิวเซอร์เพลง เธอเคยได้รับ 1 รางวัลออสการ์, 1 รางวัลแกรมมี่, 1 รางวัลเอมมี,3 รางวัลลูกโลกทองคำ และได้รับการจารึกบนฮอลลีวูดวอล์กออฟเฟม แฌร์เป็นที่รู้จักในฐานะนักร้อง ในปี 1965 ในวงดูโอแนวป็อปร็อก ที่ชื่อซันนีแอนด์แชร์ ต่อมาเธอออกมาทำงานผลงานเดี่ยว และเป็นดาราทางโทรทัศน์ในทศวรรษ 1970 และนักแสดงภาพยนตร์ในทศวรรษ 1980 โดยมีผลงานภาพยนตร์อย่าง The Witches of Eastwick, Silkwood, Mask และ Moonstruck จากเรื่องหลังที่ทำให้เธอได้รับรางวัลออสการ์สาขานักแสดงนำหญิง ผลงานเพลงดังของเธอคือ เพลงเต้นรำซิงเกิลที่ชื่อ "Believe" ที่มียอดขายกว่า 10 ล้านชุดทั่วโลก Undercover.com.au.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแชร์ (นักร้อง) · ดูเพิ่มเติม »

แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์

แฟรงกลิน เดลาโน โรสเวลต์ (อังกฤษ: Franklin Delano Roosevelt) เกิดวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2425 (ค.ศ. 1882) เสียชีวิตวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 32 ของสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ยังเป็นประธานาธิบดีที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุด (พ.ศ. 2476-2488) และเป็นประธานาธิบดีเพียงคนเดียวของสหรัฐอเมริกาที่ได้รับเลือกถึงสี่สมัย ก่อนการประกาศญัตติข้อที่ 22 ในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ · ดูเพิ่มเติม »

แฟรงก์ ซินาตรา

ฟรานซิส อัลเบิร์ต "แฟรงก์" ซินาตรา (12 ธันวาคม ค.ศ. 1915 – 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1998) เป็นนักแสดง นักร้อง และโปรดิวเซอร์ชาวอเมริกัน เขาได้กลายเป็นหนึ่งในศิลปินผู้ทรงอิทธิพลที่สุดคนหนึ่งในศตวรรษที่ 20 ด้วยยอดจำหน่ายแผ่นเสียงกว่า 150 ล้านชุดทั่วโลก ทำให้กลายเป็นหนึ่งในศิลปินที่มียอดจำหน่ายสูงสุดตลอดกาล ซินาตราเกิดในโฮโบเคน รัฐนิวเจอร์ซีย์ เป็นลูกหลานของชาวอิตาลีที่อพยพเข้ามาในอเมริกา เขาเริ่มงานดนตรีในช่วงที่ ดนตรีสวิง กำลังเป็นที่นิยม โดยร่วมวงกับ แฮร์รี เจมส์ และทอมมี ดอร์ซีย์ จนต่อมาซินาตราออกมาทำงานดนตรีเดี่ยวซึ่งประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี จนได้เซนต์สัญญากับค่ายโคลัมเบีย ในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแฟรงก์ ซินาตรา · ดูเพิ่มเติม »

แพต นิกสัน

เธลม่า แคทเทอรีน "แพต" รียาน นิกสัน (16 มีนาคม พ.ศ. 2455 -) เป็นภรรยาของประธานาธิบดีคนที่ 37 คือ ริชาร์ด นิกสัน หมวดหมู่:สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐแคลิฟอร์เนีย หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐนิวเจอร์ซีย์ หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐเนวาดา หมวดหมู่:บุคคลจากนครนิวยอร์ก.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแพต นิกสัน · ดูเพิ่มเติม »

แพนแอม เที่ยวบินที่ 103

ที่ยวบินแพนแอมที่ 103 เกิดระเบิดเหนือเมือง ล็อกเกอร์บี สก็อตแลนด์ ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) ระเบิดพลาสติก ขนาด 12-16 ออนซ์ (ประมาณ 340-450 กรัม) ถูกจุดระเบิดขึ้นเป็นเหตุให้เครื่องบินตก ทำให้เกิดผู้เสียชีวิต 270 คน (รวมผู้เสียชีวิตที่อยู่บนพื้น 11 คน) จาก 21 ประเทศ เหตุการณ์ครั้งนี้ถูกบันทึกเป็นเหตุการณ์ก่อการร้ายครั้งใหญ่ที่สุดของสก็อตแลน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแพนแอม เที่ยวบินที่ 103 · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำมิสซิสซิปปี

แม่น้ำมิสซิสซิปปี ภาพถ่ายจากสวนสาธารณะในรัฐมินนิโซตา แม่น้ำมิสซิสซิปปี (Mississippi River) อยู่ตอนกลางของสหรัฐอเมริกา เป็นเครือข่ายสาขาแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาเหนือ(เครือข่ายแม่น้ำมิสซิสซิปปี-มิสซูรี) มีความยาวทั้งสิ้น 3,334 กม.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแม่น้ำมิสซิสซิปปี · ดูเพิ่มเติม »

แอตแลนตา

แอตแลนตา (Atlanta, บางสำเนียงออกเสียง แอตแลนนา) เป็นเมืองหลวงและเมืองขนาดใหญ่ในรัฐจอร์เจียของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีประชากร ตามสัมมโนประชากรในปี 2548 ทั้งหมด 470,688 คน ซึ่งแอตแลนตานี้เป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของธุรกิจสำคัญระดับโลกหลายอย่าง ไม่ว่า โค้ก เอทีแอนด์ทีไวร์เลสส์ เดลต้า แอร์ไลน์ และ โฮมดีโปต์ รวมทั้งยังเป็นที่ตั้งของท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นที่สุดของโลกฮาร์ทสฟิลด์-แจ็คสัน นอกจากนี้ในแอตแลนตายังเป็นที่ตั้งของ สถาบันเทคโนโลยีจอร์เจีย ที่รู้จักในชื่อย่อว่า จอร์เจียเทค สถาบันการศึกษาชั้นนำของสหรัฐอเมริกาแห่งหนึ่ง และที่ตั้งของศูนย์ควบคุมโรคติดต่อ (CDC: Centers for Disease Control and Prevention) แอตแลนตาเคยเป็นสถานที่จัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก 1996 และในแอตแลนตายังมีทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงหลายทีม อาทิ เช่น แอตแลนตา ฮอกส์ (บาสเกตบอล) และ แอตแลนตา ฟัลคอนส์ (อเมริกันฟุตบอล) อแตแลนตา อแตแลนตา หมวดหมู่:เมืองในรัฐจอร์เจีย.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแอตแลนตา · ดูเพิ่มเติม »

แอนดรูว์ แจ็กสัน

แอนดรูว์ แจ็กสัน (Andrew Jackson – 15 มีนาคม พ.ศ. 2310 – 8 มิถุนายน พ.ศ. 2388) มีชื่อเล่นว่า “โอลด์ฮิกกอรี่ (Old Hickory) รัฐบุรุษอเมริกันและประธานาธิบดีคนที่ 7 แห่งสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2372 – พ.ศ. 2380) เกิดที่เมืองแวกซ์ฮอว์ รัฐเซาท์แคโรไลนา จบการศึกษาด้านกฎหมายและได้รับเลือกเป็นสมาชิกรัฐสภาจากรัฐเทนเนสซี เมื่อ พ.ศ. 2339 เป็นสมาชิกวุฒิสภาเมื่อ พ.ศ. 2340 และระหว่างปี พ.ศ. 2341 – พ.ศ. 2347 ได้ดำรงตำแหน่งผู้พิพากษาศาลสูง นอกจากนี้กอ่นหน้านี้ แอนดรูว์ แจ็กสันยังเคยเป็นนักค้าที่ดินและนักค้าทาสอยู่ระยะหนึ่งด้ว.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแอนดรูว์ แจ็กสัน · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี เอส. ทรูแมน

ันเอก แฮร์รี เอส ทรูแมน (อังกฤษ: Harry S Truman) เกิดวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1884 เสียชีวิตวันที่ 26 ธันวาคม ค.ศ. 1972 เป็นรองประธานาธิบดีคนที่ 34 (ค.ศ. 1945) และประธานาธิบดีคนที่ 33 ของสหรัฐอเมริกา โดยรับตำแหน่งต่อจากประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. รูสเวลต์ที่เสียชีวิตขณะยังดำรงตำแหน่ง ในช่วงการดำรงตำแหน่งของทรูแมนเต็มไปด้วยเหตุการณ์สำคัญมากมาย เขารับตำแหน่งในขณะที่สหรัฐและพันธมิตรเริ่มได้เปรียบในสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นคนอนุมัติให้ทิ้งระเบิดปรมาณูที่ประเทศญี่ปุ่น เริ่มแผนมาร์แชลล์ในการฟื้นฟูทวีปยุโรป ช่วงเริ่มแรกของสงครามเย็น การก่อตั้งสหประชาชาติ และสงครามเกาหลี.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแฮร์รี เอส. ทรูแมน · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์

แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซีจำนวนเจ็ดเล่ม ประพันธ์โดยนักเขียนชาวอังกฤษ เจ. เค. โรว์ลิง เป็นเรื่องราวการผจญภัยของพ่อมดวัยรุ่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเพื่อนสองคน รอน วีสลีย์ และเฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ซึ่งทั้งหมดเป็นนักเรียนโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ โครงเรื่องหลักเกี่ยวกับภารกิจของแฮร์รี่ในการเอาชนะพ่อมดศาสตร์มืดที่ชั่วร้าย ลอร์ดโวลเดอมอร์ ผู้ที่ต้องการจะมีชีวิตอมตะ มีเป้าหมายเพื่อพิชิตมักเกิ้ล หรือประชากรที่ไม่มีอำนาจวิเศษ พิชิตโลกพ่อมดและทำลายทุกคนที่ขัดขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฮร์รี่ พอตเตอร์ หนังสือเล่มแรกในชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ วางจำหน่ายในฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮเรียต บีเชอร์ สโตว์

แฮเรียต บีเชอร์ สโตว์ (Harriet Beecher Stowe; 14 มิถุนายน พ.ศ. 2354 – 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2439) เป็นนักเขียนนวนิยายชาวอเมริกัน เกิดที่เมืองลิชฟิลด์ รัฐคอนเนตทิคัต ประเทศสหรัฐอเมริกา ในครอบครัวที่เคร่งศาสนานิกายพิวริแทน สโตว์ได้รับการศึกษาเบื้องต้นในโรงเรียนของพี่สาวและต่อมาได้เป็นครูในโรงเรียนนี้ ต่อมาได้แต่งงานกับศาสตราจารย์ด้านการศาสนาในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแฮเรียต บีเชอร์ สโตว์ · ดูเพิ่มเติม »

แจ๊ส

แจ๊ส เป็นลักษณะดนตรีชนิดหนึ่งที่พัฒนามาจากกลุ่มคนดำในสหรัฐอเมริกา (African Americans) ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยมีลักษณะพิเศษคือโน้ตบลูส์ การลัดจังหวะ จังหวะสวิง การโต้และตอบทางดนตรี และการเล่นสด โดยแจ๊สถือเป็นลักษณะดนตรีคลาสสิกชนิดหนึ่งของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแจ๊ส · ดูเพิ่มเติม »

แดน บราวน์

แดน บราวน์ (Dan Brown) นักเขียนชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงกว้างขวางจากผลงานนิยายสืบสวนสอบสวนอิงประวัติศาสตร์อย่าง รหัสลับดาวินชี.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแดน บราวน์ · ดูเพิ่มเติม »

แคริบเบียน

แคริเบียน (The Caribbean) เป็นกลุ่มประเทศและหมู่เกาะต่างในเขตทะเลแคริเบียนซึ่งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเม็กซิโก ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเวเนซูเอลา มีรัฐอยู่ราวๆ 25 รัฐซึ่งรวมรัฐอิสระและรัฐภายใต้ความคุ้มครอง (dependencies).

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแคริบเบียน · ดูเพิ่มเติม »

แคนเดิลอินเดอะวินด์

"แคนเดิลอินเดอะวินด์" (Candle in the Wind) เป็นเพลงที่เซอร์ เอลตัน จอห์นประพันธ์ดนตรีขึ้น และประพันธ์เนื้อเพลงโดย เบอร์นีย์ ทอพีน เมื่อปีค.ศ. 1973 เพื่อเป็นการไว้อาลัยให้แก่มาริลิน มอนโร และต่อมาได้ใช้เป็นเพลงในพระราชพิธีพระศพของไดอาน่า เจ้าหญิงแห่งเวลส์ด้วย เพลงนี้เปิดตัวครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแคนเดิลอินเดอะวินด์ · ดูเพิ่มเติม »

แคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์

แคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์ (Catherine, Duchess of Cambridge) หรือพระนามเมื่อเกิดว่า แคเธอริน อิลิซะเบธ "เคต" มิดเดิลตัน (Catherine Elizabeth Middleton) เป็นพระชายาในเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ ประสูติเมื่อวันที่ 9 มกราคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

แนวรบด้านตะวันตก (Western Front) คือเขตสงครามหลักในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งตั้งแต่เดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง) · ดูเพิ่มเติม »

แนนซี เรแกน

แนนซี เดวิส เรแกน (ชื่อเดิม แอนน์ ฟรานเชส รอบบินส์; 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2464 – 6 มีนาคม พ.ศ. 2559) เป็นภริยาของประธานาธิบดีคนที่ 40 แห่งสหรัฐอเมริกา คือ ประธานาธิบดีโรนัลด์ เรแกน และเป็นสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของสหรัฐอเมริกา เสียชีวิตจากภาวะหัวใจล้มเหลว แนนซี่ เรแกน เกิดในวันที่ 6 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแนนซี เรแกน · ดูเพิ่มเติม »

โกรเวอร์ คลีฟแลนด์

ตีเฟน โกรเวอร์ คลีฟแลนด์ (Stephen Grover Cleveland) (18 มีนาคม 1837 -- 24 มิถุนายน 1908) เป็นประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาคนที่ 22 และ 24 เป็นประธานาธิบดีคนเดียวที่ดำรงตำแหน่งใน 2 วาระไม่ติดต่อกัน (ค.ศ. 1885–1889 และ 1893–1897) เขาชนะผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีรวม 2 ครั้ง คือในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและโกรเวอร์ คลีฟแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

โรนัลด์ เรแกน

รนัลด์ วิลสัน เรแกน (Ronald Wilson Reagan; 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2454 – 5 มิถุนายน พ.ศ. 2547) เป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 40 (พ.ศ. 2524–2532) สังกัดพรรครีพับลิกัน นอกจากนี้เรแกนยังดำรงตำแหน่งผู้ว่าการรัฐแคลิฟอร์เนีย คนที่ 33 (พ.ศ. 2510-พ.ศ. 2518) ก่อนหน้านั้นเขาเคยเป็นผู้ประกาศข่าวและนักแสดงมาก่อน เรแกนเกิดในเมือง ตัมปีโก, รัฐอิลลินอยส์ เติบโตมาในดิกซัน แรแกนได้ศึกษาเข้าที่มหาวิทยาลัย Eureka โดยได้หารายได้จากศิลปศาสตรบัณฑิต ปริญญาในสาขาเศรษฐศาสตร์และสังคมวิทยา หลังจากสำเร็จการศึกษา เรแกนได้ย้ายไปยัง รัฐไอโอวา โดยทำหน้าที่เป็นผู้กระจายเสียงทางวิทยุ หลังจากในปี พ.ศ. 2480 เรแกนได้ไปยังเมือง ลอสแอนเจลิส เมื่อเรแกนเริ่มทำงานโดยการเป็นนักแสดง โดยเป็นครั้งแรกในภาพยนตร์และครั้งสุดท้ายในวิทยุ หนึ่งในภาพยนตร์ที่โดดเด่นที่สุดของเขามีดังนี้ Knute Rockne, All American (2483), Kings Row (2485), and Bedtime for Bonzo (2494) เรแกนทำหน้าที่เป็นประธานของสมาคมนักแสดงหน้าจอและต่อมาเป็นโฆษกสำหรับ General Electric (GE) จุดเริ่มต้นของแรแกนในทางการเมืองที่เกิดขึ้นในระหว่างการทำงานของเขาสำหรับจีอี แต่เดิมเขาเป็นสมาชิกของพรรคเดโมแครต (สหรัฐอเมริกา) แต่เนื่องจากฝ่ายขยับแพลตฟอร์มในระหว่างปี พ.ศ. 2493 เปลี่ยนไปอยู่ในพรรคริพับลิกัน (สหรัฐอเมริกา) ใน พ.ศ. 2505 หลังจากการส่งมอบคำพูดที่เร้าใจในการสนับสนุนของผู้สมัครประธานาธิบดี แบรี่ โกรวอทเธอร์ ในปี พ.ศ. 2507, เขาถูกชักชวนให้ไปหาผู้ว่าจ้างแคลิฟอเนีย, เขาชนะสองปีและอีกครั้งในปี พ.ศ. 2513 เขาก็พ่ายแพ้ในระยะของเขาสำหรับพรรคริพับลิกันเสนอชื่อเข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดีในปี พ.ศ. 2511 และในปี พ.ศ. 2519.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและโรนัลด์ เรแกน · ดูเพิ่มเติม »

โลกใหม่

ระวังสับสนกับ โลกยุคใหม่โลกใหม่ (สีเขียว) เปรียบเทียบกับ โลกเก่า (สีเทา) โลกใหม่ (New World) เป็นคำที่ใช้สำหรับดินแดนที่นอกไปจากทวีปแอฟริกา ทวีปยุโรป และ ทวีปเอเชีย ที่ก็คือทวีปอเมริกา และอาจจะรวมไปถึงออสตราเลเชียด้วย เป็นคำที่เริ่มใช้กันในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เมื่อทวีปอเมริกายังใหม่ต่อชาวยุโรปผู้ที่เดิมเชื่อว่าโลกประกอบด้วยทวีปเพียงสามทวีปที่เรียกรวมกันว่าโลกเก่า คำว่า “โลกใหม่” ไม่ควรจะสับสนกับคำว่า “โลกยุคใหม่” (Modern era) คำหลังหมายถึงช่วงเวลาในประวัติศาสตร์มิใช่แผ่นดิน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและโลกใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

โทรอนโต

ใจกลางเมืองโทรอนโต โดยมี ซีเอ็นทาวเวอร์ตั้งอยู่ใจกลาง โทรอนโต (Toronto) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศแคนาดา และเป็นเมืองที่ใหญ่อันดับที่ 4 ในทวีปอเมริกาเหนือ และโทรอนโตเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรัฐออนแทรีโอ ของแคนาดา โทรอนโตมีประชากรประมาณ 5,555,912 คน (ข้อมูลคาดการณ์ ในปี พ.ศ. 2549)The fact that these municipalities form the GTA is stated in โทรอนโตได้ชื่อว่าเป็นเมืองที่มีหลายเชื้อชาติมากที่สุดเมืองหนึ่ง และโทรอนโตเป็นศูนย์กลางทาด้านเศรษฐกิจ ศิลปะ วัฒนธรรมของประเทศแคนาดา โดยในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและโทรอนโต · ดูเพิ่มเติม »

โทรเลขซิมแมร์มันน์

ทรเลขซิมแมร์มันน์ขณะถูกส่งจากวอชิงตัน ดี.ซี. ไปยังเอกอัครราชทูตไฮน์ริช ฟอน เอคคาดท์ (เอกอัครราชทูตเยอรมนีประจำเม็กซิโกในขณะนั้น) อาณาเขตของเม็กซิโกในปี พ.ศ. 2460 (สีเขียวเข้ม) อาณาเขตที่โทรเลขซิมแมร์มันน์ระบุว่าเยอรมนีจะคืนให้แก่เม็กซิโก (สีเขียวอ่อน) และอาณาเขตดั้งเดิมของเม็กซิโกก่อนปี พ.ศ. 2379 (เส้นสีแดง) โทรเลขซิมแมร์มันน์ (Zimmermann Telegram หรือ หมายเหตุซิมแมร์มันน์ Zimmermann Note) คือข้อเสนอทางการทูตระหว่างจักรวรรดิเยอรมันและเม็กซิโกในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและโทรเลขซิมแมร์มันน์ · ดูเพิ่มเติม »

โทนี แบลร์

แอนโธนี ชาลส์ ลินตัน "โทนี" แบลร์ (Anthony Charles Lynton "Tony" Blair) เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 (ค.ศ. 1953) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของสหราชอาณาจักร และเป็นอดีตหัวหน้าพรรคแรงงาน แบลร์สืบทอดตำแหน่งหัวหน้าพรรคแรงงานหลังจากการเสียชีวิตของหัวหน้าพรรคคนก่อนคือ นายจอห์น สมิท (John Smith) ใน พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) และเอาชนะนายจอห์น เมเจอร์ (John Major) ของพรรคอนุรักษนิยม และเป็นหัวหน้าพรรคแรงงานคนเดียวที่สามารถชนะการเลือกตั้งได้ 3 สมัยติดต่อกัน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและโทนี แบลร์ · ดูเพิ่มเติม »

โคลด์เพลย์

ลด์เพลย์ เป็นวงดนตรีร็อกจากลอนดอน, สหราชอาณาจักร ก่อตั้งวงในปี พ.ศ. 2541 มีเพลงดังอย่าง "Yellow", "Clocks", "Speed Of Sound", "In My Place" และ "Viva La Vida" เป็นต้น และเป็นวงดนตรีที่กวาดรางวัลหลายรางวัลมามากมายตลอดเส้นทางอาชีพของพวกเขา โคลด์เพยล์สามารถคว้ารางวัลแกรมมีได้ถึงเจ็ดรางวัลจากการถูกเสนอชื่อเข้าชิง 25 ครั้ง และยังคว้ารางวัลบริตอะวอดส์ได้อีก 8 รางวัล และโคลด์เพลย์มียอดขายถึง 80 ล้านแผ่นทั่วโลก.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและโคลด์เพลย์ · ดูเพิ่มเติม »

โปรเตสแตนต์

นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและโปรเตสแตนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมแอมี

มแอมี (Miami) เป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา บนอ่าวบิสเคย์น องค์การสหประชาชาติได้ทำนายไว้ว่าในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและไมแอมี · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล แจ็กสัน

มเคิล โจเซฟ แจ็กสัน เป็นนักร้องชาวอเมริกัน นักแต่งเพลง นักออกแบบท่าเต้น นักแสดง โปรดิวเซอร์เพลงและนักการกุศล ได้รับการขนานนามว่าเป็น "ราชาเพลงป็อป" (The King of Pop)อิทธิพลทางดนตรี การเต้นรำ แฟชั่นและผลงานด้านมนุษยธรรม กับชีวิตส่วนตัวที่ถูกเผยแพร่ควบคู่ไปกับความสำเร็จ ทำให้เขาเป็นส่วนหนึ่งในวัฒนธรรมร่วมสมัยมากว่า 4 ทศวรรษ เขาเป็นลูกคนที่ 8 ของครอบครัวแจ็กสัน ปรากฏตัวครั้งแรกในระดับอาชีพด้านดนตรีตั้งแต่อายุ 5 ปี โดยเป็นหนึ่งในสมาชิกวงเดอะแจ็กสันไฟฟ์ในปี 1964 เขาเริ่มมีผลงานเดี่ยวในปี 1971 ขณะที่ยังคงเป็นสมาชิกของวงอยู่ ต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 เขากลายเป็นส่วนสำคัญในวัฒนธรรมเพลงป็อป และถือเป็นศิลปินชาวแอฟริกัน-อเมริกันคนแรกที่มีผลงานออกอากาศผ่านทางช่องเอ็มทีวี มิวสิกวิดีโอของเขา ประกอบด้วยเพลง "Beat It", "Billie Jean" และ "Thriller" ได้รับการยกย่องสำหรับการทำลายอุปสรรคทางเชื้อชาติ และเปลี่ยนแปลงรูปแบบมิวสิกวิดีโอจากอุปกรณ์การประชาสัมพันธ์ไปเป็นรูปแบบของงานศิลปะ ความนิยมของมิวสิกวิดีโอเหล่านี้ได้ช่วยให้ช่องเอ็มทีวีที่เพิ่งเปิดใหม่นี้มีชื่อเสียง อัลบั้ม Bad ของเขาในปี 1987 นับเป็นอัลบั้มเพลงแรกในประวัติศาสตร์ที่มีเพลงอันดับ 1 ถึง 5 เพลงบนบิลบอร์ดฮ็อต 100 จากอัลบั้มเดียว มิวสิกวิดีโอในรูปแบบใหม่อย่างเพลง "Black or White" และ "Scream" ก็ยังออกอากาศบ่อยทางช่องเอ็มทีวี เขายังสร้างสรรค์สิ่งใหม่ตลอดคริสต์ทศวรรษ 1990 ด้วยชื่อเสียงที่เลื่องลือในฐานะศิลปินเดี่ยวกับลีลาบนเวทีและการแสดง แจ็กสันสร้างความโด่งดังให้กับเทคนิคการเต้นที่ซับซ้อนโดยใช้ร่างกายมากมายหลายๆท่า ซึ่งก่อให้เกิดการแพร่หลายอย่างมาก อย่างเช่นท่าเต้นหุ่นยนต์และท่าเต้นมูนวอล์ก เอกลักษณ์ทางด้านดนตรีและเสียงร้องอันโดดเด่นของเขายังมีอิทธิพลต่อศิลปินหลายแนวเพลง อิทธิพลของเขาได้แพร่กระจายไปสู่คนหลายรุ่นทั่วโลก Thriller ถือเป็นอัลบั้มเพลงที่มียอดขายสูงสุดตลอดกาลสี่อัลบั้มเดี่ยวที่เหลือของเขา ก็ยังติดอันดับอัลบั้มที่ขายดีที่สุดในโลก ประกอบด้วยชุด Off the Wall (1979), Bad (1987), Dangerous (1991) และ HIStory (1995) แจ็กสันเดินทางไปทั่วโลกเพื่อร่วมกิจกรรมด้านมนุษยธรรม เขาหาเงินนับร้อยล้านดอลลาร์เพื่อมูลนิธิการกุศลของเขา มีซิงเกิลและผลกำไรจากทัวร์คอนเสิร์ตที่เขาสนับสนุนให้กับองค์กร 39 แห่ง บันทึกสถิติโลกกินเนสส์ระบุว่าเขาเป็นบุคคลบันเทิงที่มีส่วนร่วมในการกุศลมากยิ่งกว่าดาราหรือศิลปินคนใดๆ ชีวิตส่วนตัวของเขามักปรากฏตัวโดยการปรับเปลี่ยนเสื้อผ้าและพฤติกรรมให้คนอื่นจำไม่ได้ แต่นี่ก็เป็นสิ่งที่ทำลายภาพลักษณ์ที่ดีของเขาด้วยเช่นกัน เขายังถูกข้อกล่าวหาลวนลามทางเพศเด็กในปี 1993 แต่ก็ปิดลงโดยเขาไม่มีความผิดเนื่องจากมีหลักฐานไม่เพียงพอ แจ็กสันมีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 และยังมีข้อมูลรายงานขัดแย้งในเรื่องฐานะการเงินของเขาตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 แจ็กสันแต่งงานมาแล้วสองครั้ง มีลูกสามคน ต่อมาในปี 2005 เขามีข้อพิพาทอีกครั้งเรื่องล่วงละเมิดทางเพศและอีกหลายคดี แต่เขาก็ไม่มีความผิด (ซึ่งในภายหลังคู่กรณีหลายรายได้ออกมายอมรับว่า แจ็กสัน ไม่ได้กระทำ และที่กล่าวหา เพราะเป็นเด็ก และถูกผู้ปกครองบังคับ โดยหวังที่จะได้รับเงินค่าเสียหาย) เขาเป็นหนึ่งในไม่กี่ศิลปินที่มีชื่ออยู่ในร็อกแอนด์โรลฮอลออฟเฟมถึงสองครั้ง ผลงานของเขาประสบความสำเร็จได้รับบันทึกสถิติหลายครั้ง กินเนสส์บุ้คเวิลด์เรคคอร์ดจารึกชื่อเขาเป็น "ศิลปินบันเทิงที่ประสบความสำเร็จที่สุดตลอดกาล" เขาเป็นนักร้องคนเดียวจากโลกดนตรีป็อปและร็อกแอนด์โรลที่มีชื่ออยู่ในหอเกียรติยศแดนซ์ฮอลออฟเฟม และยังเป็นศิลปินเพียงคนเดียวที่มีเพลงฮิตติดท็อป 10 บนบิลบอร์ดฮ็อต 100 ทุก 10 ปี ติดต่อกันนานกว่าครึ่งศตวรรษ แจ็กสันชนะรางวัลจากเวทีต่างๆ นับร้อยกว่ารางวัล ทำให้เขาเป็นศิลปินที่คว้ารางวัลมากที่สุดในประวัติศาสตร์เพลงป็อปความสำเร็จอื่นๆ ของเขาได้แก่ สถิติในกินเนสบุ้คเวิลด์เรคคอร์ดหลายครั้ง 13 รางวัลแกรมมี่ รางวัลพิเศษ Grammy Legend Award, Grammy Lifetime Achievement Award 26 อเมริกันมิวสิกอวอร์ดส มากกว่าศิลปินคนใดๆ รวมไปถึงรางวัลพิเศษ "ศิลปินแห่งศตวรรษ" และ "ศิลปินแห่งทศวรรษ" 13 ซิงเกิลที่ขึ้นอันดับ 1 ในฐานะนักร้องเดี่ยว มากกว่าที่ศิลปินชายคนใดจะทำได้ และมียอดขายรวมกว่า 400 ล้านชุดทั่วโลก ไมเคิล แจ็กสัน เสียชีวิตเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและไมเคิล แจ็กสัน · ดูเพิ่มเติม »

ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์

อานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ มีพระนามเต็มว่า ไดอานา ฟรานเซส (อังกฤษ: Diana Frances) สกุลเดิม สเปนเซอร์ (อังกฤษ: Spencer) ประสูติ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2504 — สิ้นพระชนม์ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2540 เป็นพระชายาองค์แรกของเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ มกุฎราชกุมารอังกฤษ ไดอานาถือกำเนิดในตระกูลขุนนางที่สืบทอดเชื้อสายจากราชวงศ์อังกฤษโบราณ  เป็นบุตรีคนที่ 3 ของ จอห์น สเปนเซอร์ ไวเคานต์อัลธอร์พ และฟรานเซส โรช ในวัยเด็กไดอานาพักอาศัยที่คฤหาสน์พาร์กเฮาส์ ซึ่งตั้งอยู่ภายในพื้นที่ตำหนักซานดริงแฮม ไดอานาเข้ารับการศึกษาในโรงเรียนที่ประเทศอังกฤษและได้เข้าศึกษาต่อเป็นเวลาสั้นๆ ในโรงเรียนการเรือนที่ประเทศสวิสเซอร์แลนด์  เมื่ออายุได้ 14 ปี ไดอานาได้รับบรรดาศักดิ์เป็น เลดี้ เมื่อบิดาสืบทอดฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็น เอิร์ลแห่งสเปนเซอร์ ไดอานาเริ่มเป็นที่รู้จักไปทั่วโลกเมื่อเป็นเข้าพิธีหมั้นหมายกับเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ใน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไดอาน่า รอสส์

อาน่า รอสส์ (Diana Ross) เป็นนักร้องชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกัน เจ้าของรางวัลแกรมมี่ เธอร้องเพลงในสไตล์ อาร์แอนด์บี โซล ดิสโก้ และป็อป ไดอาน่า รอสส์ เป็นที่รู้จักในฐานะนักร้องนำวง เดอะซูพรีมส์ (The Supremes) กลุ่มศิลปินหญิงที่มีชื่อเสียงในยุค 60 จนกระทั่งเธอออกมาเป็นศิลปินเดี่ยว ประสบความสำเร็จในยุค 70 มีเพลงดังอย่าง Touch Me In The Morning,You Are Everything และ Theme From Mahogany (Do You Know Where You're Going To) เป็นต้น นอกจากนั้นเธอได้แสดงภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ และ ละครบรอดเวย์ ในส่วนของรางวัลเธอเคยได้รับรางวัลโทนี่ และเคยถูกเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลแกรมมี่ และ รางวัลออสการ์มาแล้ว ใน ค.ศ. 1972 เธอได้รับเสนอชื่อชิงรางวัลออสการ์ในฐานะนักแสดงนำหญิง จากภาพยนตร์เรื่อง Lady Sings The Blues สร้างจากหนังสืออัตชีวประวัติของ บิลลี ฮอลิเดย์ ในปี 1976 นิตยสารบิลบอร์ดได้มอบรางวัล female entertainer of the century ให้ และ กินเนสส์บุ๊คประกาศว่า ไดอาน่า รอสส์ คือศิลปินหญิงที่ประสบความสำเร็จที่สุดในศตวรรษที่ 20 ด้วยเพลงอันดับ 1 ในอเมริกา 18 เพลง (6 ในฐานะศิลปินเดี่ยว 12 กับวง เดอะ ซูปพรีมส์).

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและไดอาน่า รอสส์ · ดูเพิ่มเติม »

เบลฟาสต์

มืองเบลฟาสต์ เบลฟาสต์ (Belfast; Béal Feirste) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดในนอร์เทิร์นไอร์แลนด์ มีประชากร 276,459 คนในเขตเมือง และ 579,554 ในเขตปริมณฑล (พ.ศ. 2544).

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเบลฟาสต์ · ดูเพิ่มเติม »

เชอร์ลีย์ บาสซีย์

ณหญิงเชอร์ลีย์ เวโรนิกา บาสซีย์, สมาชิกทวีติยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งจักรวรรดิบริเตน (Dame Shirley Veronica Bassey, DBE) เกิดเมื่อวันที่ 8 มกราคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเชอร์ลีย์ บาสซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เบนจามิน แฟรงคลิน

นจามิน แฟรงคลิน (Benjamin Franklin) (– 17 เมษายน ค.ศ. 1790) เป็นหนึ่งในบิดาผู้สร้างชาติของสหรัฐอเมริกา เบนจามิน แฟรงคลิน เป็น ช่างพิมพ์ คนเรียงพิมพ์ นักเขียน นักปรัชญา นักการเมือง นักวิทยาศาสตร์ นักประดิษฐ์ นักปฏิรูป และนักการทูต คนสำคัญในยุคแสงสว่างของสหรัฐอเมริกา ในฐานะนักวิทยาศาสตร์ เขามีผลงานหลายอย่างในด้านฟิสิกส์ ผลงานที่สำคัญคือคิดค้นสายล่อฟ้า และผลงานอื่นเช่นแว่นไบโฟคอล เตาแฟรงคลิน และฮาร์โมนิกาแก้ว เขาเป็นผู้เริ่มก่อตั้งห้องสมุดแห่งแรกในสหรัฐอเมริกา และก่อตั้งสถานีดับเพลิงแห่งแรกในรัฐเพนซิลเวเนีย ผลงานในฐานะนักการเมืองเขาเป็นนักเขียนและผู้นำการเคลื่อนไหวคนสำคัญไปสู่การแยกตัวออกจากอาณานิคมและร่วมก่อตั้งชาติสหรัฐอเมริกา ในฐานะนักการทูต เขาได้เป็นทูตคนสำคัญในช่วงปฏิวัติอเมริกาเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกาและประเทศฝรั่งเศส ซึ่งนำไปสู่การแยกตัวของประเทศจากอาณานิคมของอังกฤษในที่สุด แฟรงคลินเริ่มต้นชีวิตจากการเป็นนักเรียงพิมพ์ในฟิลาเดลเฟีย ซึ่งสร้างความมั่งคั่งจากหนังสือ Poor Richard's Almanack และหนังสือพิมพ์เพนน์ซิลเวเนียแกเซตต์ (Pennsylvania Gazette) แฟรงคลินมีความสนใจในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีชื่อเสียงในฐานะนักวิทยาศาสตร์ชื่อดังของโลกคนหนึ่ง นอกจากนี้เขาได้เป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย และวิทยาลัยแฟรงคลินแอนด์มาร์แชลล์ เขายังได้รับเลือกให้เป็นประธานคนแรกของสมาคมปรัชญาอเมริกา จากผลงานของแฟรงคลินทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และการเมือง เขาได้ถูกยกย่องและกล่าวถึงในหลายด้าน เขาปรากฏในธนบัตรของสหรัฐอเมริกา (100 ดอลลาร์สหรัฐ) ชื่อของเขายังปรากฏเป็นชื่อ เมือง เคาน์ตี สถานศึกษา และผลงานอีกหลายด้านยังมีการกล่าวถึงตราบจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเบนจามิน แฟรงคลิน · ดูเพิ่มเติม »

เบ็ตตี ฟอร์ด

อลิซาเบธ แอน บลูมเมอร์ วอร์เรน ฟอร์ด (8 เมษายน พ.ศ. 2461 - 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) หรือทีรู้จักกันคือ เบ็ตตี ฟอร์ด เป็นภริยาของอดีตประธานาธิบดีเจอรัลด์ ฟอร์ด และสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของสหรัฐอเมริกา ระหว่างปี พ.ศ. 2517 ถึงปี พ.ศ. 2520 เธอเป็นผู้ก่อตั้งเบ็ตตี ฟอร์ด เซ็นเตอร์ และเป็นประธานคนแรกของที่นี.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเบ็ตตี ฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เกรตเลกส์

วเทียมบริเวณเกรตเลกส์ แผนที่ เกรตเลกส์ ทะเลสาบทั้ง 5 แห่ง เกรตเลกส์ (อังกฤษ: Great Lakes) เป็นชื่อเรียกทะเลสาบทั้ง 5 ได้แก่ สุพีเรีย มิชิแกน ฮูรอน อิรี และออนแทรีโอ เป็นกลุ่มของทะเลสาบน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก บางครั้งชาวอเมริกันให้ฉายาว่าเป็น "ชายหาดที่สาม" เนื่องจากอาณาบริเวณที่กว้างขวาง ลักษณะระบบนิเวศ ชายหาดและพื้นที่ชุ่มน้ำขนาดใหญ่ ทำให้ได้รับการขนานนามว่าเป็น "ทะเลในแผ่นดิน" เพราะปริมาณน้ำจืดในทะเลสาบทั้ง 5 คิดเป็น 20 % ของปริมาณน้ำจืดที่มีอยู่บนโลก ในทางภูมิศาสตร์เส้นแบ่งประเทศของสหรัฐอเมริกาและแคนาดาลากผ่านกลุ่มทะเลสาบเหล่านี้ มีเพียงทะเลสาบเดียวที่อยู่ในสหรัฐอเมริกาคือทะเลสาบมิชิแกน บริเวณนี้เป็นแหล่งแร่เหล็กที่สำคัญของสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะทะเลสาบซุพีเรี.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเกรตเลกส์ · ดูเพิ่มเติม »

เมษายน

มษายน เป็นเดือนที่ 4 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน (เขียนย่อ เม.ย. ภาษาปากเรียก เมษา หรือเดือนเมษา) ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนเมษายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีเมษ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีพฤษภ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนเมษายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวปลาและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวแกะ ชื่อในภาษาอังกฤษ "April" มีรากศัพท์มาจากภาษาละติน แอปปรีริส ("aprilis") และ แอปเปรีเร ("aperire") หมายถึง "กางออก" ซึ่งอาจหมายถึงการเริ่มต้นของฤดูใบไม้ผลิ หรืออาจมาจาก Apru ชื่อเทพีแห่งความรักในภาษาของชาวอิทรูเรีย ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนเมษายนใน พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน ตามปฏิทินโรมันดั้งเดิม กำหนดให้เดือนเมษายนเป็นเดือนที่ 2 ของปี และมี 29 วัน จากนั้นจูเลียส ซีซาร์ได้ปฏิรูประบบปฏิทินใหม่ เมื่อ 45 ปีก่อนคริสตกาล กำหนดให้เดือนมกราคมเป็นเดือนแรก ทำให้เดือนเมษายนขยับไปเป็นเดือนที่ 4 ของปี และมี 30 วัน.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เลโอนา ลูวิส

ลโอนา หลุยส์ ลูวิส เกิดเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2528 เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง ชาวอังกฤษ ผู้ชนะเลิศการแข่งขันรายการ The X Factor ในฤดูกาลที่ 3 เลโอนา เปิดตัวด้วยซิงเกิลแรก "A Moment Like This" ที่มียอดการซื้อเพลงออนไลน์แบบถูกกฎหมาย มากถึง 55,000 โหลดภายในเวลาเพียง 30 นาที และซิงเกิลต่อมา "Bleeding Love" ก็ยังเป็นซิงเกิลที่ขายที่สุดในปี พ.ศ. 2550 ในสหราชอาณาจักร และสามารถขึ้นไปถึงอันดับหนึ่งในหลายประเทศรวมทั้งสหรัฐอเมริกาและฝรั่ง.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเลโอนา ลูวิส · ดูเพิ่มเติม »

เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์

วสต์มินสเตอร์แอบบีย์ (Westminster Abbey) เดิมเป็นแอบบีย์ แต่ปัจจุบันเป็นโบสถ์ในนิกายแองกลิคันที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในนครเวสต์มินสเตอร์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบสถาปัตยกรรมกอทิกเป็นส่วนใหญ่นอกจากหอคอยที่เป็นสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก เป็นสถานที่ประกอบพิธีราชาภิเษกและที่ฝังพระบรมศพพระมหากษัตริย์อังกฤษและพระศพพระบรมวงศานุวงศ์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เสรีรัฐไอริช

รีรัฐไอริช (Irish Free State; Saorstát Éireann) เป็นเสรีรัฐที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม ค.ศ. 1922 ตามข้อตกลงในสนธิสัญญาอังกฤษ-ไอร์แลนด์ที่ลงนามโดยรัฐบาลบริเตนและผู้แทนไอร์แลนด์สิบสองเดือนก่อนหน้านั้น ในวันที่ก่อตั้งเสรีรัฐประกอบด้วยเกาะไอร์แลนด์ทั้งเกาะยกเว้นแต่ไอร์แลนด์เหนือที่แยกตัวออกมาเกือบจะทันทีตามสิทธิ "แยกตัว" ที่ระบุไว้ในสนธิสัญญา เสรีรัฐไอริชมาแทนที่สาธารณรัฐไอร์แลนด์ที่ประกาศตนเป็นรัฐโดยพฤตินัยมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1919 เสรีรัฐไอริชมาสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1937 เมื่อประชาชนออกเสียงสนับสนุนข้อเรียกร้องให้มีรัฐธรรมนูญฉบับใหม่แทนฉบับ ค.ศ. 1922 แต่ยังไม่ประกาศตัวเป็นสาธารณรัฐจนกระทั้งปี 1949.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเสรีรัฐไอริช · ดูเพิ่มเติม »

เอมี ไวน์เฮาส์

อมี เจด ไวน์เฮาส์ (เกิดเมื่อวันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 1983 - เสียชีวิต 23 กรกฎาคม ค.ศ. 2011) นักร้องแนวโซลชาวอังกฤษ และนักแต่งเพลงแจ๊ส อัลบั้มชุดแรกของเธอออกในปี 2003 ชื่อชุด Frank ได้ถูกเสนอชื่อรางวัลเมอร์คิวรีไพรซ์ และเธอได้รับรางวัลไอวอร์ โนเวลโล ในปี 2004 สำหรับซิงเกิลเปิดตัวของเธอ "Stronger than Me" และอีกครั้งหนึ่งในเดือน พฤษภาคม 2007 กับซิงเกิลแรกจากอัลบั้มในปี 2006 Back to Black ในเพลง "Rehab" และต่อมาในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ยังได้รับรางวัลบริทอวอร์ด สาขาศิลปินหญิงที่ดีที่สุดของเกาะอังกฤษ นอกจากนั้นยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลเอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิก อวอร์ดส ปี 2007 อีกด้วย ในปี 2007 เธอชนะได้รับรางวัลแกรมมี สาขาเพลงแห่งปี ในเพลง rehab สาขาบันทึกเสียงแห่งปี ทางด้านชีวิตส่วนตัว เธอได้เข้าพิธีแต่งงานกับแฟนหนุ่ม เบลค ฟิดเลอร์ เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2007 เกี่ยวกับสุขภาพเธอเป็นโรคซึมเศร้า มีปัญหาติดยาและติดเหล้า เธอเคยถูกจับกุมข้อหาครอบครองยาเสพติด พร้อมกับเบลก ฟิล์ดเดอร์-ซิวิล สามีของเธอ และในช่วงปลายปี 2007 โดนจับอีกครั้งเนื่องจากข้อหาทำร้ายร่างกายสามี แต่ทั้งสองคดีจบไปตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ ทั้งคู่ได้แยกทางกันในเวลาต่อมา ก่อนไวน์เฮาส์จะเสียชีวิต ที่รายงานว่าเธอคบหาอยู่กับเรก แทรวิสส์ ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษ แต่เพิ่งเลิกรากันก่อนหน้านั้นประมาณหนึ่งสัปดาห์ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุให้เธอเศร้าเสียใจ ดื่มสุราและเสพยาอย่างหนักจนเสียชีวิต.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเอมี ไวน์เฮาส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอลวิส เพรสลีย์

อลวิส เพรสลีย์ มีชื่อจริงว่า เอลวิส แอรอน เพรสลีย์ (8 มกราคม ค.ศ. 1935 - 16 สิงหาคม ค.ศ. 1977) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวอเมริกัน เขาถือเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม เขามักได้รู้จักในฉายา “ราชาแห่งร็อกแอนด์โรลล์” หรือเรียกสั้น ๆ ว่า "เดอะคิง" เขาเกิดที่เมืองทูเพอโล รัฐมิสซิสซิปปี ต่อมาย้ายไปทีเมืองเมมฟิส รัฐเทนเนสซี กับครอบครัวของเขาเมื่ออายุได้ 13 ปี เขาเริ่มอาชีพนักร้องที่นี่เมื่อปี 1954 เมื่อเจ้าของค่ายซันเรเคิดส์ ที่ชื่อ แซม ฟิลลิปส์อยากที่จะนำดนตรีของชาวแอฟริกันอเมริกันไปสู่ฐานคนฟังให้กว้างขึ้น และเห็นเพรสลีย์มีความมุ่งมั่นดี ได้ร่วมกับนักกีตาร์ที่ชื่อสก็อตตี มัวร์และมือเบส บิล แบล็ก เพรสลีย์ถือเป็น 1 ในคนที่ให้กับเนิดแนวเพลงร็อกอะบิลลี แนวเพลงผสมผสานจังหวะอัปเทมโป แบ็กบีตผสมเพลงคันทรีกับริทึมแอนด์บลูส์ เขาได้เซ็นสัญญากับอาร์ซีเอวิกเตอร์ โดยมีผู้จัดการคือโคโลเนล ทอม พาร์กเกอร์ ที่เป็นผู้จัดการให้เขาร่วม 2 ทศวรรษ ซิงเกิลแรกของเพรสลีย์กับอาร์ซีเอคือซิงเกิล "Heartbreak Hotel" ออกขายในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเอลวิส เพรสลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เอลตัน จอห์น

ซอร์ เอลตัน เฮอร์คูลีส จอห์น (Sir Elton Hercules John) เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเอลตัน จอห์น · ดูเพิ่มเติม »

เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์

ออร์เนสต์ มิลเลอร์ เฮมิงเวย์ (Ernest Miller Hemingway; พ.ศ. 2442-2504) นักประพันธ์นวนิยายและนักเขียนเรื่องสั้นชาวอเมริกันผู้ใช้ลีลาภาษาที่สั้นกระชับ เกิดที่ โอค ปาร์ก รัฐอิลลินอยส์ เริ่มทำงานเป็นผู้สื่อข่าวกับหนังสือพิมพ์ เดอะแคนซัสซิตีสตาร์ เข้าเป็นทหารในสงครามโลกครั้งที่ 1 ประจำรถพยาบาลทหารจนได้รับบาดเจ็บเมื่อปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เอดินบะระ

อดินบะระ (Edinburgh เอดินเบอระ; Dùn Èideann; บางคนอ่าน/เขียนผิดเป็น: เอดินเบิร์ก) เป็นเมืองหลวงของประเทศสกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของสกอตแลนด์ เป็นเมืองเก่าแก่ที่มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่สมัยกลาง ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาสูงอยู่กลางเมือง เป็นที่ตั้งของปราสาทเอดินบะระอันเป็นทำเลที่ได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ในสมัยก่อน โดยรอบภูเขาถูกปรับพื้นที่เป็นคูเมืองเพื่อประโยชน์ในเชิงการทหาร รอบนอกเป็นที่ราบลดหลั่นเป็นขั้น ๆ กระจายออกโดยรอบ เอดินบะระเป็นที่ตั้งของรัฐสภาแห่งใหม่ของสกอตแลนด์ (เพิ่งแยกออกมาจากรัฐสภาของสหราชอาณาจักร) ตั้งอยู่บนถนนสายหลักของเอดินบะระคือ รอยัลไมล์ (The Royal Mile) ซึ่งสร้างตามแนวสันเขาเชื่อมโยงพื้นที่ประวัติศาสตร์ระหว่างปราสาทเอดินบะระและพระราชวัง สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ ได้แก่ บริเวณรอยัลไมล์ ปราสาทเอดินบะระ และสวนพฤกษศาสตร์ โดยเฉพาะปราสาทเอดินบะระเป็นปราสาทที่เป็นสถานที่เปิดตัวของหนังสือเรื่องแฮรี่ พอตเตอร์ เนื่องจากมีลักษณะใกล้เคียงฉากเมืองแม่มดในท้องเรื่อง เอดินบะระเป็นเมืองที่เจริญมากที่สุดเมืองหนึ่งในสหราชอาณาจักร มีศูนย์กลางเมืองตั้งอยู่รอบ ๆ ปราสาทเอดินบะระ เมืองเอดินบะระนั้นขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองแห่งเทศกาลต่าง ๆ ตัวอย่างงานสำคัญที่ถูกจัดขึ้นในเมืองเอดินบะระ ได้แก่ เทศกาลศิลปะนานาชาติ Fringe ภาพยนตร์ วิทยาศาสตร์ งานหนังสือเด็ก เพลงแจ๊ส และเพลงพื้นบ้าน ในช่วงเทศกาลเหล่านี้ โดยเฉพาะช่วงเดือนสิงหาคมหรือช่วงหน้าร้อนของสหราชอาณาจักร ที่เมืองเอดินบะระจะมีจัดงานเทศกาลประจำปีที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวมาที่เมืองนี้เป็นจำนวนมาก จนทำให้เมืองเอดินบะระติดอันดับเมืองที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดเป็นอันดับสองของสหราชอาณาจักรรองจากลอนดอน นอกจากนั้น เมืองเอดินบะระยังเป็นเมืองที่ได้ชื่อว่าเป็น "เมืองที่เป็นมิตรกับเด็ก" (The Child Friendly City) เนื่องจากภายในเมืองมีสถานที่ท่องเที่ยวที่เหมาะสำหรับเด็กมากมาย เช่น พิพิธภัณฑ์วัยเด็กและเรื่องเล่าของผู้คน (Museum of Childhood and People’s Story) สวนสัตว์ที่มีศูนย์การศึกษาที่เคลื่อนไหวได้จริง (Dynamic Education Centre) โลกแห่งผีเสื้อและแมลง (Butterfly & Insect World) และโลกทะเลลึก (Deep Sea World) เป็นต้น ในแง่ของเศรษฐศาสตร์ เมืองเอดินบะระเป็นเมืองศูนย์กลางทางการเงินที่ใหญ่เป็นอันดับสองของสหราชอาณาจักรรองจากลอนดอนและใหญ่เป็นอันดับห้าของยุโรป โดยมีมหาวิทยาลัยตั้งอยู่ถึงสามแห่งด้วยกันคือ มหาวิทยาลัยเอดินบะระ มหาวิทยาลัยแฮเรียต-วัตต์ และมหาวิทยาลัยเนเปียร์ ภาพ:Edinburgh1.JPG|ปราสาทเอดินบะระ ตั้งอยู่บนยอดเขากลางเมือง ภาพ:Edinburgh2.JPG|อาคารรัฐสภาของสกอตแลนด์ ตั้งอยู่ในเมืองเอดินบะร.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเอดินบะระ · ดูเพิ่มเติม »

เฮนรี แมนซินี

นรี แมนซินี (16 เมษายน ค.ศ. 1924- 14 มิถุนายน ค.ศ. 1994) เป็นนักประพันธ์เพลง คอนดักเตอร์ และนักเรียบเรียงเพลง ชาวอเมริกัน เคยได้รับรางวัลออสการ์มาแล้ว และเคยได้รับรางวัลแกรมมี่หลายรางวัลรวมถึงสาขาประสบความสำเร็จในอาชีพการงานในปี 1995 ผลงานที่มีชื่อเสียงของเขาเช่นธีมเพลงประกอบภาพยนตร์ซีรีส์เรื่อง The Pink Panther และเพลง Moon River เฮนรี แมนซินี จบการศึกษาวิชาดนตรีจากสถาบันดนตรีที่มีชื่อเสียงแห่งมหานครนิวยอร์กที่ชื่อ The Carnegie Institute Of Technology Music School และเรียนต่อที่ Juilliard School of Music เป็นลูกศิษย์ของอาจารย์ดนตรีที่มีชื่อเสียงอย่าง Castelnuovo -Tedesco และ Krenek งานของเขาส่วนมากเป็นงานแต่งเพลงและเป็นผู้อำนวยการเพลงประกอบภาพยนตร์และโทรทัศน์ และเพลง Moon River ที่โด่งดังเขาเป็นผู้แต่งทำนอง.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเฮนรี แมนซินี · ดูเพิ่มเติม »

เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน

. อาร.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

เจ. เค. โรว์ลิง

แอนน์ "โจ" โรว์ลิง (Joanne "Jo" Rowling, OBE FRSL) หรือนามปากก.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเจ. เค. โรว์ลิง · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ บอนด์

มส์ บอนด์ (James Bond) เป็นตัวละครสมมติ สร้างโดย เอียน เฟลมมิ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2496 ซึ่งปรากฏอยู่ในนวนิยาย 12 ตอนและรวมเรื่องสั้นอีก 2 เล่ม ต่อมาหลังจากเขาเสียชีวิตในปี พ.ศ. 2507 มีนักประพันธ์อีกหลายคนได้สิทธิ์ในการประพันธ์ เจมส์ บอนด์ ต่อ ได้แก่ คิงส์ลีย์ เอมิส, คริสโตเฟอร์ วูด, จอห์น การ์ดเนอร์, เรย์มอนด์ เบ็นสัน, เซบาสเตียน ฟอล์ค, เจฟฟรีย์ ดีฟเวอร์ และ วิลเลียม บอยด์ นอกจากนี้ยังมีผลงานประพันธ์ของ ชาร์ลี ฮิกสัน ในชุด ยังบอนด์ และ เคต เวสต์บรูค ประพันธ์ในรูปแบบไดอารีของตัวละคร มิสมันนีเพนนี เจมส์ บอนด์ ยังได้ถูกดัดแปลงออกมาเป็นสื่อต่างๆ เช่น ละครโทรทัศน์, ละครวิทยุ, การ์ตูน, วิดีโอเกมและภาพยนตร์ ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างมากทั่วโลก โดยเป็นภาพยนตร์ชุดที่ทำเงินสูงสุดอันดับที่ 4 เริ่มจากเรื่อง พยัคฆ์ร้าย 007 (Dr.No) เมื่อปี พ.ศ. 2505 โดยมี ฌอน คอนเนอรี รับบท เจมส์ บอนด์ ปัจจุบันออกฉายแล้วทั้งหมด 24 ภาค ผลิตโดย อีโอเอ็น โปรดักชันส์ ภาคล่าสุด ชื่อว่า องค์กรลับดับพยัคฆ์ร้าย (Spectre) แดเนียล เคร็ก เป็นเจมส์ บอนด์ ครั้งที่ 4 และเป็นคนที่ 6 ที่รับบทนี้ นอกจากนี้ยังมีภาพยนตร์ที่ไม่ใช่ของ อีโอเอ็น คือ ทีเด็ดเจมส์บอนด์ 007 (Casino Royale) เมื่อปี พ.ศ. 2510 เดวิด นิเวน เป็นเจมส์ บอนด์ และ พยัคฆ์เหนือพยัคฆ์ (Never Say Never Again) เมื่อปี พ.ศ. 2526 ซึ่งเป็นการรีเมค ธันเดอร์บอลล์ 007 (Thunderball) โดย ฌอน คอนเนอรี กลับมารับบทเป็นเจมส์ บอนด์ อีกครั้ง ตัวเลข 007 ที่อยู่ท้ายชื่อของเจมส์ บอนด์ หมายถึงรหัสลับประจำตัวที่ใช้เรียกแทนตัวเขาในฐานะของสายลับคนหนึ่ง โดยเลข 00 ที่นำหน้าเลข 7 อยู่นั้น ถือเป็นสัญลักษณ์ที่แจ้งให้ทราบว่า ตัวเขาเป็นสายลับที่ได้รับอนุญาตให้สามารถสังหารชีวิตผู้อื่นได้โดยไม่ผิดกฎหมายสมเกียรติ อ่อนวิมล.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเจมส์ บอนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ แมดิสัน

มส์ แมดิสัน (James Madison) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 4 แห่งสหรัฐอเมริกา เกิดเมื่อวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 1751 และเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1809 โดยเข้ารับตำแหน่งต่อจากโธมัส เจฟเฟอร์สัน ออกจากตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1817 ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1836 และยังเป็นหนึ่งในคณะผู้ก่อตั้งประเทศสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเจมส์ แมดิสัน · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ทาวน์ (โรดไอแลนด์)

มส์ทาวน์ (Jamestown) เป็นเมืองในนิวพอร์ตเคาน์ตี โรดไอแลนด์ สหรัฐอเมริกา ในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเจมส์ทาวน์ (โรดไอแลนด์) · ดูเพิ่มเติม »

เจอรัลด์ ฟอร์ด

อรัลด์ รูดอล์ฟ ฟอร์ด จูเนียร์ (ภาษาอังกฤษ: Gerald Rudolph Ford, Jr.) (14 กรกฎาคม ค.ศ. 1913 – 26 ธันวาคม ค.ศ. 2006) เป็นประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา คนที่ 38 ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1974 จนถึงวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1977 และเป็นรองประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนที่ 40 ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเจอรัลด์ ฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เจอร์รี โกลด์สมิธ

อรัลด์ คิง "เจอร์รี" โกลด์สมิธ (10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1929 - 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2004) นักแต่งดนตรีประกอบภาพยนตร์ชาวอเมริกัน เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ 18 ครั้ง และได้รับรางวัลจากเรื่อง ดิ โอเมน (1976) ได้รับรางวัลเอมมี 4 ครั้ง โกลด์สมิธมีผลงานการแต่งดนตรีประกอบภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์ยาวนานถึง 53 ปี ตั้งแต่ทศวรรษ 1950 ถึง 2000 โดยเฉพาะภาพยนตร์แอคชัน ระทึกขวัญ และภาพยนตร์ไซไฟ ผลงานของโกลด์สมิธที่ได้รับการจดจำ คือดนตรีประกอบภาพยนตร์ชุดสตาร์ เทรค เขาเป็นผู้ทำดนตรีประกอบภาพยนตร์ 5 ภาค คือภาคแรก, ภาค 5, 8, 9 และ 10 และซีรีส์สตาร์ เทรค: วอยเอเจอร.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเจอร์รี โกลด์สมิธ · ดูเพิ่มเติม »

เจอร์ซีย์

เจอร์ซีย์ (Jersey) เป็นดินแดนอาณานิคมปกครองตนเองของสหราชอาณาจักร เป็นเกาะหนึ่งในหมู่เกาะแชนเนลในช่องแคบอังกฤษ มีเมืองหลวงชื่อ เซนต์เฮลเยอร์ หมวดหมู่:ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร หมวดหมู่:เกาะในทวีปยุโรป จ หมวดหมู่:เจอร์ซีย์.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเจอร์ซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์

้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ (HRH the Prince Charles, The Prince of Wales) พระนามเต็ม ชาลส์ ฟิลิป อาร์เธอร์ จอร์จ; พระราชสมภพ 14 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ

้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ (พระนามเดิม เจ้าชายฟิลิปปอสแห่งกรีซและเดนมาร์ก; พระราชสมภพ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2464) เป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เป็นชาวกรีก โดยกำเนิด มีตำแหน่งเจ้าชายแห่งกรีซและแห่งเดนมาร์ก ปัจจุบันมียศเป็นดยุกแห่งเอดินบะระ มีพระนามเดิมว่า เรือเอก ฟิลิป เมาท์แบตเตน เข้าพระราชพิธีอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงเอลิซาเบธ เมื่อปี พ.ศ. 2490.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์

้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ หรือ วิลเลียม อาร์เธอร์ ฟิลิป หลุยส์ (His Royal Highness Prince William Duke of Cambridge; William Arthur Philip Louis; ประสูติ: 21 มิถุนายน พ.ศ. 2525) เป็นพระโอรสพระองค์ใหญ่ในเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์และเลดีไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ ทรงอยู่อันดับที่สองของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษและประเทศต่าง ๆ ในเครือจักรภพอังกฤษอีก 16 ประเทศ แม้พระองค์จะประทับอยู่ในสหราชอาณาจักรเป็นส่วนใหญ่ก็ตาม ในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลน

้าหญิงอลิซ เค้านท์เตสแห่งแอธโลน หรือ อลิซ แมรี่ วิกตอเรีย ออกัสตา พอลีน หรือพระอิสริยยศแรกเดิม เจ้าหญิงอลิซแห่งออลบานี (Princess Alice, Countess of Athlone, VA, GCVO, GBE; พระอิสริยยศแรกเดิม Princess Alice of Albany; 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2426 - 3 มกราคม พ.ศ. 2524) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ และพระราชนัดดาของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระองค์ทรงมีจุดเด่นที่ยังคงเป็นเจ้าหญิงในเชื้อพระวงศ์ที่มีพระชนม์ชีพยืนยาวที่สุดของพระราชวงศ์อังกฤษและพระราชนัดดาที่ทรงพระชนม์ชีพอยู่เป็นองค์สุดท้ายในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย อีกทั้งยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา และดัชเชสแห่งแซ็กโซนี พร้อมกับทั้งเจ้าหญิงแห่งเท็คจากการอภิเษกสมรสจนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2460 เมื่อพระองค์ต้องทรงสละฐานันดรศักดิ์ทั้งหมดตามพระบรมราชโองการของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลน · ดูเพิ่มเติม »

เทพลิขิต

''ความเจริญของเอมริกา'' ค.ศ. 1872 โดยจอห์น เกสต์ แสดงให้เห็นถึงภาพเชิงเปรียบเทียบของกระบวนการพัฒนาพื้นที่ฝั่งตะวันตกของสหรัฐอเมริกา เป็นภาพที่แสดงถึง ''โคลัมเบีย'' บุคลาธิษฐานของสหรัฐอเมริกานำพาความเจริญก้าวหน้าไปสู่ฝั่งตะวันตกพร้อมกับเหล่าผู้ตั้งรกราก ถือตำราเรียนและร้อยสายโทรเลขไปตามทางขณะลอยเคลื่อนไปทิศตะวันตก ซึ่งเน้นด้วยผู้บุกเบิกที่มีฐานะทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกันพร้อมกับระบบขนส่งทางราง ขณะที่ชนอเมริกันพื้นเมืองและฝูงสัตว์ต่างหลีกหนีด้วยความตื่นกลัว เทพลิขิต หรือ โองการของพระเจ้า (Manifest Destiny) เป็นวลีที่เป็นปรัชญาที่เกิดขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ว่าสหรัฐอเมริกานั้นมีภารกิจที่กำหนดไว้โดยเทพให้ทำการขยายพรมแดน จากชายฝั่งแอตแลนติกทางตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือออกไปทางทิศตะวันตกจนจรดชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก วลี Manifest Destiny ซึ่งมีความหมายว่า ชะตากรรมที่พระเจ้ากำหนดไว้อย่างชัดเจนหรือภารกิจที่ปฏิเสธไม่ได้ นี้ จอห์น โอ ซัลลิแวน นักหนังสือพิมพ์ในเมืองนิวยอร์กเป็นผู้คิดรังสรรค์รูปคำขึ้นมาใช้ในปี ค.ศ. 1845 เมื่อเขาเขียนว่า มันเป็นชะตากรรมของชาติที่พระเจ้ากำหนดไว้แล้ว ให้ขยายพรมแดนออกไปและเข้าครอบครองทวีปอเมริกาเหนือทั้งหมด ซึ่งพระกรุณาของพระผู้เป็นเจ้า ที่กำหนดให้แก่เรานี้ก็เพื่อพัฒนาประสบการณ์อันยิ่งใหญ่ของเสรีภาพ และ รัฐบาลสหพันธรัฐที่ ทรงประทานให้แก่เรา แม้ว่าแนวคิดเทพลิขิตไม่เคยถูกระบุว่าเป็นนโยบายพิเศษหรืออุดมการณ์ของประเทศสหรัฐอเมริกา แต่ก็เป็นเจตจำนงค์ซึ่งเป็นที่เข้าใจได้ อันเกิดขึ้นจากการผสมผสานแนวคิดรากฐานสำคัญ 3 ประการเข้าด้วยกัน คือ ลัทธิที่เชื่อว่าคนอเมริกันนั้นมีความพิเศษเหนือชาติอื่น, ลัทธิชาตินิยม และ ลัทธิการแพร่ขยายอาณาเขต นักวิเคราะห์หลายคนเชื่อว่าแนวคิดในบางแง่มุมของเทพลิขิตนั้นยังคงประกอบอยู่เป็นส่วนหนึ่งในนโยบายและมุมมองต่อโลกภายนอกของอเมริกันชนอยู.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเทพลิขิต · ดูเพิ่มเติม »

เทเรซา เมย์

ทะรีซา แมรี เมย์ (Theresa Mary May, เกิด 1 ตุลาคม ค.ศ. 1956) คือนักการเมืองชาวบริติช ผู้ดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร และหัวหน้าพรรคอนุรักษนิยมในสหราชอาณาจักรตั้งแต..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเทเรซา เมย์ · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด แคเมอรอน

วิด วิลเลียม ดอนัลด์ แคเมอรอน (David William Donald Cameron) เกิดเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 1966 เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษ อีกทั้งเดวิดยังดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 53 คนปัจจุบันแห่งสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเดวิด แคเมอรอน · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด โบอี

วิด โบอี (David Bowie) หรือชื่อเกิด เดวิด โรเบิร์ต โจนส์ (David Robert Jones) เกิดเมื่อวันที่ 8 มกราคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเดวิด โบอี · ดูเพิ่มเติม »

เดอะบีเทิลส์

อะบีเทิลส์ (The Beatles) เป็นวงร็อกแอนด์โรลจากเมืองลิเวอร์พูล ประเทศอังกฤษ ในปี 1960 ประกอบด้วยสมาชิก ร้องนำและมือกีตาร์ จอห์น เลนนอน ร้องนำและมือเบสพอล แม็กคาร์ตนีย์ มือกีตาร์ จอร์จ แฮร์ริสัน และมือกลอง ริงโก สตาร์ บีเทิลส์ได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางให้เป็นวงร็อกที่มีอิทธิพลที่สุดแห่งยุคและเป็นหนึ่งในวงที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด ในตอนเริ่มต้นแนวดนตรีของพวกเขาจะเป็นแบบสกิฟเฟิลและร็อกแอนด์โรล แต่ในเวลาต่อมาบีเทิลส์ก็ได้สรรค์สร้างแนวเพลงอีกหลากหลาย นับแต่ไปจนถึงไซเคเดลิก บางครั้งก็ผสมแนวดนตรีคลาสสิกหรือเครื่องดนตรีแบบอื่นๆ ด้วยกระแสนิยมของบีเทิลส์อย่างสูง จนถึงกลับเรียกกระแสเหล่านี้ว่า "บีเทิลมาเนีย" (Beatlemania) โดยเฉพาะในช่วงยุค 60 - 70 เดอะบีเทิลส์เริ่มสร้างชื่อเสียงจากเล่นคอนเสิร์ตในคลับที่ลิวเวอร์พูลและฮัมบูร์กในช่วง 3 ปีของ 1960 โดยมีเพลงฮิตที่ประสบความสำเร็จครั้งแรกอย่าง "เลิฟมีดู" (Love Me Do) ในช่วงปลายปี 1962 พวกเขาได้ฉายา "เดอะแฟปโฟร์" (the Fab Four) ในขณะที่กระแสบีเทิลมาเนียก็เริ่มเกิดขึ้นมาพปีต่อมา และในช่วงก่อนปี 1964 พวกเขาก็ได้กลายมาเป็นไไแห่งวงการดนตรีนานาชาติ ไกลไปจนถึงตลาดเพลงป๊อปของสหรัฐอเมริกา ในปี 1965 เดอะบีเทิลส์ได้สร้างงานดนตรีที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น ชิ้นชเอกทั้งหของนวัตกรรมดนตรีและอิทธิพลทางดนตรีสมัยใหม่ เช่น Rubber Soul (1965), Revolver (1966), Sgt.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเดอะบีเทิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์

"เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์" (The Star-Spangled Banner แปลว่า ธงอันแพรวพราวด้วยดารา) เป็นเพลงชาติประจำสหรัฐ โดยเนื้อเพลงมาจากกวีนิพนธ์ชื่อว่า "การต่อสู้พิทักษ์ป้อมแม็กเฮ็นรี่ (Defence of Fort M'Henry)" ซึ่งประพันธ์ขึ้นในวันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะฮู

อะฮู (The Who) เป็นวงดนตรีร็อกจากอังกฤษ ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507 ได้รับการยอมรับ และมีอิทธิพลต่อวงการดนตรี มีชื่อเสียงในการแสดงสด สมาชิกสำคัญในวงประกอบด้วย พีท ทาวเซนด์ (กีตาร์), โรเจอร์ ดาลเทรย์ (ร้องนำ, ฮาร์โมนิกา), จอห์น เอนทวิสเทิล (เบส) และ คีธ มูน (กลอง).

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเดอะฮู · ดูเพิ่มเติม »

เดอะซิมป์สันส์

อะซิมป์สันส์ (The Simpsons) เป็นรายการการ์ตูนซิตคอมในสหรัฐอเมริกา สร้างโดย แม็ตต์ เกรนิง สำหรับ บริษัทฟ็อกซ์บรอดแคสติง มีเนื้อเรื่องตลกเสียดสีวิถีชีวิตชนชั้นกลางของชาวอเมริกัน โดยผ่านตัวละครในครอบครัวคือ โฮเมอร์, มาร์จ, บาร์ต, ลิซา และ แม็กกี โดยมีเนื้อหาเกิดที่เมืองที่ชื่อ สปริงฟิลด์ ที่ถากถางมุมมองของสังคมมนุษย์ วัฒนธรรมอเมริกัน สังคมทั้งหมดและวงการโทรทัศน์ แนวความคิดเรื่องตัวละครเกิดจากเกรนิง ก่อนที่เขาจะนำไปสร้างขึ้นเป็นตอนสั้น ๆ โดยผู้สร้าง เจมส์ แอล.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเดอะซิมป์สันส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะนิวยอร์กไทมส์

อะนิวยอร์กไทมส์ (The New York Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันที่ตีพิมพ์ในนครนิวยอร์กและจัดจำหน่ายไปทั่วโลก จัดการโดยบริษัทเดอะนิวยอร์กไทมส์ซึ่งตีพิมพ์หนังสือพิมพ์อื่นๆอีก 15 ฉบับ รวมถึง International Herald Tribune และ The Boston Globe ด้วย เดอะนิวยอร์กไทมส์เป็นหนังสือพิมพ์มหานครที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มีฉายาว่า "Gray Lady" (สุภาพสตรีสีเทา) ก็เพราะหน้าตาและสำนวนที่ขรึมขลัง ถูกเรียกว่าเป็นหนังสือพิมพ์ที่บันทึกแห่งการณ์ต่างๆของชาติ เพราะมันมักถูกใช้เป็นแหล่งอ้างอิงที่เป็นทางการและได้รับความเชื่อถือ ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเดอะนิวยอร์กไทมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะโรลลิงสโตนส์

อะโรลลิงสโตนส์ (The Rolling Stones) เป็นวงร็อกอังกฤษ ก่อตั้งวงในปี 1962 ในลอนดอน โดยหัวหน้าวงดั้งเดิม ไบรอัน โจนส์ และนักเปียโน เอียน สจ๊วต ร่วมด้วยนักร้อง มิก แจ็กเกอร์ และมือกีตาร์ คีธ ริชาร์ดส ในช่วงแรกแจ็กเกอร์และริชาร์ดส ร่วมในฐานะผู้ร่วมเขียนเพลง จากนั้นเริ่มนำวงหลังจากเกิดปัญหาและความไม่เอาแน่เอานอนของโจนส์ ต่อจากนั้น มือเบส บิลล์ ไวแมน และมือกลอง ชาร์ลีย์ วัตส์ ก็เข้ามาเป็นสมาชิกในยุคแรก และสจ๊วตรู้สึกว่าไม่เหมาะสมกับการเป็นทีนไอดอล จึงออกจากวงอย่างเป็นทางการเมื่อปี 1963 แต่ยังคงทำหน้าที่เป็นผู้จัดการวงในช่วงออกเดินทางทัวร์ และเป็นมือคีย์บอร์ด จนเขาตายในปี 1985 ในช่วงแรกผลงานส่วนใหญ่จะนำเพลงเก่าในรูปแบบบลูส์อเมริกันและอาร์แอนด์บี มาทำใหม่ หลังจากที่วงประสบความสำเร็จครั้งแรกในสหราชอาณาจักร พวกเขาก็เริ่มประสบความสำเร็จในอเมริกาหลังจากออกรายการ "British Invasion" ในต้นยุคทศวรรษ 1960 วง เดอะโรลลิงสโตนส์มีภาพลักษณ์ที่ขัดกับวงคู่แข่งอย่าง เดอะบีทเทิลส์อย่างเห็นได้ชัดคือ มีภาพลักษณ์เป็นพวกยาวรุงรังและต่อต้านสังคม มีซิงเกิลดังในปี 1965 อย่าง "(I Can't Get No) Satisfaction" และมีผลงานอัลบั้ม Aftermath หลังจากนั้นโจนส์เสียชีวิตในปี 1969 หลังจากถูกไล่ออกจากวง และแทนที่โดย มิก เทย์เลอร์ ซึ่งเทย์เลอร์ร่วมบันทึกเพลงกับวง 5 สตูดิโออัลบั้มก่อนออกจากวงในปี 1974 หลังจากนั้นมือกีตาร์ รอนนีย์ วูด เข้ามาในวง จากนั้นไวแมนออกจากวงในปี 1983 และดาร์รีล โจนส์ เข้ามาเป็นสมาชิกวงอย่างไม่เป็นทางการ เขาทำงานกับวงตั้งแต่ปี 1994 เดอะโรลลิงสโตนส์ ออกสตูดิโออัลบั้มมา 22 อัลบั้มในสหราชอาณาจักร (24 ชุดในสหรัฐอเมริกา) มีอัลบั้มคอนเสิร์ต 8 ชุด (9 ชุดในสหรัฐอเมริกา) และมีอัลบั้มรวมเพลงอีกหลายชุด มียอดขายรวม 200 ล้านชุดทั่วโลก อัลบั้มล่าสุดของพวกเขาคือ A Bigger Bang ออกในปี 2005 และเขายังมีสถิติในชุด Sticky Fingers (1971) ที่ถือเป็นอัลบั้มอันดับ 1 ในสหรัฐอเมริกาอย่างต่อเนื่อง ถึง 8 ชุด นอกจากนี้พวกเขายังมีชื่ออยู่ในร็อกแอนด์โรลฮอลออฟเฟม ในปี 2004 และติดอันดับ 4 ของการจัดอันดับนิตยสารโรลลิงสโตนในหัวข้อ 100 ศิลปินที่เยี่ยมที่สุดตลอดกาล.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเดอะโรลลิงสโตนส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดนเวอร์

วน์ทาวน์เดนเวอร์ เดนเวอร์ (Denver) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของ รัฐโคโลราโด ตั้งอยู่บริเวณที่ราบสูง ทางทิศตะวันออกของเทือกเขาร็อกกี้ เดนเวอร์มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 25 ของสหรัฐอเมริกา โดยมีประชากร 579,744 คน (ค.ศ. 2005) และรวมบริเวณมหานครเดนเวอร์-ออโรราจะมีประชากรประมาณ 2,830,000 คน ชื่อเล่นของเดนเวอร์ คือ ไมล์ไฮซิตี้ เนื่องจากตัวเมืองสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1 ไมล์ (1,609 เมตร) ที่บันไดตึกแคปิตอลทิศตะวันตก ขั้นที่ 15 สูง 1 ไมล์พอดี และบริเวณที่ต่างๆในเมืองเดนเวอร์ เช่น สนามเบสบอลคูรส์ฟิลด์ จะมีที่นั่งหนึ่งที่เป็นสีม่วง (สีประจำทีม โคโลราโด รอกกี้ส์) เพื่อบ่งบอกว่าที่นั่งตัวนั้นสูงระดับ 1 ไมล์เช่นกัน สนามบินนานาชาติเดนเวอร์ สูงจากระดับน้ำทะเล 1,655 เมตร เดนเวอร์ยังได้ชื่อทางประวัติศาสตร์ว่า Queen City of the Plains เนื่องจากความสำคัญของอุตสาหกรรมการเกษตรของเมือง ทำให้เรือรบสหรัฐอเมริกา หลายลำใช้ชื่อว่า USS Denver เพื่อเป็นการให้เกียรติเมือง ทีมกีฬาในเดนเวอร์ที่สำคัญ ได้แก่ เดนเวอร์ บรองโกส์ ทีมอเมริกันฟุตบอล เล่นที่สนามอินเวสโกฟิลด์ มหาวิทยาลัย ในเมืองเดนเวอร์ ได้แก่ มหาวิทยาลัยโคโลราโด เดนเวอร์, มหาวิทยาลัยเดนเวอร.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเดนเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เซาท์พาร์ก

ตัวละครต่างๆ ในการ์ตูนเรื่องเซาท์พาร์ก เซาท์พาร์ก (South Park) เป็นภาพยนตร์การ์ตูนอเมริกันสร้างโดยแมตต์ สโตน และเทรย์ พาร์เกอร์ ออกฉายทาง คอเมดีเซนทรัล ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 โดยเป็นเรื่องราวของนักเรียนประถม 4 คน (เริ่มเรื่องอยู่ ป.3 ปัจจุบันอยู่ ป. 4) ผจญภัยในที่ต่างๆ ภายในเมืองเล็กๆชื่อ เซาท์พาร์ก ในรัฐโคโลราโด ลักษณะตัวละครเริ่มออกแบบจากการตัดกล่องกระดาษมาประกอบเป็นรูปร่าง เนื้อเรื่องของเซาท์พาร์กจะเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบัน โดยจะเน้นในลักษณะล้อเลียน ประชด เสียดสีสังคม เซาท์พาร์กได้ชื่อว่าเป็นการ์ตูนที่มีเรื่องราวเกี่ยวเหตุการณ์ปัจจุบันมาก ยกตัวเอย่างเช่นตอน วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 หลังจากนั้นไม่นานเซาท์พาร์กมีตอนที่ เด็ก 4 คนได้เดินทางไปอิรักและเจอกับ บินลาเดน หรืออย่างตอน ที่พีเอสพีออกวางตลาด ตัวละครในเรื่องเซาท์พาร์กก็ถือเครื่องพีเอสพีเล่น หรือแม้แต่เหตุการณ์เทอร์รี ชายโว เซาท์พาร์กก็มีเรื่องราวเหตุการณ์หลังจากนั้น ซึ่งตอนนี้เองที่เซาท์พาร์กได้รับรางวัลเอมมี ปัจจุบันปี พ.ศ. 2557 เซาท์พาร์กได้ดำเนินมาถึงซีซั่นที่ 18 และมีภาพยนตร์หนึ่งเรื่องคือSouth Park: Bigger, Longer & Uncut รวมถึงมีดีวีดีและโฮมวิดีโอภาคพิเศษอีกหลายตอนไม่ว่าจะเป็น South Park:Imaginationland, The Cult of Cartman, A Little Box of Butters และ Christmas Time in South Park และวิดีโอเกมเช่น South Park The Stick Of Truth.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเซาท์พาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เซาแทมป์ตัน

ซาแทมป์ตัน (Southampton) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในแฮมป์เชียร์เคาน์ตี ชายฝั่งตอนใต้ของอังกฤษ อยู่ห่างจากกรุงลอนดอนทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ราว 120 กิโลเมตร และห่างจากเมืองพอร์ตสมัททางทิศตะวันตกเฉียงเหนือราว 30 กิโลเมตร มีประชากร 239,700 คน (ค.ศ. 2010) เป็นเมืองท่าสำคัญ เมืองที่ใกล้ที่สุดคือ นิวฟอร์เรสต์ เซาแทมป์ตันอยู่ทางทิศเหนือสุดของอ่าวเซาแทมป์ตันวอเตอร์ มีแม่น้ำเทสต์และแม่น้ำอิตเชน ไหลมาบรรจบกัน มีแม่น้ำแฮมเบิลไหลมารวมทางตอนใต้บริเวณเขตเมือง ชาวโรมันและแซกซันเข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เมืองนี้ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองได้รับความเสียหายจากการทิ้งระเบิดของเยอรมัน เนื่องจากเป็นที่ตั้งฐานทัพเรือที่สำคัญของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเซาแทมป์ตัน · ดูเพิ่มเติม »

เปิดโลกอัศจรรย์ Planet Earth

ปิดโลกอัศจรรย์ Planet Earth หรือ Planet Earth ปฐพีชีวิต หรือ Planet Earth พิภพโลก (Planet Earth) รายการสารคดีของบีบีซี นำเสนอ สาระเกี่ยวกับ ธรรมชาติ สภาพนิเวศ ที่สำคัญทั่วโลก มีทั้งหมด 11 ตอน บรรยายโดย เดวิด แอทเทนเบอเรอห์ ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเปิดโลกอัศจรรย์ Planet Earth · ดูเพิ่มเติม »

เนชันแนลฟุตบอลลีก

นชันแนลฟุตบอลลีก (National Football League; ย่อ: NFL) เป็นลีกกีฬาอเมริกันฟุตบอลระดับอาชีพในสหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย 32 ทีมจากเมืองต่าง ๆ ลีกนี้ตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเนชันแนลฟุตบอลลีก · ดูเพิ่มเติม »

เนวิล เชมเบอร์ลิน

อาร์เธอร์ เนวิล เชมเบอร์ลิน (Arthur Neville Chamberlain) เป็นนักการเมืองพรรคอนุรักษนิยมชาวอังกฤษ เป็นนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรตั้งแต่พฤษภาคม..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเนวิล เชมเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เนโท

องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Treaty Organization; Organisation du traité de l'Atlantique nord) ย่อว่า เนโท (NATO) หรือ ออต็อง (OTAN) หรือ นาโต (ตามที่คนไทยเรียก) เป็นพันธมิตรทางทหารระหว่างรัฐบาล ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 เมษายน..

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเนโท · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

10 สิงหาคม

วันที่ 10 สิงหาคม เป็นวันที่ 222 ของปี (วันที่ 223 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 143 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและ10 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 พฤษภาคม

วันที่ 14 พฤษภาคม เป็นวันที่ 134 ของปี (วันที่ 135 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 231 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและ14 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 ตุลาคม

วันที่ 19 ตุลาคม เป็นวันที่ 292 ของปี (วันที่ 293 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 73 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและ19 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 สิงหาคม

วันที่ 2 สิงหาคม เป็นวันที่ 214 ของปี (วันที่ 215 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 151 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและ2 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 ตุลาคม

วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและ23 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 พฤษภาคม

วันที่ 24 พฤษภาคม เป็นวันที่ 144 ของปี (วันที่ 145 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 221 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและ24 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 พฤษภาคม

วันที่ 25 พฤษภาคม เป็นวันที่ 145 ของปี (วันที่ 146 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 220 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและ25 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 สิงหาคม

วันที่ 27 สิงหาคม เป็นวันที่ 239 ของปี (วันที่ 240 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 126 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและ27 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 มีนาคม

วันที่ 3 มีนาคม เป็นวันที่ 62 ของปี (วันที่ 63 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 303 วันในปีนั้น/.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและ3 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 กรกฎาคม

วันที่ 4 กรกฎาคม เป็นวันที่ 185 ของปี (วันที่ 186 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 180 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและ4 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 มิถุนายน

วันที่ 7 มิถุนายน เป็นวันที่ 158 ของปี (วันที่ 159 ในปีอธิกสุรหาจนาทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 207 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและ7 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

7 ตุลาคม

วันที่ 7 ตุลาคม เป็นวันที่ 280 ของปี (วันที่ 281 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 85 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและ7 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร - สหรัฐอเมริกาความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐอเมริกาความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐอเมริกา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »