โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534และผู้นำสหภาพโซเวียต

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534และผู้นำสหภาพโซเวียต

ความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534 vs. ผู้นำสหภาพโซเวียต

วามพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต.. ใต้รัฐธรรมนูญปี 1977 ของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (สหภาพโซเวียต) ประธานสภารัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล และประธานคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดเป็นประมุขแห่งรัฐ ซึ่งประธานสภารัฐมนตรีนั้นเทียบเท่ากับนายกรัฐมนตรีในโลกที่หนึ่ง ในขณะที่ประธานคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดเทียบเท่าประธานาธิบดี ในประวัติศาสตร์เจ็ดสิบปีของสหภาพโซเวียตไม่มีผู้นำอย่างเป็นทางการในรัฐบาลสหภาพโซเวียต แต่ผู้นำโซเวียตมักจะนำประเทศผ่านตำแหน่งประธานสภารัฐมนตรีหรือเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต (CPSU) ในอุดมการณ์ของวลาดิมีร์ เลนินประมุขแห่งรัฐโซเวียตเป็นแกนหลักของพรรคคอมมิวนิสต์ ในยุคสตาลินในปี1920 ได้มีการจัดตั้งตำแหน่งเลขาธิการคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งมวลสหภาพซึ่งมีอำนาจเหมือนกับตำแหน่งผู้นำของสหภาพโซเวียต เพราะตำแหน่งนั้นได้ควบคุมทั้ง CPSU และรัฐบาลของสหภาพโซเวียต ตำแหน่งเลขาธิการถูกยกเลิกภายในปี1952 และต่อมาได้จัดตั้งขึ้นใหม่โดยนิกิตา ครุสชอฟ ภายใต้ชื่อเลขานุการลำดับที่หนึ่งคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต; ในปี 1966 เลโอนิด เบรจเนฟ ได้ใช้ชื่อตำแหน่งใหม่ว่า เลขาธิการคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต เลขาธิการเหมือนกับตำแหน่งผู้นำของสหภาพโซเวียตจนกระทั่ง1990ตำแหน่งเลขาธิการขาดแนวทางที่ชัดเจนของความสำเร็จดังนั้นหลังจากการตายหรือถูกกำจัดของผู้นำโซเวียตคนก่อนมักจะทายาทมักจะต้องการการสนับสนุนของโปลิตบูโร คณะกรรมการกลาง อีกทั้งต้องใช้เวลาและการมีอำนาจในพรรค ในมีนาคม 1990 ก็ถูกแทนที่ด้วยตำแหน่งประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต หลังการแต่งตั้งประธานาธิบดี ผู้แทนของสภาผู้แทนราษฎรของประชาชนได้ลงมติให้ลบมาตรา 6 จากรัฐธรรมนูญของสหภาพโซเวียตที่ระบุว่าสหภาพโซเวียตเป็นรัฐหนึ่งของบุคคลที่ควบคุมโดยพรรคคอมมิวนิสต์ซึ่งในการเปิดให้ประชาชนมีบทบาทนำในสังคม มากขึ้นทำอำนาจพรรคคอมมิวนิสต์อ่อนแอลงและประชาชนเริ่มมีอำนาจมากขึ้น เมื่อประธานาธิบดีหรือรองประธานาธิบดีตาย,ลาออกหรือถอดถอนออกจากของสหภาพโซเวียตจะถือว่ายังมีอำนาจอยู่จนถึงการแต่งตั้งหรือตั้งเลือก แต่ก็ไม่ได้มีทดสอบเพราะสหภาพโซเวียตได้ล่มสลายก่อน หลังจากล้มเหลวในการรัฐประหารสิงหาคม รองประธานาธิบดีก็ถูกแทนที่ด้วยการเลือกตั้งจากสมาชิกสภาของสหภาพโซเวียต.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534และผู้นำสหภาพโซเวียต

ความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534และผู้นำสหภาพโซเวียต มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตการล่มสลายของสหภาพโซเวียตมอสโกมีฮาอิล กอร์บาชอฟคณะกรรมการสถานการณ์ฉุกเฉินแห่งรัฐ

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต

รรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต (Коммунисти́ческая Па́ртия Сове́тского Сою́за; КПСС) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ที่ปกครองสหภาพโซเวียตและเป็นสถาบันหรือองค์กรที่มีอำนาจและบทบาททั้งทางด้านนิตินัยและพฤตินัยในการกำหนดดำเนินนโยบายต่างประเทศ อำนาจในการบริหารและตัดสินใจมาจากกลุ่มบุคคลชั้นนำในคณะกรรมการการเมือง หรือ 'โปลิตบูโร' (Politburo / Политбюро).

ความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534และพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต · ผู้นำสหภาพโซเวียตและพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

การล่มสลายของสหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตถูกยุบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2534 ตามปฏิญญาหมายเลข 142-เอชแห่งสภาโซเวียตแห่งสาธารณรัฐ (Soviet of the Republics)Declaration № 142-Н of the Soviet of the Republics of the Supreme Soviet of the Soviet Union, formally establishing the dissolution of the Soviet Union as a state and subject of international law.

การล่มสลายของสหภาพโซเวียตและความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534 · การล่มสลายของสหภาพโซเวียตและผู้นำสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

มอสโก

มอสโก (Moscow; Москва́, มะสฺกฺวา) เป็นเมืองหลวงของประเทศรัสเซีย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน การศึกษา และ การเดินทางของประเทศ โดยตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำมัสกวา ซึ่งในตัวเมืองมีประชากรอยู่อาศัยกว่า 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในยุโรป และเมื่อสมัยครั้งที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย กรุงมอสโกก็ยังเป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวียตอีกด้วย ในปี..

ความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534และมอสโก · ผู้นำสหภาพโซเวียตและมอสโก · ดูเพิ่มเติม »

มีฮาอิล กอร์บาชอฟ

มีฮาอิล เซียร์เกเยวิช กอร์บาชอฟ (Михаи́л Серге́евич Горбачёв, Mikhail Sergeyevich Gorbachyov) เป็นอดีตประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต ทั้งยังเคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตอีกด้วย ความพยายามปฏิรูปสหภาพของกอร์บาชอฟได้นำไปสู่การล่มสลายของสหภาพโซเวียต และการยุติสงครามเย็น เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพประจำปี..

ความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534และมีฮาอิล กอร์บาชอฟ · ผู้นำสหภาพโซเวียตและมีฮาอิล กอร์บาชอฟ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการสถานการณ์ฉุกเฉินแห่งรัฐ

คณะกรรมการสถานการณ์ฉุกเฉินแห่งรัฐ (Государственный комитет по чрезвычайному положению, ГКЧП; State Committee on the State of Emergency) หรือ "แก๊งแปด" เป็นกลุ่มข้าราชการระดับสูงแปดคนในรัฐบาลโซเวียต พรรคคอมมิวนิสต์และเคจีบีผู้พยายามรัฐประหารต่อมีฮาอิล กอร์บาชอฟเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2534 ภายในสองวัน ความพยายามนั้นล้มเหลว หมวดหมู่:สหภาพโซเวียต หมวดหมู่:เริ่มต้นในปี พ.ศ. 2534 หมวดหมู่:สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2534.

คณะกรรมการสถานการณ์ฉุกเฉินแห่งรัฐและความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534 · คณะกรรมการสถานการณ์ฉุกเฉินแห่งรัฐและผู้นำสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534และผู้นำสหภาพโซเวียต

ความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534 มี 37 ความสัมพันธ์ขณะที่ ผู้นำสหภาพโซเวียต มี 31 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 7.35% = 5 / (37 + 31)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534และผู้นำสหภาพโซเวียต หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »