โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ดัชนี คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กำเนิดมาจากการพัฒนาการทางการศึกษา อาจารย์ในภาควิชาภาษาต่างประเทศ สังกัด คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และอาจารย์จากสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรม เพื่อการพัฒนาชนบท (ปัจจุบันคือ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล ประกอบกับ มหาวิทยาลัยมหิดล ต้องการที่จะเปิดสาขาทางศิลปศาสตร์ให้กว้างขวางขึ้น.

34 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2546พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พรชัย มาตังคสมบัติพิธีไหว้ครูการรับน้องการวางศิลาฤกษ์มหาวิทยาลัยมหิดลรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยมหิดลศนันธฉัตร ธนพัฒน์พิศาลสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสุริยา รัตนกุลสีขาวสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดลสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐห้องเชียร์จีเอ็มเอ็ม ไท หับคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลนักร้องนักแสดงเดอะวอยซ์10 สิงหาคม17 ธันวาคม18 มิถุนายน21 พฤศจิกายน22 พฤศจิกายน26 กรกฎาคม

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พรชัย มาตังคสมบัติ

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ พรชัย มาตังคสมบัติ เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2483 ที่กรุงเทพมหานคร สมรสกับ ร.ดร.อรพรรณ มาตังคสมบัติ มีธิดา 2 คน คือ ทพญ.อรนาฏ มาตังคสมบัติ และ พญ.พรพรรณ มาตังคสมบัติ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ พรชัย มาตังคสมบัติ หรือ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ดร.พรชัย มาตังคสมบัติ เป็นผู้มีความมุ่งมั่นและให้ความสำคัญต่อการพัฒนาระบบการศึกษาวิทยาศาสตร์ของประเทศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากรสายวิทยาศาสตร์อย่างครบวงจร การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน และกระบวนการสอนวิทยาศาสตร์ระดับประเทศ รวมทั้งการสร้างเครือข่ายภายในประเทศและต่างประเทศทั้งระดับภูมิภาคและทั่วโลก เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ผู้มีวิสัยทัศน์ในการพัฒนามหาวิทยาลัย ระหว่างดำรงตำแหน่งอธิการบดี ได้ทำให้มหาวิทยาลัยมหิดลพัฒนาขึ้นเป็นอย่างมาก จึงได้รับความไว้วางใจให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีเป็นวาระที่สอง ไม่นานมานี้ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ พรชัย มาตังคสมบัติได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์ปาล์มส์อะกาเดมิกส์ ชั้นอัศวิน (Commandeur dans l’Ordre des Palmes Academiques) ในฐานะผู้พัฒนาความร่วมมือทางวิชาการและทางวัฒนธรรมระหว่างประเทศไทยกับประเทศฝรั่งเศส ขณะเดียวกัน มหาวิทยาลัยมหิดลก็ได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณประเภทธุรกิจบริการดีเด่นกลุ่มการศึกษานานาชาติ ปี 2549 (Prime Minister’s Export Award 2006) จากนายกรัฐมนตรี เพื่อประกาศเกียรติคุณมหาวิทยาลัยในฐานะที่ได้รับความนิยมจากชาวต่างประเทศมากที่สุด ในพิธีประกาศเกียรติคุณและมอบรางวัล เมื่อวันจันทร์ที่ 28 สิงหาคม 2549 ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล นอกจากนั้น มหาวิทยาลัยมหิดลในยุคสมัยของท่านได้รับการจัดอันดับจาก สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) แห่งชาติให้เป็นมหาวิทยาลัยดีเลิศอันดับ 1 ของไทยทั้งด้านการเรียนการสอนและการวิจัย เมื่อเปรียบเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ ภายในประเทศทั้งหม.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและพรชัย มาตังคสมบัติ · ดูเพิ่มเติม »

พิธีไหว้ครู

ีไหว้ครูในโรงเรียนที่จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2552 พิธีไหว้ครู เป็นพิธีกรรมที่เป็นประเพณีของไทยที่นิยมปฏิบัติมาแต่สมัยโบราณ แสดงถึงความระลึกถึงบุญคุณของครู การไหว้ครูเป็นการแสดงตนว่าขอเป็นศิษย์ของท่านโดยตรง การไหว้ครูมีใช้ในหลายกิจกรรม เช่น การไหว้ครูในโรงเรียน พิธีกรรมของโรงเรียนในวันครู การไหว้ครูมวย เป็นการไหว้ครูด้วยลีลาของศิลปะมวยไทย เช่นเดียวกับกระบี่กระบอง การไหว้ครู ก่อนการแสดงศิลปะดนตรี เช่น หนังตะลุง และการไหว้ครูในงานประพันธ์ เรียกว่า บทไหว้ครู หรือ อาเศียรวาท (อาเศียรพาท ก็ว่า) เป็นการกล่าวระลึกถึงบุญคุณครู และขอความเป็นมงคล.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและพิธีไหว้ครู · ดูเพิ่มเติม »

การรับน้อง

กิจกรรมรับน้องที่มหาวิทยาลัยยอร์ก ในประเทศแคนาดา รับน้อง หรือ กิจกรรมต้อนรับนักเรียนหรือนักศึกษาใหม่ คือ กิจกรรมที่นิสิตรวมถึงนักศึกษาหรือนักเรียนรุ่นพี่ จัดขึ้นสำหรับ นักศึกษาใหม่ที่เข้ารับการศึกษา เป้าหมายเพื่อทำให้นักศึกษาที่เข้าใหม่ได้ทำความรู้จักกับรุ่นพี่ของสถานศึกษานั้น และเรียนรู้วิธีการประพฤติปฏิบัติตัวในสังคมสถานศึกษานั้น ในหลายสถาบันได้มีการจัดการรับน้องภายในช่วงระหว่างเปิดการศึกษา ตั้งแต่ช่วงก่อนเปิดการศึกษาจนถึงหนึ่งเดือนภายหลังจากวันแรกที่เปิดการศึกษา ปัจจุบันการรับน้องในประเทศไทยถูกกล่าวถึงว่าใช้เป็นส่วนหนึ่งของระบบอุปถัมภ์ในสังคมไท.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและการรับน้อง · ดูเพิ่มเติม »

การวางศิลาฤกษ์

การวางศิลาฤกษ์ เป็นพิธีการตามความเชื่อ ก่อนการเริ่มสร้างสิ่งก่อสร้างสำคัญ เช่น โบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรียญ โรงเรียน เพื่อความเป็นสิริมงคล.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและการวางศิลาฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยมหิดล

150px รายชื่อบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ศนันธฉัตร ธนพัฒน์พิศาล

วุฒิ อนุสิทธิ์, ศนันธฉัตร ธนพัฒน์พิศาล และกันต์ ชุณหวัตร ศนันธฉัตร ธนพัฒน์พิศาล (ชื่อเดิม: ชไมพร ธีระศักดิ์ ชื่อเล่น: ฝน เกิด 20 มิถุนายน พ.ศ. 2537) เป็นนักแสดงชาวไทยเชื้อสายจีน เป็นที่รู้จักในบทการแสดงภาพยนตร์ครั้งแรก ก็อบ จาก ATM เออรัก เออเร่อ และ ดาว "ดุจดาว จำรัสไพศาล"จาก ฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น ฝนเป็นนักแสดงของค่ายในสังกัด GDH หรือ นาดาวบางกอก.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและศนันธฉัตร ธนพัฒน์พิศาล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สุริยา รัตนกุล

ตราจารย์เกียรติคุณ ดร. คุณหญิงสุริยา รัตนกุล ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.คุณหญิง สุริยา รัตนกุล จบการศึกษาระดับปริญญาตรีได้รับ เกียรตินิยมอันดับหนึ่งจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมทั้งได้รับพระราชทานทุนอานันทมหิดล ในการศึกษาต่อระดับปริญญาเอกทางภาษาศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยปารีส(ซอร์บอน) ในระยะต่อมาหลังจากจบปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยปารีสแล้ว อาจารย์ท่านได้สอนที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แล้วย้ายมามหาวิทยาลัยมหิดลก่อตั้งรวมถึงเป็นผู้อำนวยการโครงการศูนย์ศึกษาวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียอาคเนย์ ซึ่งต่อมาพัฒนาโครงการนี้มาเป็นสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท พร้อมทั้งดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการคนแรก 2 วาระติดกัน ระหว่าง..

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและสุริยา รัตนกุล · ดูเพิ่มเติม »

สีขาว

ีขาว คือ โทนสี หรือ การรับรู้ที่เกิดจากแสงไปกระตุ้นเซลล์สีรูปกรวยทั้ง 3 แบบในดวงตาของมนุษย์ในปริมาณที่เกือบจะเท่ากันและมีความสว่างสูงสุดเมื่อเทียบกับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง สีขาว เป็นสีที่เกิดจากการรวมความเข้มของแสงสเปกตรัมที่มองเห็นได้ เป็นสีที่เต็มไปด้วยความสว่าง แต่ไม่มีสีสัน แหล่งกำเนิดของแสงสีขาวมีอยู่หลายแหล่ง เช่น ดวงอาทิตย์ในเวลากลางวัน, หลอดไฟแบบไส้, หลอดไฟแบบฟลูออเรสเซนท์ และหลอด LED สีขาว สีขาวยังมีความพิเศษอยู่อีกอย่างหนึ่ง ก็คือ เป็นสีที่เกิดจากการผสมกันระหว่างแสงสีปฐมภูมิ ซึ่งได้แก่ สีแดง, เขียว และน้ำเงิน (RGB) โดยเรียกกระบวนการนี้ว่า การผสมแสงสี (additive mixing) ซึ่งพบได้ทั่วไปในเทคโนโลยีการแสดงผล แสงสีขาวที่สะท้อนออกมาจากวัตถุจะสามารถมองเห็นได้ก็ต่อเมื่อไม่มีสเปกตรัมของแสงส่วนไหนที่สะท้อนมากกว่าส่วนอื่นๆและวัตถุที่สะท้อนแสงนั้นมีมุมตกกระทบที่เหมาะสมที่จะทำให้เกิดการกระจัดกระจายของแสง (diffusion) ได้.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและสีขาว · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล

ันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตและมหาบัณฑิต รวมจำนวน 5 หลักสูตร และจัดการวิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงและพัฒนาด้านภาษา วัฒนธรรมและกลุ่มชาติพัน.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ

ันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ (national university) หรือที่เรียกว่า มหาวิทยาลัยนอกระบบ คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปีโดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจำเป็นในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และเพื่อประกันคุณภาพการศึกษ.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ห้องเชียร์

ห้องเชียร์คือสถานที่ที่ใช้เพื่อกิจกรรมการรับน้อง เป็นห้องที่มีลักษณะปิด อาจเป็นเป็นห้องเรียนหรือหอประชุม โดยจะมีรุ่นพี่เข้ามาทำกิจกรรมต่างๆ กับรุ่นน้อง กิจกรรมเช่น อบรมน้องใหม่ให้ทราบถึงประวัติมหาวิทยาลัย ประวัติคณะ หรือสาขา รวมทั้งลักษณะการประพฤติปฏิบัติอันดี และยังรวมถึงการสอนร้องเพลงประจำสถาบันด้วย ห้องเชียร์จึงได้ชื่อว่าเป็นสถานที่สำคัญแห่งหนึ่งที่จะทำให้นักศึกษาใหม่ได้ทราบประวัติของคณะและมหาวิทยาลัย และยังเป็นโอกาสทำกิจกรรมร่วมกันกับทั้งรุ่นพี่และเพื่อนๆ ในรุ่นเดียวกันอีกด้วย ลักษณะการจัดกิจกรรมมีความแตกต่างกันไปในแต่ละคณะหรือมหาวิทยาลัย โดยห้องเชียร์นี้เป็นกิจกรรมที่แสดงถึงลักษณะของระบบ SOTUS ระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้องแตกต่างกันไปในแต่ละมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและห้องเชียร์ · ดูเพิ่มเติม »

จีเอ็มเอ็ม ไท หับ

ีเอ็มเอ็ม ไท หับ หรือที่นิยมเรียกตามชื่อย่อว่า จีทีเอช เป็นอดีตบริษัทผู้ผลิตและจำหน่ายภาพยนตร์ไทย ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จีทีเอชเกิดขึ้นหลังจากจีเอ็มเอ็ม พิคเจอร์, ไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ และ ร่วมกันสร้างภาพยนตร์เรื่อง แฟนฉัน เมื่อปี พ.ศ. 2546 และประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูง จึงรวมตัวเป็นบริษัทเดียวกัน ต่อมา ภาพยนตร์ของจีทีเอชได้รับความนิยมชมชอบและทำรายได้ดีแทบทุกเรื่อง เช่น ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณ, ห้าแพร่ง, รถไฟฟ้า มาหานะเธอ, กวน มึน โฮ, ลัดดาแลนด์, ATM เออรัก เออเร่อ, พี่มากพระโขนง, คิดถึงวิทยา, ไอฟาย..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้ เป็นต้น นอกจากภาพยนตร์แล้ว จีทีเอชยังผลิตละคร ซิตคอม และซีรีส์อีกด้วย อาทิ ซิทคอมตระกูลเนื้อคู่, หมวดโอภาส ยอดมือปราบคดีพิศวง, Hormones วัยว้าวุ่น, เพื่อนเฮี้ยน..โรงเรียนหลอน, น้ำตากามเทพ, มาลี เพื่อนรัก..พลังพิสดาร อีกทั้งมีผลงานคอนเสิร์ตและละครเวทีอีกด้วย เช่น Feel Good Music & Movie Concert (ฉลอง 3 ปี จีทีเอช), GTH Day: Play It Forward Concert (ฉลอง 7 ปี จีทีเอช), ละครเวที ลำซิ่งซิงเกอร์, STAR THEQUE GTH 11 ปีแสงคอนเสิร์ต.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและจีเอ็มเอ็ม ไท หับ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถือได้ว่าเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยมากที่สุดของประเทศ และเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการจัดอันดับสูงสุดในสาขาวิทยาศาสตร์ ทั้งด้านการเรียนการสอน และด้านการวิจัย จากการจัด อันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย โดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เมื่อปี พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

นักร้อง

นักร้อง (Singer)อาชีพของคนขายเสียง อาชีพให้บริการความสุขด้วยเสียงเพลงเช่น อคูสติก ป๊อป ร็อค แจ๊ส เบส เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันแนวเพลงต่าง ๆ มีมากขึ้น ตอบสนองความต้องการของผู้ฟังแต่ละกลุ่ม อาชีพนักร้องจึงเป็นอาชีพในฝันของคนยุคใหม่ เนื่องจากอาชีพนักร้องเป็นอาชีพที่สามารถสร้างได้อย่างมหาศาล เป็นผู้มีชื่อเสียงในสังคม และมีผู้คนชื่นชมมาก ลักษณะงานที่เกี่ยวข้องกับอาชีพนักร้อง 1.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและนักร้อง · ดูเพิ่มเติม »

นักแสดง

กเบื้องหลังการถ่ายทำละคร นักแสดงกำลังซ้อมการแสดง นักแสดง คือ บุคคลที่ประกอบอาชีพเป็นผู้แสดง เช่น ศิลปิน, นักรำ, นักเต้น, นักดนตรี ซึ่งแสดง ท่าทาง ร้องกล่าว พากย์ แสดงตามบทเพื่อเผยแพร่ต่อผู้ชม และอื่นอื่น ซึ่งเป็นผู้มีลิขสิทธิ์ตามหลักทั่วไป กล่าวคือ เป็นผู้ที่ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์งานขึ้นมา นักแสดงนั้น ไม่จำกัดว่าจะเป็นบุคคลเพศ, อาชีพ, หรือ อายุเท่าไร แต่จำเป็นต้องมีความสามารถทางด้านการการแสดงออกทางสีหน้า อารมณ์และองค์ประกอบอื่น ๆ ร่วมด้วย โดยมาก คำว่า นักแสดง มักจะใช้เรียกว่า ดารา เสมอไป.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและนักแสดง · ดูเพิ่มเติม »

เดอะวอยซ์

อะวอยซ์ (The Voice) เป็นรายการที่มีต้นแบบจาก The Voice of Holland ประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยจะมีโค้ช 4 คนในแต่ละฤดูกาลที่มีความถนัดประเภทร้องเพลงแตกต่างกัน การคัดเลือกจะไม่เหมือนการประกวดร้องเพลงทั่วๆ ไปเนื่องจากมีหลายรอบการแสดงและรูปแบบที่แตกต่างกันเพื่อให้เกิดความหลากหลาย และเค้นศักยภาพในด้านต่างๆ ออกมาให้มากที่สุด โดยจะมี 5 รอบการแข่งขันที่แตกต่างกันดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและเดอะวอยซ์ · ดูเพิ่มเติม »

10 สิงหาคม

วันที่ 10 สิงหาคม เป็นวันที่ 222 ของปี (วันที่ 223 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 143 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและ10 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 ธันวาคม

วันที่ 17 ธันวาคม เป็นวันที่ 351 ของปี (วันที่ 352 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 14 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและ17 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มิถุนายน

วันที่ 18 มิถุนายน เป็นวันที่ 169 ของปี (วันที่ 170 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 196 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและ18 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

21 พฤศจิกายน

วันที่ 21 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 325 ของปี (วันที่ 326 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 40 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและ21 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

22 พฤศจิกายน

วันที่ 22 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 326 ของปี (วันที่ 327 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 39 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและ22 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

26 กรกฎาคม

วันที่ 26 กรกฎาคม เป็นวันที่ 207 ของปี (วันที่ 208 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 158 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและ26 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สิริวิทยา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »