โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กินทามะและพ.ศ. 2559

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กินทามะและพ.ศ. 2559

กินทามะ vs. พ.ศ. 2559

กินทามะ เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น เขียนโดย ฮิเดะอะกิ โซะระชิ เริ่มลงตีพิมพ์ในนิตยสารโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์ ของสำนักพิมพ์ชูเอฉะ ตั้งแต่วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2546 และลงตีพิมพ์อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ได้รับการจัดพิมพ์รวมเล่มเป็นหนังสือการ์ตูนมาแล้ว 72 เล่ม เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับซากาตะ กินโทกิ อดีตซามูไรที่ทำอาชีพรับจ้างอิสระพร้อมด้วยชิมูระ ชินปาจิและคางุระ เพื่อหาเงินมาเลี้ยงชีพในยุคที่ซามูไรตกต่ำเนื่องจากการรุกรานของมนุษย์ต่างดาว เนื้อเรื่องเป็นการผสมผสานระหว่างแนวย้อนยุคและแนววิทยาศาสตร์ ลักษณะแนวเรื่องเป็นแนวตลกและต่อสู้ ออริจินอลวิดีโอแอนิเมชัน (โอวีเอ) ของการ์ตูนกินทามะ ผลิตโดยบริษัทซันไรส์ ได้รับการฉายในงานจัมป์เฟสต้า 2006 อะนิเมะทัวร์ ในปี พ.ศ. 2548 หลังจากนั้นบริษัทซันไรส์ได้นำการ์ตูนกินทามะมาจัดทำเป็นภาพยนตร์การ์ตูนฉายทางช่องทีวีโตเกียว ตั้งแต่วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2549 ถึงวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2553 รวมจำนวนตอนทั้งสิ้น 201 ตอน และได้มีการออกอากาศภาคต่อของภาพยนตร์การ์ตูนกินทามะ โดยใช้ชื่อว่า กินทามะ' (มีเครื่องหมายอะพอสทรอฟีปรากฏหลังคำว่า กินทามะ) ออกอากาศตั้งแต่วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2554 จนถึงวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2555 และออกอากาศอีกครั้งพร้อมกับออกอากาศตอนเก่าโดยใช้ชื่อว่า กินทามะ ภาคล่วงเวลา ฉายระหว่างวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ถึงวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2556 ในปี พ.ศ. 2558 ได้มีการออกกากาศภาคต่ออีกครั้งโดยใช้ชื่อว่า กินทามะ° ผลิตโดยบันไดนัมโคพิกเจอส์ เรี่มออกอากาศตั้งแต่วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2559 ในญี่ปุ่น กินทามะเป็นการ์ตูนที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูง ติดอันดับใน 10 อันดับแรกของการ์ตูนที่มียอดขายสูงสุด กระแสตอบรับของการ์ตูนกินทามะมีทั้งด้านบวกและด้านลบ ด้านบวกคือความชื่นชอบเนื้อหาที่ตลกขบขันและมีเนื้อเรื่องที่สนุกตื่นเต้น ส่วนกระแสด้านลบคือด้านลายเส้นของการ์ตูน นอกจากหนังสือและภาพยนตร์การ์ตูนแล้ว ปัจจุบัน กินทามะยังออกมาในรูปของสื่ออื่น ได้แก่ ไลท์โนเวล และวิดีโอเกมส์อีกด้วย รวมถึงถูกดัดแปลงเป็นภาพยนตร์จอเงินมาแล้ว 2 ครั้ง ครั้งแรกคือภาพยนตร์ กินทามะ เดอะมูฟวี่ กำเนิดใหม่ดาบเบนิซากุระ ซึ่งได้ออกฉายที่ประเทศญี่ปุ่นในวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2553 ครั้งที่สองคือภาพยนตร์ กินทามะ เดอะมูฟวี่ บทสุดท้าย: กู้กาลเวลาฝ่าวิกฤตพิชิตอนาคต ซึ่งได้ออกฉายที่ประเทศญี่ปุ่นในวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ในประเทศไทย กินทามะได้รับลิขสิทธิ์หนังสือการ์ตูนโดยสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์คอมิกส์ ตีพิมพ์รายสัปดาห์ในนิตยสารการ์ตูนซีคิดส์ เอ๊กซ์เพรส และตีพิมพ์เป็นหนังสือการ์ตูนรวมเล่มมาแล้ว 66 เล่ม ส่วนภาพยนตร์การ์ตูน ได้รับลิขสิทธิ์โดยบริษัท ทีไอจีเอ (ปี 1), บริษัท ไรท์บียอนด์ (ปี 2, 3, 4), และบริษัท โรส มีเดีย แอนด์ เอ็นเตอร์เทนเมนท์ (ปี 5, 6) ภาพยนตร์การ์ตูนกินทามะออกอากาศทางโทรทัศน์ครั้งแรกในประเทศไทยทางช่องช่องทรู สปาร์ก และยังเคยมีการออกอากาศทางการ์ตูนคลับแชนแนลในวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2553, ช่อง 6, ช่อง จีเอ็มเอ็มวัน,ช่อง จีเอ็มเอ็มแชนเนล และช่องแก๊งการ์ตูนแชนแนล สำหรับภาพยนตร์ กินทามะ เดอะมูฟวี่ กำเนิดใหม่ดาบเบนิซากุระ และภาพยนตร์ กินทามะ เดอะมูฟวี่ บทสุดท้าย: กู้กาลเวลาฝ่าวิกฤตพิชิตอนาคต ได้มีการซื้อลิขสิทธิ์เพื่อการวางจำหน่ายประเทศไทยโดยบริษัท โรส มีเดีย แอนด์ เอ็นเตอร์เทนเมนท. ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กินทามะและพ.ศ. 2559

กินทามะและพ.ศ. 2559 มี 16 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2555พ.ศ. 2557ประเทศจีนประเทศไทย1 มิถุนายน17 สิงหาคม2 มกราคม26 กรกฎาคม26 มิถุนายน27 ตุลาคม30 กันยายน4 ตุลาคม6 กรกฎาคม6 ธันวาคม8 ธันวาคม9 พฤศจิกายน

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

กินทามะและพ.ศ. 2555 · พ.ศ. 2555และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

กินทามะและพ.ศ. 2557 · พ.ศ. 2557และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

กินทามะและประเทศจีน · ประเทศจีนและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

กินทามะและประเทศไทย · ประเทศไทยและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

1 มิถุนายนและกินทามะ · 1 มิถุนายนและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

17 สิงหาคม

วันที่ 17 สิงหาคม เป็นวันที่ 229 ของปี (วันที่ 230 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 136 วันในปีนั้น.

17 สิงหาคมและกินทามะ · 17 สิงหาคมและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

2 มกราคม

วันที่ 2 มกราคม เป็นวันที่ 2 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 363 วันในปีนั้น (364 วันในปีอธิกสุรทิน).

2 มกราคมและกินทามะ · 2 มกราคมและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

26 กรกฎาคม

วันที่ 26 กรกฎาคม เป็นวันที่ 207 ของปี (วันที่ 208 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 158 วันในปีนั้น.

26 กรกฎาคมและกินทามะ · 26 กรกฎาคมและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

26 มิถุนายน

วันที่ 26 มิถุนายน เป็นวันที่ 177 ของปี (วันที่ 178 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 188 วันในปีนั้น.

26 มิถุนายนและกินทามะ · 26 มิถุนายนและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

27 ตุลาคม

วันที่ 27 ตุลาคม เป็นวันที่ 300 ของปี (วันที่ 301 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 65 วันในปีนั้น.

27 ตุลาคมและกินทามะ · 27 ตุลาคมและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

30 กันยายน

วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.

30 กันยายนและกินทามะ · 30 กันยายนและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

4 ตุลาคม

วันที่ 4 ตุลาคม เป็นวันที่ 277 ของปี (วันที่ 278 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 88 วันในปีนั้น.

4 ตุลาคมและกินทามะ · 4 ตุลาคมและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

6 กรกฎาคม

วันที่ 6 กรกฎาคม เป็นวันที่ 187 ของปี (วันที่ 188 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 178 วันในปีนั้น.

6 กรกฎาคมและกินทามะ · 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

6 ธันวาคม

วันที่ 6 ธันวาคม เป็นวันที่ 340 ของปี (วันที่ 341 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 25 วันในปีนั้น.

6 ธันวาคมและกินทามะ · 6 ธันวาคมและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

8 ธันวาคม

วันที่ 8 ธันวาคม เป็นวันที่ 342 ของปี (วันที่ 343 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 23 วันในปีนั้น.

8 ธันวาคมและกินทามะ · 8 ธันวาคมและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤศจิกายน

วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.

9 พฤศจิกายนและกินทามะ · 9 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กินทามะและพ.ศ. 2559

กินทามะ มี 140 ความสัมพันธ์ขณะที่ พ.ศ. 2559 มี 320 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 16, ดัชนี Jaccard คือ 3.48% = 16 / (140 + 320)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กินทามะและพ.ศ. 2559 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »