โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การประมงและเขื่อนปากมูล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การประมงและเขื่อนปากมูล

การประมง vs. เขื่อนปากมูล

การจับปลาของคนไทยที่แม่น้ำน่าน การประมง หมายถึงการจัดการของมนุษย์ด้านการจับปลาหรือสัตว์น้ำอื่นๆ การดูแลรักษาปลาสวยงามและการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ประมงเช่น น้ำมันปลา กิจกรรมการทำประมงจัดแบ่งได้ทั้งตามชนิดสัตว์น้ำและตามเขตเศรษฐกิจ เช่น การทำประมงปลาแซลมอนในอลาสก้า การทำประมงปลาคอดในเกาะลอโฟเทน ประเทศนอร์เวย์หรือการทำประมงปลาทูน่าในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก และยังรวมถึงการเพาะปลูกในน้ำ (Aquaculture) ซึ่งหมายถึงการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์บางชนิดในน้ำ เพื่อใช้เป็นอาหารคนหรือสัตว์ เช่นเดียวกับเกษตรกรรมที่ทำบนพื้นดิน การทำฟาร์มในน้ำ เช่นฟาร์มปลา ฟาร์มกุ้ง ฟาร์มหอย ฟาร์มหอยมุก การเพาะปลูกในน้ำในสภาพแวดล้อมที่ควบคุมไว้ การเพาะปลูกในน้ำจืด น้ำกร่อย ในทะเล การเพาะปลูกสาหร่าย ต่อมาได้มีการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการประมงเป็นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสาขาหนึ่งเรียกว่าวิทยาศาสตร์การประมง มีพื้นฐานจากวิชาชีววิทยา นิเวศวิทยา สมุทรศาสตร์ เศรษฐศาสตร์และการจัดการ มีการจัดศึกษาด้านการประมงในแง่มุมต่างๆ ทั้งระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก และการประมงมีบทบาทสำคัญในเชิงธุรกิจและอุตสาหกรรมของประเทศ จึงมีคำอื่นๆที่เกี่ยวข้องเช่น “ธุรกิจการประมง” อุตสาหกรรมประมง” เกิดขึ้น ซึ้นเราสามารถเรียนรู้ได้ต่อนี้. ื่อนปากมูล เป็นเขื่อนในจังหวัดอุบลราชธานีกั้นแม่น้ำมูล อยู่ห่างจากลำน้ำมูลและน้ำโขงไปทางตะวันตกประมาณ 5.5 กิโลเมตร ก่อสร้างโดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โดยได้รับการสนับสนุนจากธนาคารโลก โดยมีค่าก่อสร้างทั้งสิ้น 240 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2537 ในเมื่อ 2510 สำนักงานพลังงานแห่งชาติ หรือปัจจุบันคือ กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน (พพ.) มีดำริที่จะพัฒนาแหล่งน้ำแหล่งนี้ โดยได้รับความร่วมจากรัฐบาลฝรั่งเศส ได้ทำการสำรวจและศึกษาโครงการพัฒนาลุ่มแม่น้ำมูลตอนล่าง และกำหนดที่ตั้งตัวเขื่อนไว้ที่บริเวณแก่งตะนะ ซึ่งห่างจากปากแม่น้ำขึ้นมา 4 กิโลเมตร เมื่อปี 2522 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ก็ได้รับโครงการนี้ไปดำเนินการต่อ และได้ศึกษาเพิ่มเติมก็รู้ว่าประโยชน์ที่จะได้รับนั้นคุ้มค่า แต่ผลดระทบที่สำคัญของโครงการนี้คือ การโยกย้ายที่อยู่ของประชากรในแถบนั้นถึง 4,000 หลังคาเรือน ทำให้ต้องชะลอโครงการไว้ก่อน ในปี 2528 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้มีการทบทวนโครงการอีกครั้ง โดยย้ายที่ตั้งตัวเขื่อนมาทางเหนือน้ำประมาณ 1.5 กิโลเมตร และลดระดับการกักเก็บน้ำลง เพื่อให้ประชากรได้รับผลกระทบน้อยที่สุด และผลสรุปในปี 2532 มีประชากรได้รับผลกระทบรวม 903 ราย เป็นผลกระทบต่ออาคารบ้านเรือนรวม 248 หลังคาเรือน ซึ่งลดลงจากปี 2522 เป็นอย่างมาก ในภาคอีสานนั้นต้องรับไฟจากส่วนกลาง และต้องซื้อจากการไฟฟ้าของลาวด้วย ทำให้ระบบของภาคอีสานไม่มั่งคง และฟุ่มเฟือย จึงจำเป็นต้องเร่งสร้างแหล่งผลิตไฟฟ้าในภาคอีสานขึ้น เพื่อสร้างความมั่นคงให้กับโรงไฟฟ้าของภาค โครงการนี้จัดอยู่ในแผนการพัฒนาไฟฟ้าของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 6 (2530-2340) ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติให้ก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนปากมูลที่จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2533 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้เริ่มดำเนินการก่อสร้างในเดือนมิถุนายน 2533 และเสร็จสมบูรณ์ในเดือนพฤศจิกายน 2537 ตามกำหนดการที่ตั้งไว้.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การประมงและเขื่อนปากมูล

การประมงและเขื่อนปากมูล มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การประมงและเขื่อนปากมูล

การประมง มี 24 ความสัมพันธ์ขณะที่ เขื่อนปากมูล มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (24 + 8)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การประมงและเขื่อนปากมูล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »