โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กวยจั๊บ

ดัชนี กวยจั๊บ

กวยจั๊บน้ำใส กวยจั๊บ เป็นก๋วยเตี๋ยวชนิดหนึ่งที่ค่อนข้างแตกต่างจากก๋วยเตี๋ยวชนิดอื่นมากพอสมควร เพราะต้องใช้เส้นก๋วยเตี๋ยวชนิดหนึ่งที่เรียกว่าเส้นกวยจั๊บสดปรุง แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ กวยจั๊บน้ำข้น และ กวยจั๊บน้ำใส นอกจากนี้แล้ว ยังมีเส้นกวยจั๊บประเภทหนึ่ง เรียกว่า กวยจั๊บเซี่ยงไฮ้ มีลักษณะเส้นใส ทำมาจากถั่วเหลือง นิยมใช้ทำกวยจั๊บน้ำใส หรือนำไปปรุงเป็นอาหารอย่างอื่นได้ เช่น ยำ หรือ ผัดขี้เมา เป็นต้น กวยจั๊บ เป็นอาหารดั้งเดิมของแต้จิ๋ว ในภาษาจีนแต้จิ๋วมีสองคำที่ออกเสียงเหมือนกันและใช้แทนกันได้คือ แปลว่า ซุปเส้นข้าว หรืออีกนัยหนึ่งว่า แปลว่า เส้นข้าวผสม.

9 ความสัมพันธ์: พะโล้พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542ก๋วยเตี๋ยวอาหารจีนผัดขี้เมาถั่วเหลืองคมชัดลึก (หนังสือพิมพ์)เฝอเต้าหู้

พะโล้

ล้ เป็นการปรุงอาหารแบบจีนที่แพร่หลายไปทั่วประเทศจีน และได้แพร่หลายเข้ามาในประเทศไทยด้วย พะโล้ในภาษาไทยเป็นคำยืมจากภาษาจีนฮกเกี้ยน ผะโล่ว/ผะโล้ว (拍滷) คือขั้นตอนหนึ่งในการทำเนื้อพะโล้ ซึ่งเป็นการเคี่ยวน้ำตาลทรายแดงให้ละลายในกระทะ ใส่เกลือ ซีอิ๊ว เนื้อสัตว์หรือเครื่องปรุงอื่นๆลงไป เคล้าให้ทั่ว พอสีสวยใส่เครื่องเทศ ใส่น้ำ แล้วเคี่ยวจนสุก ถ้าเป็นเป็ดหรือห่านจะเพิ่มตะไคร้และข่าด้วยเพื่อดับกลิ่นสาบ ลวกด้วยน้ำพะโล้ให้สีสวยแล้วจึงนำลงต้มในน้ำพะโล้ต่อ คำว่าโล่วในภาษาจีนแต้จิ๋วตรงกับหลู่ในภาษาจีนกลางซึ่งหมายถึงน้ำแกงสีเข้ม ใส่เครื่องเทศ เกลือ ซีอิ๊ว ใช้ปรุงเนื้อสัตว์ให้มีสีออกน้ำตาลอมแดงอดุลย์ รัตนมั่นเกษม.

ใหม่!!: กวยจั๊บและพะโล้ · ดูเพิ่มเติม »

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542

หน้าปกพจนานุกรม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: กวยจั๊บและพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

ก๋วยเตี๋ยว

ก๋วยเตี๋ยว เป็นหนึ่งในอาหารประเภทบะหมี่ (noodle) ของจีนที่ทำจากแป้งข้าวเจ้าโดยมากจะลวกให้สุกในน้ำเดือด สะเด็ดน้ำ แล้วนำมาใส่เครื่องปรุงชนิดต่างๆ นิยมรับประทานทั้งแบบน้ำและแบบแห้ง นิยมใช้ตะเกียบเป็นเครื่องมือช่วยรับประทาน คำว่า "ก๋วยเตี๋ยว" อาจจะมาจากภาษาจีนฮกเกี้ยนหรือภาษาจีนแต้จิ๋วคำว่า 粿條/粿条 (guǒtiáo คำหลังเขียนได้สองแบบ) แปลว่า เส้นข้าวสุก ภาษาจีนแต้จิ๋วได้รับอิทธิพลมาจากภาษาจีนฮกเกี้ยนอย่างมาก จึงทำให้ไม่ทราบสำเนียงที่มาที่แน่ชัด ส่วนในภาษาจีนกลางเรียกอีกอย่างว่า 粉條 (fěntiáo) หรือ 麵條/面條 (miàntiáo) ข้าวซอยก็นับเป็นเส้นก๋วยเตี๋ยวชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นอาหารพื้นบ้านทางภาคเหนือของไท.

ใหม่!!: กวยจั๊บและก๋วยเตี๋ยว · ดูเพิ่มเติม »

อาหารจีน

ติ่มซำ อาหารจีนที่รู้จักกันดี อาหารจีน หมายถึงอาหารที่ประกอบขึ้นตามวัฒนธรรมของชาวจีน ซึ่งรวมทั้งจีนแผ่นดินใหญ่ ไต้หวันและ ฮ่องกง ซึ่งมีหลากหลายชนิดตามแต่ละท้องถิ่น โดยทั่วไปนิยมรับประทานอาหารจานผักและธัญพืชเป็นหลัก นอกจากในราชสำนักที่จะมีอาหารประเภทเนื้อ อาหารที่รู้จักกัน เช่น ก๋วยเตี๋ยว ติ่มซำ หูฉลาม กระเพาะปลา วัฒนธรรมการกินเป็นการกินร่วมกันโดยอุปกรณ์การกินหลัก คือตะเกียบ อาหารจีนจะมีอุปกรณ์การทำหลักๆเพียงสี่อย่างคือ มีด เขียง กะทะก้นกลม และตะหลิว สมัยชุนชิว-จั้นกั๋ว ได้เริ่มมีการแบ่งอาหารจีนเป็น 2 ตระกูลใหญ่ คือ อาหารเมืองเหนือ และอาหารเมืองใต้ กระทั่งต้นราชวงศ์ชิง ได้มีการแบ่งอาหารเป็น 4 ตระกูลใหญ่ ได้แก.

ใหม่!!: กวยจั๊บและอาหารจีน · ดูเพิ่มเติม »

ผัดขี้เมา

้นใหญ่ผัดขี้เมา ผัดขี้เมา เป็นอาหารที่ได้รับความนิยมเป็นจำนวนมากในประเทศไทย โดยอาหารชนิดนี้เกิดขึ้นจากการผสมผสานอาหารแบบไทยเข้ากับอาหารของชาวจีนที่ย้ายถิ่นฐานเข้ามาอยู่ในประเทศไทย (หรือชาวไทยเชื้อสายจีน) คำว่า ขี้เมา สันนิษฐานว่า เกิดจากผู้ที่ชอบดื่มสุรามักจะหากับแกล้มจากของเหลือที่มีในตู้เย็น พบผักอะไรก็เติมลงไปได้ ไม่ใคร่จะมีสูตรแน่นอนตายตัว แต่ทำออกมาแล้วอร่อย จึงเป็นที่นิยมต่อ ๆ กันมา ผัดขี้เมาเป็นผัดก๋วยเตี๋ยวกับซอสถั่วเหลือง น้ำปลา กระเทียม เนื้อชนิดต่าง ๆ และในบางครั้งอาจจะใส่เต้าหู้ นอกจากนี้ยังใส่พริก ถั่ว และใบกะเพราหรือใบโหระพา ผัดขี้เมาได้มีวิวัฒนาการเปลี่ยนนำมาทำกับวัตถุดิบชนิดใหม่ ๆ ในบางครั้งผู้ปรุงอาจจะใช้สัตว์ทะเลและพริกไทยอ่อน นอกจากนี้ ยังมีการผัดขี้เมาโดยไม่ใส่เส้น, ผัดขี้เมาโดยใส่ข้าว และการผัดโดยใส่เส้นสปาเกตตี ซึ่งเป็นเส้นแบบอิตาลี ผัดขี้เมาจึงเป็นอาหารเผ็ดต่างจากเมื่อครั้งชาวจีนเพิ่งเข้ามาพำนักในประเทศไทยและลาว ทั้งนี้ ผัดขี้เมาจะมีความต่างจากผัดกะเพรา ผัดฉ่า ผัดเผ็ด และผัดผักรวมมิตรอยู.

ใหม่!!: กวยจั๊บและผัดขี้เมา · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วเหลือง

ั่วเหลือง เป็นพืชเศรษฐกิจที่เหมาะสำหรับปลูกสลับกับการปลูกข้าว ได้มีรายงานการปลูกถั่วเหลืองในประเทศจีนเมื่อเกือบ 5,000 ปีมาแล้ว แต่ก็ยังไม่แน่ชัดว่าส่วนใดของประเทศจีนเป็นถิ่นกำเนิดที่สันนิษฐานและยอมรับกันโดยทั่วไปคือบริเวณหุบเขาแม่น้ำเหลือง (ประมาณเส้นรุ้งที่ 35 องศาเหนือ) เพราะว่าอารยธรรมของจีนได้ถือกำเนิดที่นั่น และประกอบกับมีการจารึกครั้งแรกเกี่ยวกับถั่วเหลือง เมื่อ 2295 ปีก่อนพุทธกาล ที่หุบเขาแม่น้ำเหลือง จากนั้นถั่วเหลืองได้แพร่กระจายสู่ประเทศเกาหลีและญี่ปุ่น เมื่อ 200 ปีก่อนคริสตกาล แล้วเข้าสู่ยุโรปในช่วงหลัง..

ใหม่!!: กวยจั๊บและถั่วเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก (หนังสือพิมพ์)

มชัดลึก เป็นหนังสือพิมพ์รายวัน ฉบับภาษาไทย ในเครือเนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป เสนอข่าวทั่วไป โดยเริ่มออกฉบับปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2544 มีจำนวนพิมพ์วันละ 900,000 ฉบับในปี พ.ศ. 2559.

ใหม่!!: กวยจั๊บและคมชัดลึก (หนังสือพิมพ์) · ดูเพิ่มเติม »

เฝอ

ฝอเนื้อไก่ เฝอ (phở, ออกเสียง: เฝ่อเอ๋อ เสียงเอกท้ายจัตวา) เป็นอาหารเวียดนามชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายก๋วยเตี๋ยวของไทย แต่ต่างกันที่เส้น น้ำซุป และเครื่องเคียง และบางครั้งก็เรียกเป็น ก๋วยเตี๋ยว/กวยจั๊บ-เวียดนาม/ญวน เฝอเป็นอาหารที่ประกอบด้วยเส้นก๋วยเตี๋ยวที่เรียกว่า บั๊ญเฝอ (bánh phở) คล้ายเส้นเล็กแต่กว้างกว่า หรือเป็นเส้นกลมสีขาวขนาดใหญ่กว่าขนมจีนเล็กน้อย ในน้ำซุปที่เคี่ยวจากเนื้อวัว (หรือเนื้อไก่) กระดูก หางวัว และเครื่องเทศบางชนิด เช่น อบเชยไซ่ง่อน เมล็ดดอกจัน ขิง กานพลู กระวานดำ เป็นต้น และตกแต่งด้วยหัวหอม ต้นหอม ผักชี ผักชีฝรั่ง สะระแหน่ โหระพา มะนาวหรือเลมอน ถั่วงอก และพริกหยวก ซึ่งสี่อย่างหลังมักจะแยกไว้เป็นอีกจานต่างหาก เพื่อให้ผู้รับประทานเติมได้ตามชอบ สำหรับซอสบางอย่างที่เป็นที่นิยมได้แก่ ซอสฮอยซิน น้ำปลา และซอสพริกศรีร.

ใหม่!!: กวยจั๊บและเฝอ · ดูเพิ่มเติม »

เต้าหู้

ต้าหู้ (''Kinugoshi tōfu'') เต้าหู้ กำเนิดมากว่า 2,000 ปีในจีนแผ่นดินใหญ่ คนจีนบางกลุ่มถือว่าเต้าหู้เป็นอาหารที่มีคุณค่าสูงที่อยู่ในความธรรมดาสามัญ คนไทยเรียกเต้าหู้เพี้ยนมาจากภาษาจีนว่า 豆腐 อ่านว่า โตวฟู คนฮกเกี้ยนเรียกว่า ต๋าวหู คนญี่ปุ่นเรียกกันว่า โทฟุ (tofu) คนอังกฤษเรียก bean curd หรือบางครั้งก็เรียกทับศัพท์ว่า tofu เช่นกัน ส่วนชาวฝรั่งเศสเรียกว่า fromage de soja (ชีสถั่วเหลือง).

ใหม่!!: กวยจั๊บและเต้าหู้ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ก๋วยจั๊บ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »