โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

ดัชนี กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

กรุงเทพมหานคร (ย่อ: กทม.; Bangkok Metropolitan Administration, BMA) เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ซึ่งทำหน้าที่บริหารเขตการปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร ตามกฎหมายปัจจุบันคือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528.

155 ความสัมพันธ์: ช้างเอราวัณพ.ศ. 2457พ.ศ. 2476พ.ศ. 2477พ.ศ. 2479พ.ศ. 2480พ.ศ. 2481พ.ศ. 2482พ.ศ. 2484พ.ศ. 2487พ.ศ. 2495พ.ศ. 2496พ.ศ. 2497พ.ศ. 2498พ.ศ. 2500พ.ศ. 2504พ.ศ. 2509พ.ศ. 2514พ.ศ. 2515พ.ศ. 2516พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2520พ.ศ. 2522พ.ศ. 2523พ.ศ. 2532พรรคกิจสังคมพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชกฤษฎีกาพระอินทร์พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทกฎหมายกรมศิลปากรกรมโยธาธิการและผังเมืองกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)กระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)กรุงเทพกรุงเทพมหานครการออกเสียงประชามติการประปานครหลวงการเลือกตั้งมกราคมมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชรัฐบาลไทยรัฐมนตรีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไทย...รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519ราชกิจจานุเบกษารายชื่อเขตของกรุงเทพมหานครรายนามนายกรัฐมนตรีไทยรถโดยสารประจำทางวชิรพยาบาลวัดประยุรวงศาวาสวรวิหารศาสตราจารย์สภากรุงเทพมหานครสภาผู้แทนราษฎรไทยสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สวนลุมพินีสวนสัตว์ดุสิตสำนักพระราชวังสำนักงานตำรวจแห่งชาติสำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)อำเภออำเภอพระประแดงอำเภอธัญบุรีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษองค์การสวนสัตว์ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจอมพลจังหวัดจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดธนบุรีจังหวัดปทุมธานีจังหวัดนนทบุรีจตุสดมภ์ถวิล ไพรสณฑ์ถนอม กิตติขจรถนนกรุงเกษมถนนลาดหญ้าถนนดินสอทันตแพทยศาสตร์ควง อภัยวงศ์คุณหญิงคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชคณะรัฐมนตรีคณะรัฐมนตรีไทยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 10คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 41คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชงาตราประจำจังหวัดของไทยตะขอตำบล (ประเทศไทย)ประเทศไทยนายกรัฐมนตรีไทยนายกเทศมนตรีนิติบุคคลแม่น้ำเจ้าพระยาแขวงแปลก พิบูลสงครามโรงพยาบาลกลางเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เกษม สุวรรณกุลเมืองหลวงเว็บไซต์เสาชิงช้าเจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)เจ้าจอมพิศว์ ในรัชกาลที่ 5เทศบาลเขตพระนครเขตการปกครองของประเทศไทยเขตมีนบุรีเขตดินแดงเขตคลองสาน1 กรกฎาคม1 ตุลาคม1 เมษายน11 มีนาคม13 ธันวาคม14 กุมภาพันธ์16 พฤศจิกายน17 พฤศจิกายน17 กรกฎาคม18 มีนาคม19 มิถุนายน2 กันยายน2 มีนาคม20 เมษายน21 ธันวาคม21 เมษายน23 เมษายน24 กรกฎาคม24 เมษายน26 กุมภาพันธ์27 พฤษภาคม27 กุมภาพันธ์29 พฤศจิกายน3 กุมภาพันธ์31 พฤษภาคม5 กุมภาพันธ์6 ตุลาคม8 พฤศจิกายน8 สิงหาคม9 กันยายน9 ธันวาคม ขยายดัชนี (105 มากกว่า) »

ช้างเอราวัณ

ระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ (จิตรกรรมลายรดน้ำ วัดสุทัศนเทพวราราม) ช้างเอราวัณ (Erawan: Airavata) ในเรื่องรามายณะ และ ความเชื่อของศาสนาฮินดู กล่าวถึงพระอินทร์มีร่างสีเขียว มีพาหนะเป็นช้าง 3 เชือก เชือกหนึ่งพระศิวะเป็นผู้ประทานให้ชื่อว่า เอราวัณ เชือกหนึ่งพระพรหมป็นผู้ประทานให้ชื่อว่า คีรีเมขล์ไตรดายุค และอีกเชือกหนึ่งพระวิษณุเป็นผู้ ประทานให้ชื่อว่า เอกทันต์ ช้างเอราวัณเป็นช้างที่มีพละกำลังมากที่สุดในหมู่ ช้างทั้ง 3 เชือก และเป็นที่โปรดปรานมากที่สุด ของพระอินทร์ เชื่อกันว่าช้างเชือกนี้เป็นเทพบุตรองค์หนึ่ง เมื่อพระอินทร์ต้องการจะเสด็จไปไหน เอราวัณเทพบุตร ก็จะแปลงกายเป็นช้างเผือก 33 เศียร แต่ละเศียรมีงา 7 งา งาแต่ละงายาวถึง 4 ล้านวา งาแต่ละงามีสระบัว 7 สระ แต่ละสระมีดอกบัว 7 ดอก แต่ละดอกมีกลีบ 7 กลีบ มี 7 เกสร แต่ละเกสรมีปราสาทอยู่ 7 หลัง ปราสาทแต่ละหลังมี 7 ชั้น แต่ละชั้นมี 7 ห้อง แต่ละห้องมี 7 บัลลังก์ แต่ละบัลลังก์มีเทพธิดาสถิต 7 องค์ เทพธิดาแต่ละองค์มีบริวาร องค์ละ 7 นาง เทพธิดาบริวารแต่ ละนางมีนางทาสีนางละ 7 ทาสี รวมทั้งนางเทพอัปสรทั้งหมดประ มาณ 190,248,432 นาง เทพธิดา บริวารรวมกันทั้งหมดประมาณ 13,331,669,031 นาง เศียรทั้ง 33 ของช้างเอราวัณมีอุเปนทเทพยดา สถิตเศียรละ 1 องค์ โดยปกติศิลปินไทยมักจะทำช้าง เอราวัณ เป็นช้าง 3 เศียร.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และช้างเอราวัณ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2457 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2477 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2479 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2480 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2496 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2497 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคกิจสังคม

รรคกิจสังคม (Social Action Party) ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 โดย หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช โดยให้ชื่อว่า "กิจสังคม" โดยแปลตรงตัวจากภาษาอังกฤษ โดยนำชื่อพรรคมาจากพรรคการเมืองนี้ในประเทศอังกฤษ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 27,413 คน และมีสาขาพรรคจำนวน 4 สาขา หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ผู้ก่อตั้งพรรค และหัวหน้าพรรคคนแรกให้เหตุผลว.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพรรคกิจสังคม · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระราชกฤษฎีกา

ระราชกฤษฎีกา คือ บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนด เพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี มีศักดิ์ต่ำกว่ารัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ ประมวลกฎหมาย และพระราชกำหน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพระราชกฤษฎีกา · ดูเพิ่มเติม »

พระอินทร์

http://www.school.net.th/library/create-web/10000/literature/10000-5627.html | สถานบำบวงหลัก.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพระอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

ระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นพระที่นั่งในหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ภายในพระบรมมหาราชวัง โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมาย

กฎหมาย เป็นระบบของกฎและแนวทางปฏิบัติซึ่งบังคับใช้ผ่านสถาบันทางสังคมเพื่อควบคุมพฤติกรรม ในทุกที่ที่เป็นไปได้ กฎหมายก่อร่างการเมือง เศรษฐศาสตร์และสังคมในหลายวิถีทาง และใช้เป็นสื่อกลางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทางสังคม กฎหมายสัญญาวางระเบียบทุกอย่างตั้งแต่การซื้อตั๋วรถโดยสารประจำทางถึงการซื้อขายบนตลาดตราสารอนุพันธ์ กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินนิยามสิทธิและหนี้ซึ่งเกี่ยวข้องกับการโอนและกรรมสิทธิ์ของสังหาชิดมทรัพย์ส่วนตัวและอสังหาริมทรัพย์ กฎหมายทรัสต์ (Trust law) ใช้กับสินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อการลงทุนและความมั่นคงทางการเงิน ขณะที่กฎหมายละเมิด (tort) อนุญาตให้เรียกร้องให้มีการจ่ายค่าสินไหมทดแทนหากสิทธิหรือทรัพย์สินของบุคคลได้รับความเสียหาย หากความเสียหายนั้นถูกประกาศว่า มิชอบด้วยกฎหมายในบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎหมายอาญาให้วิธีการซึ่งรัฐสามารถดำเนินคดีกับผู้กระทำผิดได้ กฎหมายรัฐธรรมนูญกำหนดกรอบสำหรับการบัญญัติกฎหมาย การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และการเลือกตั้งผู้แทนทางการเมือง กฎหมายปกครองใช้เพื่อทบทวนการวินิจฉัยของหน่วยงานภาครัฐ ขณะที่กฎหมายระหว่างประเทศควบคุมกิจการระหว่างรัฐเอกราชในกิจกรรมตั้งแต่การค้าไปจนถึงระเบียบทางสิ่งแวดล้อมหรือการปฏิบัติทางทหาร นักปรัชญากรีก อริสโตเติล เขียนไว้เมื่อ 350 ปีก่อนคริสตกาลว่า "นิติธรรมดีกว่าการปกครองของปัจเจกบุคคลใด ๆ" ระบบกฎหมายกล่าวถึงสิทธิและความรับผิดชอบในหลายวิถีทาง ความแตกต่างทั่วไปสามารถตัดสินได้ระหว่างเขตอำนาจซีวิลลอว์ ซึ่งประมวลกฎหมายของตน และระบบคอมมอนลอว์ ที่ซึ่งผู้พิพากษาบัญญัติกฎหมายนั้นไม่ถูกรวบรวม ในบางประเทศ ศาสนาเป็นที่มาของกฎหมาย กฎหมายเป็นบ่อเกิดอันมีคุณค่าของการสอบสวนอย่างคงแก่เรียน ไปยังประวัติศาสตร์กฎหมาย ปรัชญา การวิเคราะห์เศรษฐกิจหรือสังคมวิทยา กฎหมายยังยกประเด็นที่สำคัญและซับซ้อนเกี่ยวข้องกับความเสมอภาค ความเป็นธรรมและความยุติธรรม ผู้ประพันธ์ อานาตอล ฟร็องส์ กล่าวใน..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และกฎหมาย · ดูเพิ่มเติม »

กรมศิลปากร

กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีภารกิจคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาต.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และกรมศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

กรมโยธาธิการและผังเมือง

กรมโยธาธิการและผังเมือง (Department of Public Works and Town & Country Planning) เป็นหน่วยงานราชการสังกัดในกระทรวงมหาดไทย ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 จากการรวมกรมโยธาธิการ และกรมการผังเมือง กรมโยธาธิการและผังเมือง มีภารกิจในด้านการผังเมือง การโยธาธิการ การออกแบบก่อสร้างและควบคุมการก่อสร้างอาคาร ดำเนินการและสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาเมือง พื้นที่ และชนบท กำหนดและกำกับดูแลนโยบายการใช้ประโยชน์ที่ดิน การตั้งถิ่นฐานและโครงสร้างพื้นฐาน รวมทั้งการกำหนดคุณภาพ และมาตรฐานการก่อสร้าง ด้านสถาปัตยกรรม วิศวกรรม และการผังเมือง เพื่อให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี เกิดมาตรฐานความปลอดภัย มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย และจัดการสิ่งปลูกสร้างตามระบบการผังเมืองที่ดี.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และกรมโยธาธิการและผังเมือง · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)

กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Public Health) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพอนามัย การป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคภัย การฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชน และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขปัจจุบันตั้งอยู่ที่ ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และกระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงอุตสาหกรรม (Ministry of Industry) เป็นส่วนราชการของรัฐบาลไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรม การพัฒนาผู้ประกอบการ และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงอุตสาหกรรม หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และกระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพ

กรุงเทพ อาจหมายถึง; ดินแดนและการปกครอง.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การออกเสียงประชามติ

การออกเสียงประชามติ (referendum) คือ การนำร่างกฎหมาย ร่างรัฐธรรมนูญ และนโยบายที่สำคัญของประเทศ ไปผ่านการตัดสินเพื่อแสดงความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบโดยประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย นับเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจต่อแนวทางการปกครองประเทศ และถือเป็นประชาธิปไตยทางตรงแบบหนึ่งซึ่งประชาชนมีส่วนมีเสียงโดยตรงในการบริหารราชการแผ่นดิน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และการออกเสียงประชามติ · ดูเพิ่มเติม »

การประปานครหลวง

การประปานครหลวง เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่ผลิตและให้บริการเกี่ยวกับน้ำประปาในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลขององค์การอนามัยโลก.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และการประปานครหลวง · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้ง

การเลือกตั้งโดยการหย่อนบัตร การเลือกตั้ง (election) เป็นกระบวนการวินิจฉัยสั่งการอย่างเป็นทางการซึ่งประชาชนเลือกปัจเจกบุคคลเพื่อดำรงตำแหน่งทางการเมือง การเลือกตั้งเป็นกลไกปกติที่ใช้ในระบอบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 Encyclpoedia Britanica Online.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และการเลือกตั้ง · ดูเพิ่มเติม »

มกราคม

มกราคม เป็นเดือนแรกของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนมกราคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีมกร และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกุมภ์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนมกราคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู และไปอยู่ในกลุ่มดาวแพะทะเลในปลายเดือน เดือนมกราคมในภาษาอังกฤษ January มาจากเทพเจ้าโรมันนามว่า ยานุส (Janus) ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งประตูทางผ่าน การเริ่มต้น และการสิ้นสุด ปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคมมีเดือนเพียง 10 เดือน (304 วัน) โดยไม่มีเดือนในช่วงฤดูหนาว ต่อมาได้มีการเพิ่มเดือน 2 เดือน คือ เดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ ทำให้ 1 ปีมี 12 เดือน ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนมกราคมในปี..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และมกราคม · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช (Navamindradhiraj University) เดิมชื่อ มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นวันที่ 13 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลไทย

รัฐบาลไทย เป็นรัฐบาลของราชอาณาจักรไทยซึ่งเป็นรัฐบาลเดี่ยว รัฐบาลไทยมีบทบาทขึ้นอย่างชัดเจนในสมัยรัฐชาติอันสถานปนาขึ้นครั้งสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวภายหลังทรงผนวกดินแดนและอาณาจักรภายใต้ปกครองของอาณาจักรสยามขึ้นเป็นสยามประเทศ รัฐบาลไทยผ่านการเปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตย ปัจจุบันรัฐบาลไทยแบ่งแยกอำนาจออกเป็น 3 ฝ่าย คือ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ ในอดีตก่อนปี 2557 รัฐบาลพลเรือนของไทยมีรูปแบบตามระบบเวสต์มินสเตอร์ของสหราชอาณาจักร อย่างไรก็ดี ตั้งแต่วันที่ 22 พฤษภาคม 2557 ประเทศไทยตกอยู่ภายใต้การปกครองของคณะทหาร เรียกว.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และรัฐบาลไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรี

รัฐมนตรี คือผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบร่วมกับคณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการและรับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง ในอดีต รัฐมนตรี เป็นที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิร.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2435 ในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยในช่วงนั้น เรียกตำแหน่งนี้ว่า เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย จนกระทั่งหลังจากเหตุการณ์ การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 จึงได้เปลื่ยนชื่อตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีฐานะเป็นประธานกรรมการและผู้บัญชาการ กองอาสารักษาดินแดน โดยตำแหน่ง และมียศเป็นนายกองใหญ่ ซึ่งเป็นชั้นยศสูงสุดของกองอาสารักษาดินแดน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไท.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม หรือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 ประกาศและบังคับใช้เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475 และได้รับการยกเลิกอย่าง “สันติ” เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2489 เนื่องจากการประกาศและบังคับใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ รวมอายุการประกาศและบังคับใช้ 13 ปี 5 เดือน มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 3 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2482 แก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยนามประเทศจาก “สยาม” เป็น “ไทย” ตามข้อเสนอของรัฐบาล ซึ่งมีพลตรี หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) เป็นนายกรัฐมนตรี ยังผลให้ชื่อของรัฐธรรมนูญต้องเปลี่ยนเป็น “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย” ไปด้วย ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2483 แก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยบทเฉพาะกาล ซึ่งเสนอโดยขุนบุรัสการกิตติคดี (เหมือน บุรัสการ) ผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี โดยการสนับสนุนของรัฐบาล ซึ่งมีนายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี อันมีผลให้บทเฉพาะกาลซึ่งควรจะต้องสิ้นสุดในวันที่ 10 ธันวาคม 2485 เป็นอย่างช้า ยืดเวลาออกไปอีก 10 ปี แก่นแท้ของการเสนอยึดบทเฉพาะกาลก็คือ การคงอยู่ต่อไปอีกของสมาชิกประเภทที่ 2 อันมาจากการแต่งตั้ง ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2485 แก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามข้อเสนอของรัฐบาล ซึ่งมีจอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ยังผลให้สามารถขยายเวลาอยู่ในตำแหน่งผู้แทนราษฎรออกไปอีกคราวละ 2 ปี.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเป็นกฎหม.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519

รัฐประหาร 6 ตุลาคม..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

ราชกิจจานุเบกษา

ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2401 นับเป็นเอกสารหลักในการแจ้งประกาศ กฎหมาย และคำสั่งทางราชการให้ประชาชนทราบอย่างเป็นทางการจวบจนปัจจุบันนี้ นับเป็นสิ่งพิมพ์ของไทยที่มีอายุยาวนานที่สุด โดยมีสำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นผู้รับผิดชอบจัดพิมพ์และเผยแพร.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และราชกิจจานุเบกษา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร

ต (district หรือ khet) เป็นชื่อเรียกหน่วยการปกครองทางมหาดไทย อยู่ระดับเดียวกับอำเภอซึ่งอยู่รองจากจังหวัด แต่ใช้เฉพาะในกรุงเทพมหานครซึ่งไม่มีสถานะเป็นจังหวัด ในแต่ละเขตแบ่งออกเป็นแขวง.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รถโดยสารประจำทาง

รถโดยสารประจำทางในกรุงเทพมหานคร Benz-Omnibus, 1896 รถโดยสารประจำทาง หรือที่นิยมเรียกกันว่า รถเมล์ เป็นระบบขนส่งมวลชนระบบหนึ่งที่ให้บริการบนถนน โดยมีลักษณะเป็นรถขนาดใหญ่ที่บรรทุกผู้โดยสารเป็นจำนวนมาก โดยกำหนดเส้นทาง และส่วนใหญ่เรียกชื่อเส้นทางเป็นตัวเลข เช่น สาย1 สาย 2 และมีเก็บค่าโดยสารโดยวิธีต่างๆกันไป จำนวนผู้โดยสารบนรถเมล์จะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับขนาดของรถ ตัวอย่างเช่นในประเทศเยอรมันมีรถเมล์ที่ยาวที่สุดในโลกบรรจุผู้โดยสารได้กว่า 200 คน รถโดยสารประจำทางมีเรียกกันหลายชื่อในประเทศไทยเช่น รถเมล์ รถทัวร์ รถสองแถว รถสองแถวใหญ่ หรือ รถสองแถวเล็ก หรือเรียกชื่อเฉพาะตามพื้นที่ เช่น รถสี่ล้อแดง เป็นชื่อเรียกทั้งรถโดยสารและรถรับจ้างในจังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และรถโดยสารประจำทาง · ดูเพิ่มเติม »

วชิรพยาบาล

รงพยาบาลวชิระ หรือ วชิรพยาบาลในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกๆที่เกิดขึ้นในประเทศไทย สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวในปี..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และวชิรพยาบาล · ดูเพิ่มเติม »

วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร

วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่ใกล้กับเชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า ฝั่งธนบุรี โดยมีเลขทะเบียนวัดที่ 24 ถนนประชาธิปก แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร การบูรณะวัดส่งผลให้วัดได้รับรางวัลยอดเยี่ยม อันดับ 1 (Award of Excellence) ให้โครงการบูรณปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุมหาเจดีย์วัดประยุรวงศาวาส ด้านการอนุรักษ์ทางวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ขององค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก).

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

ศาสตราจารย์

ตราจารย์ (อักษรย่อ ศ.) คือผู้มีความเชี่ยวชาญในศิลปะวิทยาการเฉพาะด้าน หรือผู้สอนผู้มีความชำนาญระดับสูง ศาสตราจารย์อาจได้รับการคัดเลือกแล้วแต่งตั้งตามตำแหน่งทางวิชาการ หรือมีคุณวุฒิในระดับที่ควรแก่การยกย่อง มีคนในวงการอ้างถึงและยกผลงานให้เป็นทฤษฎี หรือมีผลงานวิจัยที่ส่งผลกระทบโดยกว้าง ความหมายของ ศาสตราจารย์ (professor) แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ สำหรับประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษในกลุ่มเครือจักรภพ (ยกเว้นแคนาดาและไอร์แลนด์) คำนี้หมายถึง อาจารย์อาวุโสที่ดำรงตำแหน่งระดับภาควิชา โดยเฉพาะหัวหน้าภาควิชา หรือหมายถึงตำแหน่งที่ได้รับเป็นการเฉพาะบุคคล สำหรับแคนาดาและสหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์เป็นตำแหน่งสำหรับอาจารย์อาวุโสในสถาบันอุดมศึกษาทั่วไป ตำแหน่งศาสตราจารย์ในอเมริกาและแคนาดาเปิดกว้างสำหรับอาจารย์จำนวนมากกว่าตำแหน่งในกลุ่มเครือจักรภพ หลายประเทศในทวีปยุโรป อาทิ เยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย คำว่า ศาสตราจารย์ ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อตามกฎหมาย ซึ่งมีจำนวนจำกัด เช่นเดียวกับกลุ่มประเทศในเครือจักรภพ สำหรับประเทศไทยคำว่า ศาสตราจารย์ สามารถใช้นำหน้าชื่อได้ตามที่บุคคลนั้นต้องการ ประเทศที่พูดภาษาสเปนในลาตินอเมริกา คำว่า ศาสตราจารย์ (profesor) ใช้แก่ผู้ที่ทำหน้าที่สอนในโรงเรียน สถาบัน โรงเรียนเทคนิค โรงเรียนอาชีวศึกษา วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย โดยไม่คำนึงถึงระดับของเนื้อหาวิชา หรือระดับชั้นหรืออายุของนักเรียนนักศึกษา ซึ่งรวมไปถึงระดับอนุบาล ประถม มัธยมด้วยเป็นต้น ถึงเช่นนั้นก็ตาม ศาสตราจารย์ที่สอนอยู่ในมหาวิทยาลัยจะระบุว่าเป็น ศาสตราจารย์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และศาสตราจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

สภากรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร (ตัวย่อ: ส.ก.) เป็นองค์กรฝ่ายสภาของกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ควบคุม ตรวจสอบและดูแลการบริหารราชการกรุงเทพมหานครของฝ่ายบริหารอันมีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นหัวหน้าคณะฯ ซึ่งประธานสภากรุงเทพมหานครคนปัจจุบัน คือ ร้อยตำรวจตรี เกรียงศักดิ์ โลหะชาละ สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร,นาย กิตติ บุศยพลากร สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร เป็นรองประธานสภากรุงเทพมหานคร คนที่ 1 และนาย นิรันดร์ ประดิษฐกุล รองประธานสภากรุงเทพมหานคร คนที่ 2.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และสภากรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย

ผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมด 500 คน และแบ่งการได้มาออกเป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จำนวน 350 คน และแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง โดยให้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวน 150 คน ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรูปแบบนี้ เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดยปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์ สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่โดยตรงในทางนิติบัญญัติ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติ หรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ ก็ด้วยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และยังมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินด้วย เช่น การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี การตั้งกระทู้ถาม และการเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทั้งนี้ เป็นไปตามการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร จนถึงวันก่อนวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13 (22 เมษายน พ.ศ. 2522 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2526) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 301 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรงและแบบผสม จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 19 มีนาคม..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สวนลุมพินี

วนลุมพินี หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า สวนลุม เป็นสวนสาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย เปิดให้บริการตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และสวนลุมพินี · ดูเพิ่มเติม »

สวนสัตว์ดุสิต

thumb thumb ป้ายเขาดินวนา ลานกิจกรรม หน้าบริเวณทางเข้าฝั่งถนนอู่ทองใน สวนสัตว์ดุสิต หรือ เขาดินวนา (Dusit Zoo) เป็นสวนสัตว์แห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 71 ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ใกล้กับสนามเสือป่าและพระที่นั่งอนันตสมาคม มีเนื้อที่ 118 ไร.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และสวนสัตว์ดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

สำนักพระราชวัง

ำนักพระราชวัง (Bureau of the Royal Household; BRH) เป็นหน่วยงานของทางราชการมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลและรับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระราชวัง ตลอดจนดูแลรักษาทรัพย์สินและผลประโยชน์ในองค์ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้บังคับบัญชาสำนักพระราชวัง และเลขาธิการพระราชวังเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชกิจราชการ.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และสำนักพระราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

ำนักงานตำรวจแห่งชาติ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)

ำนักนายกรัฐมนตรี เป็นส่วนราชการของรัฐบาลไทย มีฐานะเทียบเท่ากระทรวง ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี มีอำนาจหน้าที่ไม่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบการบริหารราชการทั่วไป เสนอแนะนโยบายและการวางแผนการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และความมั่นคง และราชการเกี่ยวกับการงบประมาณ ระบบราชการ การบริหารงานบุคคล กฎหมายและการพัฒนากฎหมาย การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ การส่งเสริมการลงทุน การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ การปฏิบัติภารกิจพิเศษและราชการอื่นตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ ของสำนักนายกรัฐมนตรีหรือส่วนราชการที่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี หรือที่มิได้อยู่ภายในอำนาจหน้าที่ของกระทรวงใดโดยเฉ.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และสำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพระประแดง

ระประแดง เป็นอำเภอที่มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดในจังหวัดสมุทรปราการ ในอดีตมีฐานะเป็นศูนย์กลางของจังหวัดพระประแดง แต่ต่อมาถูกยุบรวมเข้ากับจังหวัดสมุทรปราการดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และอำเภอพระประแดง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอธัญบุรี

ัญบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปทุมธานี มีลักษณะเป็นแนวยาวขนานไปกับคลองรังสิตประยูรศักดิ์ไปจนสุดเขตจังหวัด เป็นพื้นที่ที่มีความเจริญมากกว่าอำเภอเมืองปทุมธานี เนื่องจากเป็นทางผ่านของการคนนาคมไปภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีเขตเทศบาลนคร 1 แห่ง เขตเทศบาลเมือง 2 แห่ง และเขตเทศบาลตำบลอีก 1 แห่งในพื้นที.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และอำเภอธัญบุรี · ดูเพิ่มเติม »

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ หรือ เขตปกครองพิเศษ คือ การปกครองรูปแบบหนึ่งในประเทศไทยที่ปกครองแบบพิเศษจะประกอบด้วย สภา ผู้ว่าราชการ หรือนายก ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยจะมีอยู่สองเขตการปกครองที่เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ คือ กรุงเทพมหานครและเมืองพัท.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การสวนสัตว์

องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (อสส.) (The Zoological Park Organization under the Royal Patronage of His Majesty the King) หรือ องค์การสวนสัตว์ เป็นองค์การในพระบรมราชูปถัมภ์ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นรัฐวิสาหกิจ ประเภทสังคมและเทคโนโลยี สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องการจัดหารวบรวมสัตว์ป่านานาชนิด การให้การศึกษา การอนุรักษ์และขยายพันธุ์ การวิจัย และการจัดสวนสัตว์ให้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชนทั่วไป นอกจากนี้ยังเป็นหน่วยงานซึ่งมีหน้าที่ประสานงานและดำเนินการด้านต่างๆ ให้สวนสัตว์ ปัจจุบันมีสวนสัตว์อยู่ภายใต้ความรับผิดชอบ 7 แห่ง และ 1 โครงการจัดตั้ง คือ สวนสัตว์ดุสิต, สวนสัตว์เปิดเขาเขียว, สวนสัตว์เชียงใหม่, สวนสัตว์นครราชสีมา, สวนสัตว์สงขลา, สวนสัตว์อุบลราชธานี, สวนสัตว์ขอนแก่น และ โครงการคชอาณาจักร จังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และองค์การสวนสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ กรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทย มีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี แต่ในปัจจุบันหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีคำสั่งแต่งตั้งอัศวิน ขวัญเมือง เป็นผู้ว่าราชการคนปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป โดยกำหนดให้ดำรงตำแหน่งจนกว่าจะมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีคําสั่งเปลี่ยนแปลงเป็นประการอื่น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

จอมพล

อมพล (Field Marshal) เป็นยศทหาร ซึ่งในปัจจุบันถือได้ว่าเป็นยศสูงสุดในกองทัพบกที่เกือบทุกประเทศทั่วโลกใช้ จอมพลเป็นยศที่สูงกว่าพลเอก.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และจอมพล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัด

ังหวัด หรือมณฑล (province) คือชื่อเรียกหน่วยการปกครองระดับหนึ่ง โดยปกติจะเป็นระดับใหญ่ที่สุดในประเทศ หรือรัฐ (ลำดับแรกในการแบ่งการปกครอง) คำว่าจังหวัดใช้เรียก province ในประเทศไทย ส่วนมณฑลใช้กับบางประเทศ เช่น มณฑลยูนนาน (Yunnan Province) ในประเทศจีน หรือ.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรปราการ

ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และจังหวัดสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดธนบุรี

ตราประจำจังหวัดธนบุรี จังหวัดธนบุรี เป็นจังหวัดในอดีตที่อยู่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับจังหวัดพระนคร ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรี จนกระทั่ง พ.ศ. 2514 ได้มีการรวมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนคร เป็น นครหลวงกรุงเทพธนบุรี และเปลี่ยนชื่อเป็นกรุงเทพมหานครเมื่อปี..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และจังหวัดธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และจังหวัดปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จตุสดมภ์

ตุสดมภ์ (เกิดจากคำบาลี "จตุ" หมายถึง สี่ และสันสกฤต สฺตมฺภ หมายถึง หลัก รวมหมายถึง "หลักสี่") เป็นคำที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพใช้เรียกระบบการปกครองส่วนกลางภายในกรุงศรีอยุธยาสมัยอยุธยาตอนต้น โดยมีระบุว่าเป็นแนวคิดที่รับเอามาจากขอม ในขณะที่การปกครองหลังมีการปฏิรูปขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถอันเป็นรูปแบบการปกครองที่ใช้มาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น มีลักษณะเป็นแบบ "นายกรัฐมนตรี 2 คน" มากกว.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และจตุสดมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถวิล ไพรสณฑ์

วิล ไพรสณฑ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลชวน หลีกภัย (1) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และถวิล ไพรสณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายทหารที่มาจากคนธรรมดาสามัญที่ครองยศจอมพลสายทหารบก มีด้วยกัน 7 คน จอมพลถนอมเป็นคนที่ 6 จอมพลประภาส จารุเสถียรเป็นคนที่ 7 แต่ผู้ที่มีอายุยืนที่สุด คือจอมพลถนอม จึงกลายเป็น "จอมพลคนสุดท้าย" จอมพลถนอมถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเส้นเลือดในสมองแตกเมื่อกลางดึก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และถนอม กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกรุงเกษม

นนกรุงเกษมช่วงโบ๊เบ๊ ถนนกรุงเกษม (Thanon Krung Kasem) เป็นถนนเลียบคลองผดุงกรุงเกษมฝั่งใต้ เริ่มจากบริเวณท่าเรือเทเวศร์ในพื้นที่แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตัดกับถนนสามเสน (แยกเทเวศร์) เข้าสู่พื้นที่แขวงบางขุนพรหม จากนั้นตัดกับถนนประชาธิปไตย (แยกประชาเกษม) และตัดกับถนนราชดำเนินนอก (แยกมัฆวานรังสรรค์) เข้าสู่พื้นที่แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ตัดกับถนนนครสวรรค์ (แยกเทวกรรม) ถนนหลานหลวง (แยกสะพานขาว) เข้าสู่พื้นที่แขวงคลองมหานาค จากนั้นโค้งลงมาทางทิศใต้ตัดกับถนนบำรุงเมือง และถนนพระรามที่ 1 (แยกกษัตริย์ศึก) เข้าสู่พื้นที่แขวงวัดเทพศิรินทร์ และตัดกับถนนหลวง (แยกนพวงศ์-โรงเรียนเทพศิรินทร์) เข้าสู่พื้นที่แขวงป้อมปราบ จนกระทั่งไปสิ้นสุดที่ถนนพระรามที่ 4 (แยกไมตรีจิตต์) ถนนกรุงเกษมเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นประมาณปี พ.ศ. 2435 แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2441 มีความยาวตลอดสาย 4.5 กิโลเมตร ตั้งต้นจากปากคลองผดุงกรุงเกษมทางด้านเหนือเลียบริมคลองมาจนถึงเชิงสะพานพิทยเสถียรซึ่งจะข้ามไปหัวลำโพง ถนนเส้นนี้เป็นตัวอย่างหนึ่งของการขุดคลอง และสร้างถนนขนาบข้าง และโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "ถนนกรุงเกษม".

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และถนนกรุงเกษม · ดูเพิ่มเติม »

ถนนลาดหญ้า

นนลาดหญ้า ถนนลาดหญ้า (Thanon Lat Ya) เป็นถนนสำคัญสายหนึ่งในพื้นที่เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร มีลักษณะเป็นถนนขนาด 6 ช่องทางจราจร มีเกาะกลาง เขตถนนกว้าง 28 เมตร ระยะทางยาว 1,650 เมตร มีจุดเริ่มต้นจากวงเวียนใหญ่ซึ่งเป็นที่ตั้งพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านสามเหลี่ยมลาดหญ้า (จุดตัดกับถนนอิสรภาพและถนนท่าดินแดง) ข้ามคลองสมเด็จเจ้าพระยา ผ่านทางแยกคลองสาน (จุดตัดกับถนนสมเด็จเจ้าพระยาและถนนเจริญนคร) ไปสิ้นสุดที่หน้าสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร บริเวณปากคลองสาน ถนนลาดหญ้าเป็น "ถนนสายที่ 4" ในโครงการตัดและขยายถนน 11 สายในจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนครเพื่อรองรับการก่อสร้างสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (สะพานพระพุทธยอดฟ้า) เมื่อปี พ.ศ. 2472 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดซื้อที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น เพื่อตัดและขยายถนนฝั่งจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร พ.ศ. 2473 ได้กำหนดแนวเส้นทางถนนสายที่ 4 ไว้ตั้งแต่ท่าสินค้าริมแม่น้ำเจ้าพระยา ผ่านถนนสายที่ 2 (ปัจจุบันคือถนนสมเด็จเจ้าพระยา) ถนนสายที่ 3 (ปัจจุบันคือถนนอิสรภาพ) และผ่านถนนสายที่ 1 (ปัจจุบันคือถนนประชาธิปกและถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน) ที่วงเวียน ไปสิ้นสุดที่ท่าสินค้าริมคลองบางกอกใหญ่ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงตั้งชื่อถนนสายต่าง ๆ ในโครงการดังกล่าวถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโดยใช้เกณฑ์ "มหาชัย" ที่ไทยรบชนะพม่าในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สำหรับถนนสายที่ 4 ทรงตั้งชื่อว่า ถนนลาดหญ้า เพื่อเป็นอนุสรณ์ถึงคราวสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาททรงยกทัพรบชนะกองทัพพม่าที่ทุ่งลาดหญ้า แขวงเมืองกาญจนบุรี ในปี พ.ศ. 2328กนกวลี ชูชั.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และถนนลาดหญ้า · ดูเพิ่มเติม »

ถนนดินสอ

ลาว่าการกรุงเทพมหานคร ถนนดินสอ (Thanon Dinso) ถนนเส้นหนึ่งในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นที่วงเวียนเสาชิงช้าที่ถนนบำรุงเมือง บริเวณหน้าเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ และทอดยาวออกไปยังถนนราชดำเนินกลางผ่านอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ไปสิ้นสุดลงที่แยกสะพานวันชาติ เชิงสะพานเฉลิมวันชาติ โดยเป็นถนนที่เป็นเส้นตรงตลอดทั้งสาย มีความยาวทั้งสิ้น 850 เมตร ถนนดินสอ เป็นถนนที่สร้างขึ้นในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 เหตุที่ได้ชื่อว่า "ดินสอ" เนื่องจากแถบนี้ในช่วงกรุงศรีอยุธยา ผู้คนที่อาศัยอยู่ที่นี่มีอาชีพทำดินสอและกระดาษ จนได้ชื่อว่า "ย่านป่าดินสอ" ปรากฏเป็นหลักฐานในเอกสารจากหอหลวง เรื่องคำให้การขุนหลวงวัดประดู่ ความว่า "ย่านป่าดินสอ ริมวัดพระงาม มีร้ายขายดินสอศิลาอ่อนแก่ แลดินสอขาวเหลือง ดินสอดำ ชื่อตลาดบ้านดินสอ" จนล่วงมาถึงยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ อาชีพทำดินสอของผู้คนแถบนี้ก็ยังคงอยู่ และถูกเรียกว่า "ย่านดินสอ" หรือ "บ้านดินสอ" ต่อมามีการสร้างถนนขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และถนนดินสอ · ดูเพิ่มเติม »

ทันตแพทยศาสตร์

ทันตแพทย์และผู้ช่วยทันตแพทย์กำลังผ่าตัดช่องปากผู้ป่วย ทันตแพทยศาสตร์ (dentistry) เป็นสาขาวิชาที่ประเมิน วินิจฉัย ป้องกัน และรักษาโรค ความผิดปกติ หรือภาวะในช่องปาก บริเวณใบหน้าขากรรไกร และ/หรือบริเวณใกล้เคียงและโครงสร้างอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และผลกระทบต่อร่างกายมนุษย์ บุคคลที่ประกอบอาชีพที่กระทำหัตถการดังกล่าวจะเรียกว่า ทันตแพทย์ (dentist) ทันตแพทย์เป็นวิชาชีพทางสาธารณสุขที่ผ่านการศึกษาและฝึกฝนจนสำเร็จการศึกษา ซึ่งในประเทศไทยจะได้รับปริญญาบัตรทันตแพทยศาสตร์บัณฑิต (ท.บ.) หรือเทียบเท่ากับ Doctor of Dental Surgery (DDS) สำหรับในต่างประเทศยังมีวุฒิการศึกษาอื่นๆ ที่เทียบเท่า เช่น Doctor of Dental Medicine (DMD), Bachelor of Dentistry (BDent), Bachelor of Dental Science (BDSc), หรือ Bachelor of Dental Surgery/Chirurgiae (BDS หรือ BChD) ในประเทศไทยนอกจากจะต้องผ่านการศึกษาในคณะทันตแพทยศาสตร์เป็นเวลา 6 ปีแล้วจะต้องได้รับอนุมัติใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทันตกรรม ซึ่งออกโดยทันตแพท.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และทันตแพทยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ควง อภัยวงศ์

รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เคยมีบรรดาศักดิ์เป็น รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวง.ต.ควง ถือเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งกระทรวงคมนาคมยุคใหม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการคนแรก ด้วยประสบการณ์ที่เคยรับราชการจนมีตำแหน่ง เป็นถึงอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข นอกจากนี้ยังเคย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวงเกษตราธิการ และกระทรวงมหาดไทยด้ว.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และควง อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

คุณหญิง

ณหญิง เป็นคำนำหน้าใช้สำหรับสตรีที่สมรสแล้วซึ่งได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น จตุตถจุลจอมเกล้า (จ.จ.) ตติยจุลจอมเกล้า (ต.จ.) และทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) ส่วนสตรีที่ยังมิได้สมรสให้ใช้คำนำหน้าว่า "คุณ" ยกเว้น สตรีในราชตระกูลตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป รวมทั้ง หม่อมราชวงศ์และหม่อมหลวง ยังคงใช้พระนามและคำนำหน้านามเดิม นอกจากนี้ คำว่า คุณหญิง ยังใช้เป็นนามลำลองของ หม่อมราชวงศ์หญิง อีกด้วย เช่น หม่อมราชวงศ์ ศรีคำรุ้ง ยุคล มีนามลำลองว่า คุณหญิงแมงมุม เป็นต้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และคุณหญิง · ดูเพิ่มเติม »

คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

ณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช (Kuakarun Faculty of Nursing, Navamindradhiraj University) เกิดจากการรวมวิทยาลัยพยาบาล 2 แห่งเข้าด้วยกัน คือ วิทยาลัยพยาบาลอนามัยและผดุงครรภ์วชิรพยาบาล และ โรงเรียนพยาบาลโรงพยาบาลกลาง สังกัด สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ที่แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิตเดิมเป็นสถาบันสมทบใน มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต เริ่มแรกก่อตั้งใช้ชื่อว่าวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ ต่อมาได้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น "คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช".

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรี

ณะรัฐมนตรี (council of ministers หรือ cabinet) มีอำนาจหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน ให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมาย อันประกอบด้วย หัวหน้าคณะ 1 คน ซึ่งมักเรียกว่า นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีอื่น ตามจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และคณะรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย

ณะรัฐมนตรีไทยเป็นคณะบุคคลที่ทำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินในราชอาณาจักรไทย คณะรัฐมนตรีเป็นกลุ่มบุคคลหลักที่ขับเคลื่อนส่วนราชการต่างๆของรัฐบาลไทย สมาชิกของคณะรัฐมนตรีนั้นจะได้รับการเสนอชื่อโดยนายกรัฐมนตรีและได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการโดยพระมหากษัตริย์ไทยซึ่งประกอบไปด้วย รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำกระทรวงต่างๆ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ คณะรัฐมนตรีไทยนั้นมีขึ้นครั้งแรกหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิบไตยตามพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ซึ่งในขณะนั้นเรียกว่าคณะกรรมการราษฎร และหลังจากมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช พ.ศ. 2475 จึงเปลี่ยนมาเรียกว่าคณะรัฐมนตรี และได้ใช้ชื่อนี้มาจนถึงปัจจุบัน จำนวนรัฐมนตรีในคณะนั้นเป็นไปตามรัฐธรรมนูญที่บังคับใช้อยู่ขณะนั้น ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดให้คณะรัฐมนตรีมีรัฐมนตรีได้ไม่เกิน 35 คน, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 3 พฤษภาคม 2560 ปัจจุบันคณะรัฐมนตรี คณะที่ 61เป็นคณะรัฐมนตรีชุดล่าสุดจัดตั้งเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และคณะรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 10

อมพลแปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 10 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 10 ของไทย (7 มีนาคม พ.ศ. 2485 - 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487) จอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 7 มีนาคม..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 41

ลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 15 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 41 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 41 ของไทย (12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2523) พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 41 · ดูเพิ่มเติม »

คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน

ณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน เป็นคณะนายทหารที่นำโดยพลเรือเอก สงัด ชลออยู่ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ได้ทำการยึดอำนาจการปกครอง ในปี พ.ศ. 2519 จาก หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 เวลา 18.00 น. และแต่งตั้งนาย ธานินทร์ กรัยวิเชียร เป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ หลังจากนั้นเพียง 1 ปีกับ 12 วัน คณะปฏิรูปก็ได้ทำการรัฐประหารยึดอำนาจจากนายธานินทร์จึงทำให้นายธานินทร์ต้องพ้นจากตำแหน่งและคณะปฏิรูปก็สลายตัวไปในที.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

ณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช เป็นโรงเรียนแพทย์ที่ก่อตั้งขึ้นเป็นแห่งที่ 10 ของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช · ดูเพิ่มเติม »

งา

งา อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และงา · ดูเพิ่มเติม »

ตราประจำจังหวัดของไทย

ตราประจำจังหวัดของไทย มีพัฒนาการมาจากตราประจำตำแหน่งของเจ้าเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และตราประจำธงประจำกองลูกเสือ 14 มณฑล ในสมัยรัชกาลที่ 6 - 7 ในสมัยที่จอมพลแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีนั้น รัฐบาลได้กำหนดให้แต่ละจังหวัดมีตราประจำจังหวัดของตนเองใช้เมื่อ พ.ศ. 2483 โดยกรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบตราตามแนวคิดที่แต่ละจังหวัดกำหนดไว้ ปัจจุบัน เมื่อมีการตั้งจังหวัดขึ้นใหม่ ก็จะมีการออกแบบตราประจำจังหวัดด้วยเสมอ แต่ตราของบางจังหวัดที่ใช้อยู่นั้นบางตราก็ไม่ใช่ตราที่กรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบ บางจังหวัดก็เปลี่ยนไปใช้ตราประจำจังหวัดเป็นแบบอื่นเสียก็มี บางที่ลักษณะของตราก็เพี้ยนไปจากลักษณะที่กรมศิลปากรออกแบบไว้ แต่ยังคงลักษณะหลัก ๆ ของตราเดิมไว้อยู่บ้างก็มี.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และตราประจำจังหวัดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตะขอ

ตะขอที่ใช้ในการป่าไม้ ตะขอทั่วไป ตะขอ หมายถึง ขอโลหะ หรือพลาสติก ไม้ หรือเหล็กที่มีลักษณะ งอ เป็นห่วงใช้คล้อง ฯลฯ เช่นตะขอเบ็ดตกปลา ตะขอบังคับช้าง พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตว่า "ตาขอ" ตะขอใช้สำหรับชักเกี่ยว แขวน หรือสับ เกาะเกี่ยวเพื่อลากหรือดึง กระดุมมีประเภทที่เรียกว่าตะขอ เช่นติดกระดุมกางเกง เรียกเกี่ยวตะขอกางเกง ติดกระดุมเสื้อ เรียกว่าติดตะขอเสื้อ บางแห่งเรียกตะขอว่า ขอ.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และตะขอ · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล (ประเทศไทย)

ตำบล เป็นหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทยซึ่งมีขนาดเล็กกว่าอำเภอและจังหวัด จึงจัดว่าเป็นเขตการปกครองระดับที่สาม จากข้อมูลเมื่อปี..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และตำบล (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีไทย

นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภา โดยปกติแล้วนายกรัฐมนตรีในระบอบประชาธิปไตยจะมีที่มาจากสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งโดยหลักแล้วถือว่านายกรัฐมนตรีมีต้องมาจากการแต่งตั้งทางอ้อมโดยประชาชน แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 กำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีตามมติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สภาที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง) ซึ่งผลการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีปรากฏว่า พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

นายกเทศมนตรี

นายกเทศมนตรี มาจากการปกครองที่มีต่อจากการปกครองแบบเทศาภิบาล ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ เป็นผู้ตราขึ้น หน้าที่หลักของนายกเทศมนตรี ก็คือ นายกเทศมนตรีจะมี การปกครองแบบพิเศษ (ซึ่งมิใช่การปกครองแบบท้องถิ่น หรือในรูปแบบที่เรียกว่าอำเภอ หรือที่ว่าการอำเภอ หรือสภาตำบล กำนัน หรือ ผู้ใหญ่บ้าน ซึ่งเรียกว่าการปกครองร่วมแบบท้องถิ่น).

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และนายกเทศมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

นิติบุคคล

ำสำคัญ "นิติบุคคล" อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และนิติบุคคล · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

แขวง

แขวง เป็นชื่อเรียกของเขตการปกครอง โดยในประเทศลาวและประเทศพม่านั้น "แขวง" จะมีอำนาจปกครองในระดับเดียวกับจังหวัดของประเทศไท.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และแขวง · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลกลาง

รงพยาบาลกลาง เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 369 เตียง สังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บนถนนหลวง แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และโรงพยาบาลกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2460 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546) อดีตนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษม สุวรรณกุล

ตราจารย์กิตติคุณ เกษม สุวรรณกุล กรรมการกฤษฎีกา เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และเกษม สุวรรณกุล · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวง

มืองหลวง หรือ ราชธานี คือ เมืองหลักที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาล ส่วนใหญ่เป็นที่ตั้งของทำเนียบรัฐบาล คำในภาษาอังกฤษ capital มาจากภาษาละติน caput หมายถึง "หัว" และอาจเกี่ยวข้อง เนินเขาแคปิทอไลน์ เนินเขาที่สูงที่สุดในโรมโบราณ ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์และศาสนา ในภาษาไทย มีหลายคำที่ใช้ในความหมายนี้ เช่น กรุง หรือ พระนคร สำหรับคำว่าเมืองหลวงนั้นยังก็มีความหมายเป็นสองนัย กล่าวคือ หมายถึงเมืองใหญ่ (หลวง หมายถึง ใหญ่) หรือเมืองของหลวง (คือเมืองของพระเจ้าแผ่นดิน, เพราะเป็นที่ประทับของกษัตริย์) เมืองหลวงในบางประเทศ มีขนาดเล็กกว่าเมืองอื่น เช่นใน สหรัฐอเมริกา อินเดีย บราซิล สำหรับคำว่าเมืองหลวงนี้ อาจเป็นเมืองหลวงของรัฐ (ในประเทศที่ปกครองแบบสาธารณรัฐ เป็นต้น) หรือเมืองหลวงของเขตการปกครองระดับใดๆ ก็ได้ เช่น อำเภอเมือง เปรียบเหมือนเป็นเมืองหลวงของจังหวั.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

เว็บไซต์

หน้าหนึ่งในเว็บไซต์วิกิพีเดีย เว็บไซต์ (website, web site หรือ site) หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะเรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จำเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสียค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูล ในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ทำเว็บไซต์มีหลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สำหรับธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยมเรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บเบราว์เซอร์ เว็บไซต์แห่งแรกของโลกถูกสร้างขึ้นเมื่อ 30 เมษายน พ.ศ. 2536 โดยวิศวกรของเซิร์น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และเว็บไซต์ · ดูเพิ่มเติม »

เสาชิงช้า

งช้า เป็น สถาปัตยกรรม ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบพิธีโล้ชิงช้า ใน พระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวาย ของ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู โดยทั่วไปหมายถึงเสาชิงช้าที่ตั้งอยู่หน้า วัดสุทัศน์เทพวราราม และลานหน้า ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (ลานคนเมือง) ใกล้กับ เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ ในพื้นที่แขวงเสาชิงช้าและแขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของ กรุงเทพมหานคร แม้พิธีโล้ชิงช้าได้เลิกไปแล้วตั้งแต่สมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ก็ตาม นอกจากนี้ ใน ประเทศไทย ยังมีเสาชิงช้าอีกแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ที่ หน้าหอพระอิศวร เมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งมีการประกอบพิธีโล้ชิงช้ามาแต่โบราณเช่นกัน แต่ได้เลิกไปก่อนที่จะมีการก่อสร้างขึ้นใหม่ในภายหลัง โดยจำลองแบบมาจากเสาชิงช้าที่ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้าที่ กรุงเทพมหานคร แห่งนี้ มีลักษณะเป็นเสาชิงช้าขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนแท่นหินขนาดใหญ่ สูง 21.15 ม. เส้นผ่านศูนย์กลาง ฐานกลมประมาณ 10.50 ม. ฐานกลมก่อเป็นฐานปัทม์ทำด้วยหินล้างสีขาว พื้นบนปูกระเบื้องดินเผาสีแดง มีบันได 2 ขั้น ทั้ง 2 ด้าน ตามแนวโค้งของฐานติดแผ่นจารึกประวัติเสาชิงช้า เสาไม้แกนกลางคู่และเสาตะเกียบ 2 คู่ เป็นเสาหัวเม็ด ล้วนทำด้วยไม้สักกลึงกลม โครงยึดหัวเสาทั้งคู่แกะสลักอย่างสวยงาม กระจังและหูช้างไม้เป็นลวดลายไทย ทั้งหมดทา สีแดงชาด ติด สายล่อฟ้า จากลวดลายกระจังด้านบนลงดิน กรมศิลปากร ได้ประกาศขึ้นทะเบียนเสาชิงช้าเป็น โบราณสถาน สำคัญของชาติเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 นับตั้งแต่สร้างครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2327 จนถึงการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งล่าสุดซึ่งเสาชิงช้าคู่เดิมถูกถอดเปลี่ยนเมื่อปี พ.ศ. 2549 เสาชิงช้ามีอายุรวมประมาณ 222 ปี.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และเสาชิงช้า · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)

ลเอก พลเรือเอก มหาเสวกเอก จางวางเอก นายพลเสือป่า เจ้าพระยารามราฆพ (5 ตุลาคม พ.ศ. 2433 - 21 ตุลาคม พ.ศ. 2510) อดีตองคมนตรี อดีตสมุหราชองครักษ์ อดีตสมุหพระราชมนเทียร อดีตประธานกรรมการพระราชสำนัก อดีตนายกเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพฯ และ อดีตนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และเจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมพิศว์ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมพิศว์ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และเจ้าจอมพิศว์ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาล

ำนักงานเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี เทศบาล เป็นรูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งที่ใช้ในประเทศไทยปัจจุบัน การปกครองรูปแบบเทศบาลเป็นการกระจายอำนาจให้แก่ท้องถิ่นดำเนินการปกครองตนเองตามระบอบประชาธิปไตย เกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเริ่มจากการจัดตั้งสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร..116 (พ.ศ. 2440) โดยมีพระราชกำหนดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร.ศ. 116 ในส่วนภูมิภาค มีการตราพระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาลท่าฉลอม ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) ขึ้นมีวิวัฒนาการเรื่อยมา จนถึงปี พ.ศ. 2475 ได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้มีการกระจายอำนาจการปกครองที่สมบูรณ์แบบยิ่งขึ้น โดยมีการจัดตั้งเทศบาลขึ้นในปี พ.ศ. 2476 โดยมีการตราพระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล..

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และเทศบาล · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระนคร

ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และเขตพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศไทย

ตการปกครองของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และการปกครองส่วนท้องถิ่น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และเขตการปกครองของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เขตมีนบุรี

ตมีนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำรางไหลผ่านหลายสาย ในอดีตเป็นเรือกสวนไร่นา บ่อปลา นาบัว และไร่หญ้า แต่ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนสภาพเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน อาคารพาณิชย์ สถานที่ประกอบการทั้งเล็กและขนาดใหญ.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และเขตมีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตดินแดง

ตดินแดง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และเขตดินแดง · ดูเพิ่มเติม »

เขตคลองสาน

ตคลองสาน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และเขตคลองสาน · ดูเพิ่มเติม »

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ1 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

11 มีนาคม

วันที่ 11 มีนาคม เป็นวันที่ 70 ของปี (วันที่ 71 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 295 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ11 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 ธันวาคม

วันที่ 13 ธันวาคม เป็นวันที่ 347 ของปี (วันที่ 348 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 18 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ13 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 กุมภาพันธ์

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 45 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 320 วันในปีนั้น (321 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ14 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

16 พฤศจิกายน

วันที่ 16 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 320 ของปี (วันที่ 321 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 45 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ16 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤศจิกายน

วันที่ 17 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 321 ของปี (วันที่ 322 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 44 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ17 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

17 กรกฎาคม

วันที่ 17 กรกฎาคม เป็นวันที่ 198 ของปี (วันที่ 199 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 167 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ17 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มีนาคม

วันที่ 18 มีนาคม เป็นวันที่ 77 ของปี (วันที่ 78 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 288 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ18 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 มิถุนายน

วันที่ 19 มิถุนายน เป็นวันที่ 170 ของปี (วันที่ 171 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 195 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ19 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

2 กันยายน

วันที่ 2 กันยายน เป็นวันที่ 245 ของปี (วันที่ 246 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 120 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ2 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

2 มีนาคม

วันที่ 2 มีนาคม เป็นวันที่ 61 ของปี (วันที่ 62 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 304 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ2 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 เมษายน

วันที่ 20 เมษายน เป็นวันที่ 110 ของปี (วันที่ 111 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 255 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ20 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

21 ธันวาคม

วันที่ 21 ธันวาคม เป็นวันที่ 355 ของปี (วันที่ 356 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 10 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ21 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 เมษายน

วันที่ 21 เมษายน เป็นวันที่ 111 ของปี (วันที่ 112 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 254 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ21 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

23 เมษายน

วันที่ 23 เมษายน เป็นวันที่ 113 ของปี (วันที่ 114 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 252 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ23 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

24 กรกฎาคม

วันที่ 24 กรกฎาคม เป็นวันที่ 205 ของปี (วันที่ 206 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 160 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ24 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 เมษายน

วันที่ 24 เมษายน เป็นวันที่ 114 ของปี (วันที่ 115 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 251 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ24 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

26 กุมภาพันธ์

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 57 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 308 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ26 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

27 พฤษภาคม

วันที่ 27 พฤษภาคม เป็นวันที่ 147 ของปี (วันที่ 148 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 218 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ27 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 กุมภาพันธ์

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 58 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 307 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ27 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

29 พฤศจิกายน

วันที่ 29 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 333 ของปี (วันที่ 334 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 32 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ29 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

3 กุมภาพันธ์

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 34 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 331 วันในปีนั้น (332 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ3 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

31 พฤษภาคม

วันที่ 31 พฤษภาคม เป็นวันที่ 151 ของปี (วันที่ 152 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 214 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ31 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 กุมภาพันธ์

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 36 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 329 วันในปีนั้น (330 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ5 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

6 ตุลาคม

วันที่ 6 ตุลาคม เป็นวันที่ 279 ของปี (วันที่ 280 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 86 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ6 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 พฤศจิกายน

วันที่ 8 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 312 ของปี (วันที่ 313 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 53 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ8 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

8 สิงหาคม

วันที่ 8 สิงหาคม เป็นวันที่ 220 ของปี (วันที่ 221 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 145 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ8 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 กันยายน

วันที่ 9 กันยายน เป็นวันที่ 252 ของปี (วันที่ 253 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 113 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ9 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

9 ธันวาคม

วันที่ 9 ธันวาคม เป็นวันที่ 343 ของปี (วันที่ 344 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 22 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)และ9 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กรุงเทพมหานคร (องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น)เทศบาลนครกรุงเทพ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »