โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

P

ดัชนี P

P (ตัวใหญ่: P ตัวเล็ก: p) เป็นอักษรละติyyน ลำดับที่ 16.

18 ความสัมพันธ์: ชเตฟันสโดมพีการออกเสียงตัวอักษรของการสื่อสารวิทยุภาษาอังกฤษภาษาฮีบรูภาษาฮีบรูไบเบิลภาษาแอลเบเนียรายชื่อวงศ์พรรณไม้อักษรฟินิเชียอักษรฮีบรูอักษรตระกูลเซมิติกอักษรเบรลล์ภาษาแอลเบเนียอันดับของขนาด (จำนวน)ธงสองมือประวัติศาสตร์อักษรโรTIS-620Р

ชเตฟันสโดม

การขยายอาสนวิหารนักบุญสเทเฟน: The '''หอโรมันและประตูยักษ์''' จากซากไหม้ของโบสถ์แรกใช้เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างแบบโรมาเนสก์'''โบสถ์ที่สอง''' สร้างแทนโบสถ์เดิม สี่สิบปีต่อมา ก็เริ่มก่อสร้าง '''Albertine Choir''' แบบกอธิค; ห้าสิบห้าปีหลังจากนั้นก็สร้าง '''ส่วนต่อเติมดยุกรูดอล์ฟที่ 4''' รอบบริเวณ '''โบสถ์ที่สอง''' ที่ต่อมาถูกรื้อทิ้ง เหลือโบสถ์ที่สามให้เป็นสิ่งก่อสร้างที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน อาสนวิหารนักบุญสเทเฟน หรือ ชเตฟันสโดม (Stephansdom, St.) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกในอัครมุขมณฑลเวียนนา และเป็นที่ตั้งอาสนะของอาร์ชบิชอปแห่งเวียนนา ตัวอาสนวิหารตั้งอยู่ใจกลางกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมานเนสก์ และ กอทิก ริเริ่มโดยรูดอล์ฟที่ 4 ดยุกแห่งออสเตรีย โบสถ์ปัจจุบันตั้งอยู่บนซากโบสถ์เดิมที่สร้างก่อนหน้านั้นสองโบสถ์ โบสถ์แรกเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชที่ได้รับการเสกในปี ค.ศ. 1147 อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนเป็นสิ่งก่อสร้างที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในกรุงเวียนนาที่เห็นได้อย่างเด่นชัดจากหลังคากระเบื้องหลากสี.

ใหม่!!: Pและชเตฟันสโดม · ดูเพิ่มเติม »

พี

ี หรือ P หรือ p เป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: Pและพี · ดูเพิ่มเติม »

การออกเสียงตัวอักษรของการสื่อสารวิทยุ

การออกเสียงตัวอักษรของการสื่อสารวิทยุ (NATO phonetic alphabet) เป็นการสะกดคำโดยการอ่านออกเสียงทีละตัวอักษร และตัวเลขนั้น แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศตามสำเนียงการพูดของประเทศนั้นๆ เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงการเข้าใจที่อาจไม่ตรงกันหรือคลาดเคลื่อนในการติดต่อสื่อสาร จึงได้มีการกำหนดการออกเสียงตัวอักษรของการสื่อสารวิทยุขึ้น ดังตาราง.

ใหม่!!: Pและการออกเสียงตัวอักษรของการสื่อสารวิทยุ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: Pและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรู

ษาฮีบรู (Modern Hebrew, อิฟริท) เป็นภาษาเซมิติก (Semitic) ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afro–Asiatic) เป็นภาษาที่เก่าแก่ โดยมีอายุมาอย่างน้อยตั้งแต่ 3,500 ปีที่แล้ว ในอดีต เคยเป็นภาษาตาย เหมือนดั่งภาษาบาลี สันสกฤต และละติน โดยใช้เป็นภาษาที่ใช้เพียงแต่ในวงจำกัด หนังสือต่างทางศาสนา และสถานที่ทางศาสนาเท่านั้น แต่ปัจจุบัน มีการกลับมาใช้เป็นภาษาพูดใหม่ และเป็นภาษาที่ชาวอิสราเอลใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน โดยภายในในอิสราเอล มีผู้พูดมากกว่า 4,380,000 คน ซึ่งเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอาหรับ นอกอิสราเอล ภาษาฮีบรูยังมีผู้พูดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งโดยมากเป็นชุมชนชาวยิว ทะนัค (Tanakh) หรือพระคัมภีร์เก่า (The Old Testament) ของศาสนายิว เขียนไว้ด้วยภาษาฮีบรู ซึ่งถือว่าเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ (לשון הקודש Leshon ha-Kodesh: เลโชน ฮา-โกเดช) ของชาวยิวตั้งแต่สมัยโบราณ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ระบุว่าหลัง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นยุคที่จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ทำลายกรุงเยรูซาเลมและอพยพชาวยิวไปยังบาบิโลนและพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นไท ภาษาฮีบรูในแบบที่เขียนในพระคัมภีร์เก่า ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรูใหม่และภาษาแอราเมอิกที่ใช้ในท้องถิ่นนั้น หลังจากพุทธศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันเข้ายึดครองกรุงเยรูซาเล็ม และอพยพชาวยิวออกไป ภาษาฮีบรูเริ่มใช้เป็นภาษาพูดน้อยลงแต่ยังคงเป็นภาษาทางศาสนาและภาษาในการเขียน หลังจากเยรูซาเล็มถูกชาวบาบิโลนทำลายครั้งแรก 586 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาอย่างในพระคัมภีร์เก่าเริ่มถูกแทนที่ด้วยคำในลักษณะใหม่ หลังจากจำนวนประชากรของชาวยิวในบางส่วนของจูเดีย (Judea) ลดลง ภาษาฮีบรูเลิกใช้เป็นภาษาพูดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 แต่ยังคงเป็นภาษาเขียนที่สำคัญต่อเนื่องมาตลอดหลายศตวรรษ นอกจากจะใช้ในศาสนาแล้ว งานเขียนสำหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่น เขียนตำรา จดหมาย ปรัชญา การแพทย์ บทกวี บันทึกศาล ล้วนใช้ภาษาฮีบรู ซึ่งได้เข้ากับวงความรู้และคำเฉพาะใหม่ ๆ โดยคำยืมและคำประดิษฐ์ใหม่ ภาษาฮีบรูยังคงถูกรักษาไว้ในฐานะภาษาเขียนโดยชุมชนชาวยิวทั่วโลก จนกระทั่งมีการตั้งลัทธิไซออนนิสต์เพื่อฟื้นฟูชาติยิว สมาชิกไซออนนิสต์ส่งเสริมให้มีการแทนที่ภาษาพูดของชาวยิวในขณะนั้น เช่นภาษาอาหรับ ภาษาจูเดสโม (Judezmo, ภาษาลาดิโน Ladino ก็เรียก) ภาษายิดดิช ภาษารัสเซีย และภาษาอื่น ๆ ของชาวยิวที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ เป็นภาษาของศาสนายิวส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรู มีการสร้างคำใหม่โดยยืมจากภาษาฮีบรูในไบเบิลหรือจากภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก รวมทั้งภาษาในยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาเยอรมัน ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาราชการของปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษตั้งแต..

ใหม่!!: Pและภาษาฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรูไบเบิล

ษาฮีบรูไบเบิล (Biblical Hebrew)หรือภาษาฮีบรูคลาสสิก (Classical Hebrew) เป็นรูปแบบโบราณของภาษาฮีบรูที่ใช้เขียนคัมภีร์ไบเบิลและจารึกในอิสราเอล เชื่อว่าเป็นรูปแบบที่เคยใช้พูดในอิสราเอลสมัยโบราณ ไม่มีการใช้เป็นภาษาพูดในปัจจุบัน แต่ยังมีการศึกษาในฐานะภาษาทางศาสนาของชาวยิว ทฤษฎีของศาสนาคริสต์ นักภาษาศาสตร์และนักโบราณคดีของอิสราเอลเพื่อให้เข้าใจไบเบิลภาษาฮีบรูและปรัชญาของชาวเซมิติกมากขึ้น มีการสอนในโรงเรียนในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรูไบเบิลสามารถอ่านได้บ้างโดยผู้ที่เข้าใจภาษาฮีบรูสมัยใหม่ ซึ่งมีความแตกต่างกันบ้างในด้านคำศัพท์ ไวยากรณ์ และการออกเสียง แม้ว่ากฎของไวยากรณ์ของภาษาฮีบรูไบเบิลและภาษาฮีบรูสมัยใหม่มักจะต่างกัน แต่ภาษาฮีบรูไบเบิลบางครั้งมีใช้ในวรรณคดีภาษาฮีบรูสมัยใหม่ หน่วยในภาษาฮีบรูไบเบิลมักจะใช้ในบทสนทนาและสื่อในอิสราเอล.

ใหม่!!: Pและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแอลเบเนีย

ษาแอลเบเนีย (Shqip; Albanian language) เป็นภาษาที่พูดโดยมากกว่า 6 ล้านคน ส่วนใหญ่ในประเทศแอลเบเนีย รวมถึงประเทศอื่น ๆ ใน ภูมิภาคบอลข่านด้วย โดยพวกผู้อพยพในประเทศอิตาลีและประเทศตุรกี เป็นสาขาของตัวเองในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน.

ใหม่!!: Pและภาษาแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวงศ์พรรณไม้

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: Pและรายชื่อวงศ์พรรณไม้ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฟินิเชีย

ัญชนะและตัวเลขของอักษรฟินิเชีย อักษรฟินิเชีย พัฒนามาจากอักษรคานาอันไนต์ยุคแรกเริ่ม ซึ่งปรากฏครั้งแรกราว 1,800-1,700 ปีก่อนคริสต์ศักราช จารึกเก่าสุดมาจากเมืองโบราณไบบลอส อายุราว 1,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช มีอักษร 22 ตัว ไม่มีเครื่องหมายสระ ชื่อตัวอักษรเหมือนที่ใช้เรียกอักษรฮีบรู.

ใหม่!!: Pและอักษรฟินิเชีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฮีบรู

อรมันในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เขียนโดย Elijah Levita อักษรฮีบรูเป็นอักษรตระกูลเซมิติกไร้สระชนิดหนึ่ง ใช้ในการเขียนงานในภาษาฮีบรู ในยุคแรกๆอักษรฮีบรูโบราณพัฒนามาจากอักษรฟินิเชีย อักษรฮีบรูรุ่นใหม่พัฒนามาจากอักษรอราเมอิกรุ่นแรกๆ จารึกภาษาฮีบรูพบครั้งแรกเมื่อ 557 ปีก่อนพุทธศักราช อักษรนี้เขียนจากขวาไปซ้ายในแนวนอน ตัวอักษรบางตัว เช่น กาฟ, เมม, นุน, ฟี และซาดดี มีรูปท้ายคำ ซึ่งจะพบในตำแหน่งสุดท้ายของคำเท่านั้น ไม่มีตัวเลข ใช้เลขอารบิกแทน สระเสียงยาวกำหนดโดยตัว อะเลฟ, วาว และโยด/ยุด ไม่แสดงสระเสียงสั้นยกเว้นในไบเบิล กวีนิพนธ์และหนังสือสำหรับเด็กและชาวต่างชาต.

ใหม่!!: Pและอักษรฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

อักษรตระกูลเซมิติก

อักษรตระกูลเซมิติก เป็นกลุ่มของตัวอักษรที่พัฒนามาจากอักษรคานาอันไนต์ที่ได้แรงบันดาลใจจากอักษรไฮโรกลิฟฟิกของอียิปต์โบราณ อักษรเหล่านี้ไม่ได้มาจากสัญลักษณ์แทนพยัญชนะของชาวอียิปต์ แต่เป็นการรวมอักษรไฮโรกลิฟฟิกอื่นๆเข้ามาด้วย ทั้งหมดมี 30 ตัว กำหนดชื่อเป็นภาษาเซมิติก เช่น ไฮโรกลิฟ per (บ้าน ในภาษาอียิปต์) กลายเป็น bayt (บ้าน ในภาษาเซมิติก) เมื่อนำมาเขียนภาษาเซมิติกจะเป็นระบบพยัญชนะล้วน โดยอักษรแต่ละตัวแทนเสียงพยัญชนะตัวแรกของชื่อ เช่น รูปบ้าน beyt ใช้แทนเสียง b หรือใช้แทนทั้งเสียง b และลำดับพยัญชนะ byt ดังที่ใช้แทนเสียง p และลำดับพยัญชนะ pr ในภาษาอียิปต์ ในยุคที่ชาวคานาอันนำอักษรนี้ไปใช้ จะใช้แทนเสียง b เท่านั้น ไม่มีหลักฐานว่าอักษรเซมิติกเริ่มต้นมีจำนวนเท่าใดและเรียงลำดับอย่างใด อักษรที่พัฒนาต่อมานั้น อักษรยูการิติคมี 27 ตัว และอักษรฟินิเชียมี 22 ตัว การเรียงลำดับของอักษรเหล่านี้มี 2 แบบ คือ ลำดับ ABGDE ของอักษรฟินิเชีย และลำดับ HMĦLQ ของอักษรทางใต้ อักษรยูการิติกใช้ทั้ง 2 แบบ ชื่อของอักษรมักใช้ตามอักษรฟินิเชีย ทั้งอักษรซามาริทัน อักษรอราเมอิก อักษรซีเรียค อักษรฮีบรูและอักษรกรีก แต่ต่างไปในอักษรอาหรับและอักษรละติน แต่ไม่มีการใช้ชื่ออักษรในอักษรพราหมีและอักษรรูนิก.

ใหม่!!: Pและอักษรตระกูลเซมิติก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเบรลล์ภาษาแอลเบเนีย

อักษรเบรลล์ภาษาแอลเบเนีย เป็นตัวอักษรเบรลล์ของภาษาแอลเบเนี.

ใหม่!!: Pและอักษรเบรลล์ภาษาแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (จำนวน)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: Pและอันดับของขนาด (จำนวน) · ดูเพิ่มเติม »

ธงสองมือ

งสองมือ (จากภาษากรีก σῆμα, เซม่า, หมายถึงป้าย และ φέρω, เฟโล่, หมายถึงคนถือ; รวมกันเป็น คนถือป้าย) คือระบบการรับส่งโทรเลขชนิดหนึ่ง โดยการใช้สัญญาณธงที่มีด้ามไว้ถือ, แผ่นกลมเรืองแสง, ไม้พาย หรือการสวมถุงมือโบกไปมาในกรณีทีไม่มีธงแทนสัญลักษณ์ธงสองมือ ข้อมูลในการสื่อโดยธงสองมือจะขึ้นอยู่กับท่าทางของบุคคลที่สื่อสาร.

ใหม่!!: Pและธงสองมือ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อักษร

ประวัติศาสตร์ของอักษร ชนิดแทนหน่วยเสียงมีจุดเริ่มต้นอยู่ในอียิปต์โบราณ อักษรแทนหน่วยเสียงชนิดแรกเป็นอักษรไร้สระ ปรากฏเมื่อ 1,457 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นผลงานของแรงงานชาวเซมิติกในอียิปต์ เพื่อใช้เขียนภาษาของตนเอง โดยได้รับอิทธิพลจากอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะซึ่งใช้คู่กับอักษรคำในอักษรไฮโรกลิฟฟิก อักษรอื่นๆ ที่ใช้ในปัจจุบันส่วนใหญ่พัฒนามาจากอักษรนี้รวมทั้งอักษรฟินิเชีย อักษรกรีก และอักษรละติน.

ใหม่!!: Pและประวัติศาสตร์อักษร · ดูเพิ่มเติม »

โร

โร (rho; ρω, ρο, ตัวใหญ่ Ρ, ตัวเล็ก ρ หรือ ϱ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 17 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 100 สำหรับอักษรรูปนี้ ϱ จะถูกใช้เมื่อต้องการแยกแยะความแตกต่างออกจากอักษรละติน p รโร.

ใหม่!!: Pและโร · ดูเพิ่มเติม »

TIS-620

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 620-2533, มอก.620-2533, หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า TIS-620 เป็นชุดอักขระมาตรฐานอุตสาหกรรมของไทย มีชื่อเต็มว่า รหัสสำหรับอักขระไทยที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ รหัส TIS-620 มีรายละเอียดคล้ายรหัส ISO-8859-11 มาก แตกต่างกันแค่เพียงที่ ISO-8859-11 กำหนดให้ A0 เป็น "เว้นวรรคแบบไม่ตัดคำ" (no-break space) ส่วน TIS-620 นั้นแม้จะสงวนตำแหน่ง A0 เอาไว้ แต่ก็ไม่ได้กำหนดค่าใด ๆ ให้ TIS-620 x0x1x2x3x4x5x6x7x8x9xAxBxCxDxExF 0xไม่ได้ใช้ 1x 2xSP!"#$%&'()*+,-./ 3x0123456789:;<.

ใหม่!!: PและTIS-620 · ดูเพิ่มเติม »

Р

Er (Р, р) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก โร ซึ่งมีรูปร่างเหมือนอักษรตัวใหญ่ อีกทั้งยังเหมือนอักษรละติน P อีกด้วย อักษรนี้มีชื่อเดิมว่า rǐci และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 100 อักษรนี้ใช้แทนเสียง // เหมือน ร ในภาษาไทย (เสียงรัวลิ้น) และกลายเป็น // เมื่ออยู่หน้าสระที่ออกเสียงเลื่อนไปทางเพดานแข็ง การเขียนอักษรละติน R ซึ่งมีขีดเพิ่มขึ้นมาทางด้านล่าง เป็นการทำให้เกิดความแตกต่างกับอักษรละติน P ที่กำหนดโดยชาวโรมัน ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับรูปร่างของอักษร Er.

ใหม่!!: PและР · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »