โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

17 กรกฎาคม

ดัชนี 17 กรกฎาคม

วันที่ 17 กรกฎาคม เป็นวันที่ 198 ของปี (วันที่ 199 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 167 วันในปีนั้น.

362 ความสัมพันธ์: ชอบ คำนี้ให้ด้วยดวงใจบริสุทธิ์บอยส์แอนด์เกิร์ลส์บัฟฟาโล สปริงฟิลด์ (ชุดเพลง)บักส์ บันนีบิลลี ฮอลิเดย์ชิงร้อยชิงล้าน ชะช่ะช่าบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558บี-2 สปีริทชีส์น็อตยูชเตฟานีแห่งโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงินฟ้ากระจ่างดาวพ.ศ. 2411พ.ศ. 2414พ.ศ. 2436พ.ศ. 2437พ.ศ. 2459พ.ศ. 2461พ.ศ. 2468พ.ศ. 2483พ.ศ. 2488พ.ศ. 2490พ.ศ. 2492พ.ศ. 2495พ.ศ. 2497พ.ศ. 2498พ.ศ. 2499พ.ศ. 2500พ.ศ. 2501พ.ศ. 2506พ.ศ. 2509พ.ศ. 2516พ.ศ. 2518พ.ศ. 2528พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2534พ.ศ. 2537พ.ศ. 2538พ.ศ. 2549พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พ.ศ. 2562พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก...พระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซียพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชพระจุฬาราชมนตรี (สอน อหะหมัดจุฬา)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชยพระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโสพรีเมียร์ลีกพิศาล มูลศาสตรสาทรกรกฎาคม พ.ศ. 2548กรกฎาคม พ.ศ. 2549กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)การบุกครองโปแลนด์การพักรบการวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008การจุดคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 1948การปรากฏตัวของมอร์นิงมุซุเมะการเกณฑ์ทหารในประเทศไทยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 6 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2553กิตติ สีหนนทน์กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลกกีเซอร์ บัตเลอร์ฝ่ายข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3มหาวิทยาลัยพะเยามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชมันนีอินเดอะแบงก์ (2011)มายา ลอว์เรนซ์มาร์วิน เพียซมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ 2009มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2554มนุษย์มดมหากาฬมนต์รักสองฝั่งคลองยามาดะ ครอบครัวนี้ไม่ธรรมดายุทธการที่แอตแลนตายุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครองยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ยูไนท!ระเบิดเถิดเทิง ลั่นทุ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานของไทยรัฐอิสราเอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976รัฐคูเวตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976รัฐโอคลาโฮมาราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ราชรัฐลิกเตนสไตน์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ราชรัฐอันดอร์ราในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ราชวงศ์ชิงราชวงศ์โชซ็อนราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ราชอาณาจักรเนปาลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976รายชื่อบทของฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบานรายชื่อบทความวันนี้ในอดีตรายชื่อบทใน คุณครูจอมเวท เนกิมะ!รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถรายชื่อฝนดาวตกรายชื่อธงในประเทศอิตาลีรายชื่อตอนในสึซึมิยะ ฮารุฮิรายชื่อตอนในฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบานรายชื่อตอนในเบ็นเท็น: พลังเอเลี่ยนรายชื่อตอนในเอ็กซีคิวชั่นแนลรายชื่อตัวละครในเรื่องการ์ฟีลด์รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทยรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษรายพระนามพระสันตะปาปารายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ชิงรายนามประธานาธิบดีซีเรียรายนามนักมวยแชมป์โลกชาวฟิลิปปินส์รายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศสรายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี)ร็อคแมน X7ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟนวัดโคนอน (จังหวัดนนทบุรี)วังน้ำวนวันชาติวันเอกราชวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคามวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดลว้อ ... หมาบ้ามหาสนุกศิริภุช กุลน้อยสมศักดิ์ ศิษย์ชัชวาลย์สมาคมคนหนีโลกสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทสมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีอเล็กซันดราแห่งยูโกสลาเวียสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินีสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สหภาพโซเวียตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สายลับรักป่วนสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐกัวเตมาลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5สาธารณรัฐสิงคโปร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐอิสลามอิหร่านในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐฮอนดูรัสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐคอสตาริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐตูนิเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐซานมารีโนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐปารากวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐนิการากัวในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐแคเมอรูนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐโบลิเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐโกตดิวัวร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐโดมินิกันในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐโคลอมเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐเอกวาดอร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐเฮติในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สาธารณรัฐเซเนกัลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976สุวัจน์ ลิปตพัลลภสี่แผ่นดิน เดอะมิวสิคัลสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสสงครามกลางเมืองสเปนสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2015–16สโมสรฟุตบอลจังหวัดสุพรรณบุรีในฤดูกาล 2559สโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด ฤดูกาล 2007-08สโมสรฟุตบอลแบงค็อก ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2559สโมสรฟุตบอลเชียงราย ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2559สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ดหมวดโอภาสหมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976หมู่เกาะเคย์แมนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976หม่อมเจ้าโสภณภราไดย สวัสดิวัตน์หลุยส์ อะดอลฟา เลอโบหว่อง ก๊า ไหว่อมตะ คอร์ปอเรชั่นอะซะมิ คนโนะอะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซียอัจฉริยะข้ามคืนอังกอร์ (ละครโทรทัศน์)อังเกลา แมร์เคิลอันเชนเมโลดีอันเดรียน กัสปารีอาเลกซานดาร์ คาราจอร์เจวิชอำเภอบ้านตาขุนอำเภอวังสะพุงอำเภอสุวรรณคูหาอำเภอทุ่งเสลี่ยมอิสซาเบลลาแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสอิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์อุลตร้าแมนอุลตร้าแมน (ตัวละคร)อุ้มรักอี.อาร์.เอ. รอมิวลุสอีร์เรเอมปลาซาเบลองค์การบริหารส่วนตำบลหนองสามวังอ็องรี ปวงกาเรฮาร์ดี อมีสฌอร์ฌ เลอแม็ทร์ฌาน ดาร์กฌูล บีย็องกีจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 แห่งรัสเซียจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซียจักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก)จักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซียจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2จังหวัดบัวใหญ่จารุวัฒน์ เชี่ยวอร่ามจำอวดหน้าจอจิรพัฒน์ สุตตปัญญาจี7ธารินทร์ นิมมานเหมินท์ธีฟอินเดอะเทมเพิลทรีสแปลชทศพล ลาเทศขบวนการอาเจะฮ์เสรีขบวนการซูเปอร์อิเล็กตรอน ไบโอแมนณัฐรัฐ โมริส เลอกรองดรีมมิงออฟยูดิลิเชียสเวย์คริสตัลพาเลซเซอร์กิตคลื่นสึนามิคองคอร์ดคาบสมุทรชิเระโตะโกะคามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอลคณะกรรมการมรดกโลกคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยาคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยาคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยาคนมีเสน่ห์ตราบาปสีขาวตราแผ่นดินของไอซ์แลนด์ฉิน หลานซะยะกะ อิชีซูเปอร์โรบ็อตไทเซ็นซีโอทู (วงดนตรี)ประยูร ภมรมนตรีประวัติศาสตร์สเปนประวัติศาสตร์เยอรมนี (ค.ศ. 1945–1990)ประสิทธิ์ พิลาดวงประหยัด ศ. นาคะนาทประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศบาร์เบโดสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศบาฮามาสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศฟีจีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศมองโกเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศมาเลเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศอินโดนีเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศอุรุกวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศตรินิแดดและโตเบโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศซูรินามในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศปากีสถานในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศปาปัวนิวกีนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศปานามาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศแอนติกาและบาร์บูดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศโมร็อกโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศไทยใน พ.ศ. 2436ประเทศไทยใน พ.ศ. 2468ประเทศเบลีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศเบอร์มิวดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศเกาหลีเหนือในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศเวเนซุเอลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศเปรูในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ปริญญา ฤกษ์หร่ายปล่อยของปวยร์โตรีโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์แพ กี-ซ็อกแกรนด์ดัชเชสมารีเยีย นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย (1899–1918)แกรนด์ดัชเชสมาเรีย ปาฟลอฟนาแห่งรัสเซีย (เจ้าหญิงมารีแห่งเม็คเล็นบูร์ก-ชเวริน)แกรนด์ดัชเชสตะตยานา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซียแกรนด์ดัชเชสโอลกา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซียแกะกล่องหนังไทยโรงเรียนการบินทหารบกโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยาโรงเรียนทุ่งเสลี่ยมชนูปถัมภ์โรโบคอปโรเบิร์ต คารร์ เอิร์ลที่ 1 แห่งซัมเมอร์เซตโลวิส โครินธ์โอเล่ห์ดง ศักดิ์เสมอชัยโอเคนาวโทกูงาวะ อิเอโมจิโซคูลโปเกมอน เดอะมูฟวี่ ตอน ลูเกีย จ้าวแห่งทะเลลึกไมค์ โวเกลไลโอเนล ไฟนิงเกอร์ไอพอดไทยแอร์เอเชียเอกซ์เฟลีเป เด มารีชาลาร์ อี บอร์บอนเพลงล้อเลียนเกลาเดียว โลเปซเกษม ศิริสัมพันธ์เกิดเป็นหงส์เกียรติพงษ์ รัชตเกรียงไกรเลิฟ ~เดสทินี~ / เลิฟ ~ซินส์ 1999~เหตุเฮลิคอปเตอร์ตกที่อำเภอแก่งกระจาน พ.ศ. 2554เอจิ สึบุระยะเอ็กซีคิวชั่นแนลเฮลโล! พรอเจกต์เจมส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์เจ้าชายเลกาที่ 1 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนียเจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์เจ้าหญิงออกัสตาแห่งเคมบริดจ์เจ้าหญิงซูซาน มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนียเขตบริหารพิเศษฮ่องกงในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976เดวิด อัศวนนท์เดือน 8เซอร์ไวเวอร์ กากายันเปตรู ราคูเนเธอร์แลนด์แอนทิลลิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976WORLD WAR STAR THAILAND อุบัติการณ์แห่งดวงดาว12 พฤศจิกายน13 มกราคม25 เมษายน29 เมษายน5 มิถุนายน6 พฤษภาคม6 มิถุนายน9 กันยายน ขยายดัชนี (312 มากกว่า) »

ชอบ คำนี้ให้ด้วยดวงใจบริสุทธิ์

"ชอบ" คำนี้ให้ด้วยดวงใจบริสุทธิ์ (Suki: A Like Story) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นที่เขียนขึ้นโดยนักวาดการ์ตูนญี่ปุ่น แคลมป์ แนวการ์ตูน รักโรแมนติค พิมพ์ครั้งแรกในญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2542 (พ.ศ. 2542) โดยสำนักพิมพ์คาโดกาว่า ในไทยจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์บงกช ในปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและชอบ คำนี้ให้ด้วยดวงใจบริสุทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

บอยส์แอนด์เกิร์ลส์

อยส์แอนด์เกิร์ลส์ เป็นซิงเกิลที่ 9 ของอายูมิ ฮามาซากิ วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 โดยเปิดตัวสัปดาห์แรกที่อันดับที่ 2 ของชาร์ตออริกอน ด้วยยอดขาย 262,000 แผ่น เนื่องจากซิงเกิล "บีทูเก็ทเทอร์" ของอามิ ซุซูกิวางขายในวันเดียวกัน แต่ต่อมาก็สามารถขึ้นถึงอันดับที่ 1 ชาร์ตออริกอนได้ในสัปดาห์ถัดมา โดยสามารถครองอันดับที่ 1 ได้นานถึง 3 สัปดาห์ และมียอดขายมากกว่า 1 ล้านแผ่น โดยเป็นซิงเกิลที่มียอดขายสูงสุดตลอดกาลของญี่ปุ่นในลำดับที่ 221 "บอยส์แอนด์เกิร์ลส์" เป็นซิงเกิลแรกของอายูมิที่สามารถขึ้นถึงอันดับที่ 1 ออริกอนชาร์ตยาวนานถึง 3 สัปดาห์ และมียอดขายมากกว่า 1 ล้านแผ่นเป็นซิงเกิลแรก จึงส่งผลให้อายูมิแจ้งเกิดในวงการเพลงของญี่ปุ่น โดยเป็นปีแรกที่เธอสามารถเข้าร่วมงานขาว-แดงของสถานีโทรทัศน์ HNK อีกทั้งยังส่งผลให้ซิงเกิลต่อๆมาของเธอขึ้นอันดับที่ 1 ชาร์ตออริกอนเกือบทุกซิงเกิลจนถึงทุกวันน เพลง "บอยส์แอนด์เกิร์ลส์" อายูมิจะร้องในคอนเสิร์ตของเธอบ่อยครั้ง ซึ่งเหมือนกับเพลง "Trauma" มักจะอยู่ในช่วงอังกอร์ในทุกๆคอนเสิร์ตของเธอ.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและบอยส์แอนด์เกิร์ลส์ · ดูเพิ่มเติม »

บัฟฟาโล สปริงฟิลด์ (ชุดเพลง)

หน้าปกอัลบั้ม บัฟฟาโลสปริงฟิลด์ เป็นชุดเพลงของวงบัฟฟาโล สปริงฟิลด์ ที่เป็นการนำมาผลิตใหม่จากที่บันทึกเสียงไว้ตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2509 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2511 โดยออกวางจำหน่ายเมื่อ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 มีความยาวทั้งสิ้น 4 ชั่วโมง 3 นาที 30 วินาที.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและบัฟฟาโล สปริงฟิลด์ (ชุดเพลง) · ดูเพิ่มเติม »

บักส์ บันนี

ักส์ บันนี ของ ลูนีทูนส์ ในตอน "แรบบิต ทรานซิต" บักส์ บันนี บนแสตมป์ของสหรัฐอเมริกา บักส์ บันนี (Bugs Bunny) เป็นตัวการ์ตูนใน ลูนีย์ทูนส์ และเดอะ ลูนี่ตูนส์ โชว์ ซึ่งการ์ตูนซีรีส์เป็นตอน ๆ และเป็นตัวการ์ตูนที่เป็นที่รู้จักไปทั่วโลก บักส์บอกว่าเขาเกิดในปี พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) ที่ย่านบรูกลิน ในนครนิวยอร์ก แต่เสียงของ เมล แบลงก์ ซึ่งพากย์เสียงของ บักส์ บันนี เป็นสำเนียงลูกผสมระหว่างคนย่านบรองซ์กับบรูกลิน บักส์เป็นที่รู้จักกันดีจากการเป็นคู่แค้นกับ เอลเมอร์ ฟัดด์ โยเซมิตี แซม มาร์วิน มาร์เชียนแม้กระทั่ง ไวลี อี. ไคโยตี (ซึ่งโดยปกติแล้วจะไล่ล่า โรด รันเนอร์) (แต่ใน เดอะ ลูนี่ตูนส์ โชว์ พวกเขาเป็นเพื่อนของบักส์) ทุกครั้งที่มีเรื่องมีราวกัน บักส์จะลงเอยเป็นผู้ชนะเสมอ โดยเฉพาะตอนที่กำกับโดย ชัคก์ โจนส์ ผู้ซึ่งชอบจับคู่ชน ระหว่าง "ผู้ชนะ" กับ "ผู้แพ้" เนื่องจากโจนส์เป็นห่วงว่า ในที่สุดผู้ชมจะหมดความเห็นอกเห็นใจให้กับ บักส์ ซึ่งเป็นผู้ชนะตลอด (โดยปกติ ผู้ชนะมักจะเป็นฝ่ายที่ก้าวร้าวกว่า) โจนส์จึงได้วางเนื้อเรื่องให้บักส์นั้นถูกรังแก ถูกล่อลวง และถูกข่มขู่ ซ้ำแล้วซ้ำเล่า จากอีกฝ่ายที่มีเรื่องกันเสมอ หลังจากถูกหาเรื่อง (ปกติแล้วจะเกิดขึ้น 3 ครั้ง) บักส์ก็จะพูดว่า "Of course, you realize this means war" (แน่นอน คุณก็เห็นว่านี่คือสงคราม) เป็นคำพูดที่โจนส์เอามาจาก เกราโช มาร์กซ และผู้ชมก็จะไม่ว่าอะไร ในลักษณะเป็นเชิงให้อนุญาตให้บักส์นั้น เริ่มใช้ความรุนแรงตอบโต้ได้ แต่ในตอนที่บักส์ พบกับตัวการ์ตูนที่เป็น "ผู้ชนะ" เหมือนกัน เช่น ซิซิล เดอะ เทอเทิล ใน Tortoise Beats Hare (กระต่ายกับเต่า) หรือใน WWII (สงครามโลกครั้งที่สอง) the Gremlin of Falling Hare บักส์มักจะเสียสถิติในการเป็นผู้ชนะ เนื่องจากความมั่นใจในตัวเองมากเกินไป.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและบักส์ บันนี · ดูเพิ่มเติม »

บิลลี ฮอลิเดย์

ลลี ฮอลิเดย์ (Billie Holiday) (7 เมษายน ค.ศ. 1915 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1959) นักร้องผิวสีชาวอเมริกัน เจ้าของฉายา เลดี้เดย์ (Lady Day) เป็นนักร้องเพลงแจ๊ซ สวิงและบลูส์ที่มีน้ำเสียงและวิธีการร้องที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร ด้วยน้ำเสียงแหบหยาบ หม่นเศร้า ประกอบกับเพลงส่วนใหญ่ที่เธอเลือกร้อง มักมีเนื้อหาเกี่ยวกับความผิดหวัง เศร้าหมอง ขมขื่น สอดคล้องกับชีวิตจริงของเธอเอง.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและบิลลี ฮอลิเดย์ · ดูเพิ่มเติม »

ชิงร้อยชิงล้าน ชะช่ะช่า

งร้อยชิงล้าน ชะชะช่า เป็นรายการเกมโชว์ที่ปรับเปลี่ยนรูปแบบมาจากรายการ ชิงร้อยชิงล้าน ซูเปอร์เกม โดยออกอากาศครั้งแรกทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เมื่อวันพุธที่ 4 มีนาคม..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและชิงร้อยชิงล้าน ชะช่ะช่า · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

บี-2 สปีริท

ี-2 สปีริท มาจากชื่อเต็มในภาษาอังกฤษว่า Northrop Grumman B-2 Spirit (นอร์ทธรอป กรัมแมน บี-2 สปีริท)ผลิต โดยบริษัท นอร์ทธรอป กรัมแมน (Northrop Grumman)เป็นอากาศยานทิ้งระเบิดหนัก บินครั้งแรกเมื่อ ปี..1988 โดยใช้เทคโนโลยีชั้นสูงในการบินโดยไม่ให้ฝั่งศัตรูจับได้ และนอกจากนี้ยังเป็นอากาศยานที่มีราคาสูงที่สุดในโลกตั้งแต่มีการผลิตขึ้นมา และมีการผลิตมาเพื่อใช้ในกองทัพ เพียงแค่ 20 ลำเท่านั้น เนื่องจาก ราคาอันสูงของมัน และปัญหาเศรษฐกิจที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการสร้าง เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2008 เครื่อง B-2 หมายเลข AV-12 ได้ประสบอุบัติเหตุตก ที่เกาะกวม โชคดีนักบินทั้ง 2 นายดีดตัวออกมาทัน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและบี-2 สปีริท · ดูเพิ่มเติม »

ชีส์น็อตยู

ซีส์น็อตยู (She's Not You) เป็นเพลงที่บันทึกเสียงโดย เอลวิส เพรสลีย์ ในปี ค.ศ. 1962 และจัดจำหน่ายโดย Gladys Music, เอลวิสเพรสลีย์ พับบลิชิ่ง คอมพานี ติดชาร์ตอันดับที่ 5 ของ Hot 100 และอันดับที่ 13 ของชาร์ต R&B แต่งโดย Jerry Leiber, Mike Stoller และDoc Pomus.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและชีส์น็อตยู · ดูเพิ่มเติม »

ชเตฟานีแห่งโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน

ตฟานี โยเซฟา ฟรีเดอริเคอ วิลเฮลมีน อันโทเนีย แห่งโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน เป็นเจ้าหญิงเยอรมันซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์โปรตุเกสและอัลเกรฟ และได้ขึ้นเป็นพระราชีนีในพระเจ้าเปดรูที่ 5 แห่งโปรตุเก.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและชเตฟานีแห่งโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้ากระจ่างดาว

ฟ้ากระจ่างดาว ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2548 และในปี พ.ศ. 2555 ได้นำกลับมาสร้างใหม่อีกครั้ง แต่ได้นำมาสร้างเป็น ซีรีส์สามทหารเสือสาว ผ่านนิยายรัก ฟ้ากระจ่างดาว ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ รับบทเป็น สารวัตรหิรัณย์ ภีรนีย์ คงไทย รับบทเป็น มีคณ.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและฟ้ากระจ่างดาว · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2411

ทธศักราช 2411 ตรงกั.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2411 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2414

ทธศักราช 2414 ตรงกั.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2414 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2436

ทธศักราช 2436 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1893 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2436 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2437

ทธศักราช 2437 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1894 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2437 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2459

ทธศักราช 2459 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1916 เป็นปีอธิกสุรทินแรกของไทย ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2459 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2461 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2468

ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2468 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2492 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2497 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2499 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2562

ทธศักราช 2562 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2019 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพ.ศ. 2562 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 เจ้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 (Descendants of King Christian IX) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 6 พระองค์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (8 เมษายน พ.ศ. 2361 - 29 มกราคม พ.ศ. 2449 เสวยราชสมบัติ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406) โดยมีพระราชนัดดา 39 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 84 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ของทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก โดยทรงเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์อังกฤษ นอร์เวย์ เบลเยียม กรีซ โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย สเปน และรัสเซีย จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า พระสัสสุระแห่งยุโรป (Father-in-Law of Europe) สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 ทรงครองราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์กเป็นเวลานานเกือบ 50 ปี ในระหว่างปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย

ระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 (Descendants of Emperor Nicholas I) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิต เริ่มจากการอภิเษกสมรสของสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2339 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2398 เสวยราชสมบัติ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2368 สืบต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 พระบรมเชษฐาธิราช) พระราชโอรสลำดับที่ 9 ในสมเด็จพระจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย (พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดินีแคเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย หรือ แคเธอรีนมหาราชินี) กับ สมเด็จพระจักรพรรดินีมารี เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (พระอิสริยยศเดิม เจ้าหญิงโซฟี-โดโรเธียแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2360 ณ พระราชวังฤดูหนาว กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก กับ เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย (ฟรีเดริเค หลุยซา ชาร์ล็อต วิลเฮลมินา; 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2341 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403 ซึ่งทรงเปลี่ยนพระนามเป็น แกรนด์ดัชเชสอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย หลังจากการเข้ารีตในนิกายออร์โธด็อกซ์รัสเซีย เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2460) และมีพระราชโอรสธิดาทั้งหมด 7 พระองค์ พระราชนัดดา 31 พระองค์ และพระราชปนัดดาจำนวนหลายพระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) พระราชโอรสและพระราชธิดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา นิโคไลเยฟนาแห่งรัสเซีย (สมเด็จพระราชินีแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ส่วนพระราชนัดดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา คอนสแตนตินอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมา สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ) และแกรนด์ดัชเชสอนาสตาเซีย มิคาอิลอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมาคือ แกรนด์ดัชเชสแห่งเม็คเล็นบูร์ก-ชเวริน).

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช

ร้อยเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช หรือ พระองค์พีระ (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 — 23 ธันวาคม พ.ศ. 2528) ทรงเป็นนักแข่งรถชาวไทย และทรงเป็นผู้เข้าแข่งขันกีฬาเรือใบในโอลิมปิก 1956, 1960, 1964 และ 1972.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระจุฬาราชมนตรี (สอน อหะหมัดจุฬา)

ระจุฬาราชมนตรี (สอน อหะหมัดจุฬา) เป็นบุตรพระยาจุฬาราชมนตรี (สัน อหะหมัดจุฬา) กับคุณหญิงถนอม เกิดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2437 เข้ารับราชการในกรมท่าขวา ได้เป็นหลวงราชเศรษฐีเมื่อ พ.ศ. 2456 ได้รับการแต่งตั้งเป็นจุฬาราชมนตรีเมื่อ พ.ศ. 2473 ถือเป็นจุฬาราชมนตรีคนสุดท้ายในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ถึงแก่กรรมเมื่อ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 รวมอายุได้ 56 ปี.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพระจุฬาราชมนตรี (สอน อหะหมัดจุฬา) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชย

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชย (22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2399 - 29 มีนาคม พ.ศ. 2416) พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) ประสูติปี พ.ศ. 2399 เป็นพระเจ้าลูกเธอ ลำดับที่ 29 ในจำนวนทั้งหมด 82 พระองค์ สิ้นพระชนม์เมื่อพระชันษา 18 ปี.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส (Charles VII de France; Charles VII of France) (22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1403- 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1461) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัว ที่ได้รับการขนานพระนามว่า “le Victorieux” (ผู้พิชิต) หรือ “le Bien-Servi” (ผู้ได้รับการสนองพระบรมราชโองการเป็นอย่างดี) พระเจ้าชาร์ลทรงเป็นเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าชาร์ลที่ 6 แห่งฝรั่งเศส การขึ้นครองราชบัลลังก์ของพระองค์ได้รับการคัดค้านโดยฝ่ายอังกฤษที่ขณะนั้นมีอำนาจอยู่ทางตอนเหนือของฝรั่งเศส คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษที่นำโดยจอห์นแห่งแลงคาสเตอร์ ดยุกแห่งเบดฟอร์ดที่ 1 ที่ทำการปกครองฝรั่งเศสแทนพระเจ้าเฮนรีอยู่ในปารีสก็อ้างว่าพระเจ้าเฮนรีที่ 6 ทรงเป็นผู้มีสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสอย่างถูกต้องตามที่ระบุในสนธิสัญญาตรัวส์ (Treaty of Troyes) แต่พระเจ้าชาร์ลก็ทรงได้เข้าทำพระราชพิธีบรมราชาภิเษกที่เมืองแรงส์ในปี ค.ศ. 1429 ด้วยความช่วยเหลือของโจนออฟอาร์คในการทำสงครามขับไล่อังกฤษออกจากฝรั่งเศส พระเจ้าชาร์ลทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสตั้งแต่วันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1422 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1461 ในปลายรัชสมัยพระองค์ทรงต้องประสบกับความยุ่งยากจากความขัดแย้งกับพระราชโอรสผู้ครองราชย์ต่อมาเป็นพระเจ้าหลุยส์ที่ 11 แห่งฝรั่ง.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส

มเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส (Edward the Elder; Ēadweard se Ieldra) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์เวสเซ็กซ์ของราชอาณาจักรอังกฤษ ประสูติเมื่อคริสต์ทศวรรษ 870 และสวรรคตเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 924 พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโสเสด็จพระราชสมภพเมื่อประมาณปี ค.ศ. 870 ที่เวสเซ็กซ์ ในอังกฤษ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช และ เอลสวิธ ทรงเสกสมรสกับ เอ็กกวินน์, เอลเฟลด และ อีดกิฟู และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 899 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 924 ที่ฟาร์นดัน ออน ดี, เชสเชอร์, อังกฤษ.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส · ดูเพิ่มเติม »

พรีเมียร์ลีก

รีเมียร์ลีก (Premier League) เป็นระบบการแข่งขันฟุตบอลลีกในระดับสูงสุดของประเทศอังกฤษ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2535 ภายใต้การบริหารของสมาคมฟุตบอลอังกฤษ การแข่งขันพรีเมียร์ลีกเป็นที่รวมของ 20 สโมสรฟุตบอลในระดับสูงสุดของอังกฤษเข้าด้วยกัน โดยปัจจุบันมีเพียง 6 ทีมเท่านั้น ที่ชนะเลิศในการแข่งขันรายการนี้ ได้แก่ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 13 สมัย, เชลซี 5 สมัย, อาร์เซนอล กับแมนเชสเตอร์ซิตี ทีมละ 3 สมัย, แบล็กเบิร์นโรเวอส์ และเลสเตอร์ซิตี ทีมละ 1 สมัย พรีเมียร์ลีกเป็นโลโก้พิเศษที่สโมสรฟุตบอลในอังกฤษต่างก็มาเป็นสมาชิกใหม่ในอีกไม่ช้.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพรีเมียร์ลีก · ดูเพิ่มเติม »

พิศาล มูลศาสตรสาทร

ล มูลศาสตรสาทร (10 พฤษภาคม 2472 - 27 มีนาคม 2539) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และอดีตเลขาธิการพรรคความหวังใหม.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและพิศาล มูลศาสตรสาทร · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและกรกฎาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและกรกฎาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

กรุงเทพมหานคร (ย่อ: กทม.; Bangkok Metropolitan Administration, BMA) เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ซึ่งทำหน้าที่บริหารเขตการปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร ตามกฎหมายปัจจุบันคือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและกรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองโปแลนด์

การบุกครองโปแลนด์ หรือเรียกการทัพกันยายน (Kampania wrześniowa) หรือสงครามตั้งรับปี 1939 (Wojna obronna 1939 roku) ในโปแลนด์ และ การทัพโปแลนด์ (Polenfeldzug) หรือ ฟัลล์ไวสส์ (Fall Weiss) ในเยอรมนี เป็นการบุกครองโปแลนด์ร่วมโดยเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสโลวาเกียซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป การบุกครองของเยอรมนีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 หนึ่งสัปดาห์ให้หลังการลงนามสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ขณะที่การบุกครองของโซเวียตเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 17 กันยายน 1939 หลังความตกลงโมโลตอฟ-โตโก ซึ่งยุติความเป็นปรปักษ์ระหว่างสหภาพโซเวียตและญี่ปุ่นในภาคตะวันออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน การทัพดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 6 ตุลาคมด้วยเยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแยกและผนวกโปแลนด์ทั้งประเทศตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–โซเวียต กำลังเยอรมนีบุกครองโปแลนด์จากทิศเหนือ ใต้ และตะวันตกในเช้าหลังเกิดกรณีกลิวิซ ขณะที่เวร์มัคท์รุกคืบ กำลังโปแลนด์ถอนจากฐานปฏิบัติการส่วนหน้าติดกับพรมแดนโปแลนด์–เยอรมนีไปแนวป้องกันที่จัดตั้งดีกว่าทางตะวันออก หลังโปแลนด์แพ้ยุทธการที่บึซราเมื่อกลางเดือนกันยายน ทำให้เยอรมนีได้เปรียบแน่นอน จากนั้นกำลังโปแลนด์ถอนตัวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ที่ซึ่งพวกเขาเตรียมการป้องกันระยะยาวที่หัวสะพานโรมาเนียและคอยการสนับสนุนและการช่วยเหลือที่คาดจากฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ทั้งสองประเทศมีสนธิสัญญากับโปแลนด์และประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 กันยายน แต่สุดท้ายแล้วทั้งสองช่วยเหลือโปแลนด์แต่เพียงเล็กน้อย การบุกครองโปแลนด์ตะวันออกของกองทัพแดงโซเวียตเมื่อวันที่ 17 กันยายนตามพิธีสารลับในสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ทำให้แผนการตั้งรับของโปแลนด์ต้องเลิกไป เมื่อเผชิญกับแนวรบที่สอง รัฐบาลโปแลนด์สรุปว่าการป้องกันหัวสะพานโรมาเนียเป็นไปไม่ได้อีกต่อไปและสั่งอพยพกำลังพลฉุกเฉินทั้งหมดไปยังประเทศโรมาเนียที่เป็นกลาง วันที่ 6 ตุลาคม หลังโปแลนด์ปราชัยที่ยุทธการที่ค็อก (Kock) กำลังเยอรมนีและโซเวียตก็ควบคุมโปแลนด์อย่างสมบูรณ์ ความสำเร็จของการบุกครองนี้เป็นจุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง แม้โปแลนด์จะไม่เคยยอมจำนนอย่างเป็นทางการก็ตาม วันที่ 8 ตุลาคม หลังสมัยการบริหารทหารทหารช่วงต้น เยอรมนีได้ผนวกโปแลนด์ตะวันตกและอดีตนครเสรีดันซิกโดยตรง และกำหนดให้ดินแดนส่วนที่เหลืออยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลทั่วไป (General Government) สหภาพโซเวียตรวมพื้นที่ที่เพิ่งได้มาเข้ากับสาธารณรัฐองค์ประกอบเบลารุสและยูเครนของตน และเริ่มการรณรงค์ปลูกฝังความเป็นโซเวียตทันที หลังการบุกครองดังกล่าว องค์การขัดขืนใต้ดินหลายกลุ่มได้ตั้งรัฐใต้ดินโปแลนด์ขึ้นในดินแดนของอดีตรัฐโปแลนด์ ในเวลาเดียวกับที่ทหารลี้ภัยจำนวนมากซึ่งสามารถหลบหนีออกนอกประเทศได้ก็เข้าร่วมกับกองทัพโปแลนด์ในทิศตะวันตก ซึ่งเป็นกองทัพที่ภักดีต่อรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและการบุกครองโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

การพักรบ

การพักรบ (truce) หรือการหยุดยิง (ceasefire) ได้แก่การพักการรบพุ่งซึ่งกันในการณรงค์สงครามหรือในเหตุการณ์ขัดแย้งอื่นใดอันมีการใช้อาวุธ ทั้งนี้ การพักรบต้องเป็นไปโดยความเห็นชอบของทุกฝ่ายที่ตกลงจะพักรบ การพักรบอาจกระทำได้โดยการประกาศหรือทำเป็นหนังสือสัญญาอย่างเป็นทางการก็ได้ หรือกระทำโดยประการอื่นใดอันไม่เป็นทางการแต่เป็นที่รับรู้โดยทั่วไปก็ได้.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและการพักรบ · ดูเพิ่มเติม »

การวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

การคุ้มกันผู้วิ่งคบเพลิงที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ การวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 จะสิ้นสุดลงในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) เพื่อนำไปจุดในงานเปิดมหกรรมกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน แผนการของการวิ่งนั้นได้ถูกประกาศเมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2550 (ค.ศ.2550) ภายใต้สโลแกนว่า "Journey of Harmony" (和諧之旅) และคาดว่าจะใช้เวลาวิ่ง 130 วัน ผ่าน 21 ประเทศรวมประเทศจีน ระยะทาง 137,000 ก.ม. (85,100 ไมล์) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการวิ่งคบเพลิงที่ยาวที่สุดนับตั้งแต่การวิ่งคบเพลิงครั้งแรก เมื่อปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและการวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

การจุดคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

การจุดคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 เป็นการจุดคบเพลิงโอลิมปิกครั้งที่ 2 ที่ลอนดอน สหราชอาณาจักร คบเพลิงโอลิมปิก.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและการจุดคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

การปรากฏตัวของมอร์นิงมุซุเมะ

รรยากาศคอนเสิร์ต ''วันเดอร์ฟูลฮาร์ทส 2006'' ของมอร์นิงมุซุเมะ (พ.ศ. 2549) ในฐานะภาพตัวแทนของช่องทางการปรากฏตัวของมอร์นิงมุซุเมะช่องทางหนึ่ง การปรากฏตัวของมอร์นิงมุซุเมะ เป็นการแสดงข้อมูลเกี่ยวกับปรากฏตัวทางรายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ ภาพยนตร์ ภาพยนตร์โฆษณา ละครเพลง วิดีโอเกม และผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ของกลุ่มนักร้องหญิงญี่ปุ่นแนวเจ-ป็อปที่ชื่อมอร์นิงมุซุเม.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและการปรากฏตัวของมอร์นิงมุซุเมะ · ดูเพิ่มเติม »

การเกณฑ์ทหารในประเทศไทย

การเกณฑ์ทหารเป็นกฎหมายตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งในทางปฏิบัติพระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ. 2497 กำหนดหน้าที่นี้ให้เฉพาะชายที่มีสัญชาติเป็นไทยตามกฎหมายมีหน้าที่ต้องเข้ารับราชการทหารด้วยตนเองทุกคน ชายไทยเริ่มเป็นทหารกองเกินนับแต่อายุครบ 18 ปีบริบูรณ์ ทหารกองเกินอาจถูกเรียกไปรับการตรวจเลือกเพื่อเข้ากองประจำการได้เมื่ออายุครบ 21 ปีบริบูรณ์ ทหารกองเกินเมื่อเข้ารับราชการทหารกองประจำการครบกำหนด หรือสำเร็จการฝึกวิชาทหารตามหลักสูตรที่กระทรวงกลาโหมกำหนด หรือมีอายุครบ 30 ปีบริบูรณ์ จะถูกปลดเป็นทหารกองหนุน เมื่อเวลาผ่านไปหรืออายุครบตามที่กำหนดทหารกองหนุนก็จะถูกปลดพ้นราชการทหาร ในระหว่างที่เป็นทหารกองเกินหรือทหารกองหนุนนั้น อาจถูกเรียกพลได้ตามที่กระทรวงกลาโหมเห็นสมควร และอาจถูกระดมพลได้หากมีพระราชกฤษฎีกา ชายไทยจำนวนมากไม่ต้องรับราชการทหารกองประจำการเพราะผ่านการเรียนรักษาดินแดนครบสามปี หรืออาจมีเหตุได้รับการยกเว้นหรือผ่อนผันได้ตามที่กฎหมายกำหนดทำให้ไม่ต้องไปรับการตรวจเลือกหรือไปในวันตรวจเลือก แต่ถูกคัดออกเสียก่อน สำหรับผู้ที่ไม่ได้เรียนรักษาดินแดน หรือ เรียนไม่ครบหลักสูตรตามที่กระทรวงกลาโหมกำหนด (ไม่จบชั้นปีที่ 3) หรือ ผ่อนผันครบกำหนดแล้ว จะต้องเข้าสู่กระบวนการตรวจเลือกเข้ากองประจำการเต็มขั้น โดยถูกจำแนกออกเป็นสี่จำพวกตามความสมบูรณ์ของร่างกาย หากมีผู้ประสงค์สมัครใจเข้ากองประจำการเต็มจำนวนที่รับแล้ว ก็จะไม่มีการจับสลาก ส่วนในกรณีที่มีผู้สมัครไม่พอและมีคนให้เลือกมากกว่าจำนวนที่ต้องการก็จะใช้วิธีจับสลากใบดำใบแดง ผู้จับได้ใบแดงจะต้องเข้ารับราชการทหารกองประจำการ แม้จะมีบทลงโทษที่ร้ายแรง ก็มีรายงานการช่วยให้พ้นจากการรับราชการทหารกองประจำการด้วยวิธีนานาประการอยู่เนือง ๆ ซึ่งหลายครั้งก็เกี่ยวข้องกับบุคคลผู้มีชื่อเสียงในสังคม ในช่วงปีหลังมีความพยายามเรียกร้องให้ยกเลิกการเกณฑ์ทหาร พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส กล่าวว่า หากตนได้รับเลือกตั้งจะยกเลิกการเกณฑ์ทหาร.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและการเกณฑ์ทหารในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 6 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2553

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 6 แทนตำแหน่งที่ว่าง..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 6 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

กิตติ สีหนนทน์

นายกิตติ สีหนนทน์ (14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 - 24 มกราคม พ.ศ. 2527) อดีตองคมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตรองประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและกิตติ สีหนนทน์ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก

กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก (FINA World Championships หรือ World Aquatics Championships) เป็นการแข่งขันกีฬาทางน้ำซึ่งได้แก่: ว่ายน้ำ, กระโดดน้ำ, ว่ายน้ำมาราธอน, ระบำใต้น้ำ, โปโลน้ำ อยู่ภายใต้การกำกับของ สหพันธ์ว่ายน้ำระหว่างประเทศ การแข่งขันจัดขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและกีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก · ดูเพิ่มเติม »

กีเซอร์ บัตเลอร์

ทเรนซ์ ไมเคิล โจเซฟ"กีเซอร์ บัตเลอร์(Terence Michael Joseph Geezer Butler) เกิดวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1949 ที่ เบอร์มิงแฮม ประเทศอังกฤษ เป็นนักดนตรีชาวอังกฤษ เขาเป็นที่รู้จักในฐานะมือเบสของวงเฮฟวี เมทัล วงแบล็ค ซับบาธ และวง Heaven & Hell ตั้งแต่ปี 2006-2010.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและกีเซอร์ บัตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

ฝ่ายข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เป็นหน่วยงานย่อยของบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ผู้ดำเนินงาน สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อสมท ซึ่งทำหน้าที่ผลิตข้อมูลข่าวสารทุกประเภท ในรูปของเนื้อหาข่าว และภาพเคลื่อนไหวแบบวิดีโอ หรือภาพนิ่งในบางกรณี เพื่อสนับสนุนกับรายการโทรทัศน์ ประเภทข่าวและเหตุการณ์ปัจจุบัน ทั้งส่วนที่ผลิตเอง และส่วนที่ให้บริษัทเอกชนเช่าเวลาผลิต ภายใต้ตราสินค้า ครอบครัวข่าว 3 ในช่วงเวลาต่างๆ ที่กำหนดไว้ในผังรายการ ทางไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและฝ่ายข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยพะเยา

มหาวิทยาลัยพะเยา (University of Phayao; ชื่อย่อ: มพ / UP) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐบาล ตั้งอยู่ในจังหวัดพะเยา เดิมเป็นวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยนเรศวร ต่อมา มีการตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลั..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและมหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร (Sakonnakhon Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2507 ในชื่อ "โรงเรียนฝึกหัดครูสกลนคร" ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร จะได้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์เป็นประจำทุกปี ณ หอประชุมมหาวชิราลงกรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช (Nakhon Si Thammarat Rajabhat University; อักษรย่อ:มร.นศ.) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2500 ตั้งอยู่ที่ตำบลท่างิ้ว อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมร.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

มันนีอินเดอะแบงก์ (2011)

มันนีอินเดอะแบงก์ ปี 2011 เป็นรายการมวยปล้ำ ของ WWE ใน เพย์-เพอร์-วิว จะจัดขึ้นหลังศึก ดับเบิลยูดับเบิลยูอี แคปิเทล พูนิชเมนท์ ในวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 2011 ที่ออล์สเตท อารีนา รัฐอิลลินอยส์ จัดเป็นปีที่ 2 ต่อจากปีที่แล้วไปจัดใน แคนซัสซิตี.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและมันนีอินเดอะแบงก์ (2011) · ดูเพิ่มเติม »

มายา ลอว์เรนซ์

มายา ลอว์เรนซ์ (Maya Lawrence; 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 —) เป็นนักกีฬาฟันดาบสากลชาวอเมริกันผู้ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทีมชาติสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ที่กรุงลอนดอน โดยเธอได้เข้าแข่งขันในรายการเอเป้ในประเภทบุคคลและทีมของการแข่งขันฟันดาบ เธอได้รับรางวัลเหรียญทองแดงในเอเป้ทีมหญิง ร่วมกับ คอร์ทนีย์ เฮอร์ลีย์, เคลลี เฮอร์ลีย์ และ ซูซี สกันแลน ลอว์เรนซ์เติบโตขึ้นในทีเนก รัฐนิวเจอร์ซีย์ และเข้าศึกษาในโรงเรียนมัธยมทีเนก ที่ซึ่งเธอได้เริ่มฟันดาบเมื่อเป็นนักเรียนชั้นปีที่สอง พ่อแม่ของเธอคือ แพท ลอว์เรนซ์ ซึ่งเป็นโค้ชฟันดาบของโรงเรียนมัธยมทีเนก และ เรจินัลด์ ลอว์เรนซ์ ผู้ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่กีฬาในรัฐนิวเจอร์ซีย์ ใน..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและมายา ลอว์เรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์วิน เพียซ

มาร์วิน เพียซ (Marvin Pierce, 17 มิถุนายน พ.ศ. 2436 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2512) เป็นประธานของ McCall Corporation.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและมาร์วิน เพียซ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ 2009

การแข่งขันกีฬาศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแห่งเอเชีย ครั้งที่ 1 หรือ เอเชียนมาร์เชียลอาตส์เกมส์ 2009 เป็นการแข่งขัน เอเชียนมาร์เชียลอาตส์เกมส์ ครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2552 โดยมีประเทศเข้าร่วมแข่งขัน 40 ประเทศ และมีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 9 ชน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ 2009 · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2554

การแข่งขันฟุตบอล มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ ฤดูกาล 2554 เริ่มการแข่งขันรอบแรก ตั้งแต่วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2554 แต่หลังจากจบการแข่งขัน รอบที่ห้าในเดือนตุลาคม เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ขึ้น ส่งผลให้ต้องเลื่อนการแข่งขัน ตั้งแต่รอบก่อนรองชนะเลิศออกไป โดยการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ จัดขึ้นในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2555 ที่สนามศุภชลาศัย กรีฑาสถานแห่งชาติ โดยตั้งแต่ฤดูกาลนี้เป็นต้นไป ทีมชนะเลิศจะได้สิทธิ เข้าแข่งขันรายการ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือกโดยอัตโนมัต.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและมูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2554 · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์มดมหากาฬ

มนุษย์มดมหากาฬ (Ant-Man) เป็นภาพยนตร์ซูเปอร์ฮีโรอเมริกัน ในปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและมนุษย์มดมหากาฬ · ดูเพิ่มเติม »

มนต์รักสองฝั่งคลอง

มนต์รักสองฝั่งคลอง เป็นบทประพันธ์ของ เป็ด เชิญยิ้ม บทโทรทัศน์โดย พลพล พงษ์แพทย์ นำแสดงโดย อรรณพ ทองบริสุทธิ์, หทัยชนก สวนศรี กำกับการแสดงโดย กษมา นิสสัยพันธุ์ ออกอากาศทุกวันเสาร์-วันอาทิตย์ เวลา 13.30 - 15.00 น.ทางช่องพีพีทีวี เริ่มตอนแรกวันวันอาทิตย์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2559–17 กันยายน พ.ศ. 2559 และออกอากาศซ้ำทุกวันพฤหัสบดี-วันศุกร์ เวลา 10.00 - 11.30 น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและมนต์รักสองฝั่งคลอง · ดูเพิ่มเติม »

ยามาดะ ครอบครัวนี้ไม่ธรรมดา

มาดะ ครอบครัวนี้ไม่ธรรมดา หรือในชื่อภาษาอังกฤษว่า "My Neighbors the Yamadas" เป็นภาพยนตร์อะนิเมะที่กำกับโดย อิซาโอะ ทาคาฮาตะ เข้าฉายที่ญี่ปุ่นเมื่อ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 ภาพยนตร์คอมิดี้เกี่ยวกับครอบครัวที่นำเสนอออกมาในลักษณะหนังสือการ์ตูนลายเส้น ซึ่งแตกต่างจากภาพยนตร์เรื่องอื่นจากสตูดิโอจิบลิเรื่องอื่นๆ อย่างสิ้นเชิง แม้ว่าจะได้รับเสียงวิจารณ์ที่ค่อนข้างดี แต่เรื่องนี้กลับไม่สามารถเก็บรายได้ที่ดีบนตารางบ็อกซ์ออฟฟิศ และได้รับการจัดจำหน่ายในรูปแบบดีวีดีในอเมริกาในเดือน สิงหาคม..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและยามาดะ ครอบครัวนี้ไม่ธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่แอตแลนตา

ทธการแอตแลนตา คือหนึ่งในการรบในยุทธนาการแอตแลนตา ซึ่งรบกันในระหว่างสงครามกลางเมืองของชาวอเมริกัน ในวันที่ 22 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและยุทธการที่แอตแลนตา · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง

นแดนทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายอักษะ (ในสีน้ำเงิน) ราว ค.ศ. 1942 การยึดครองยุโรปของเยอรมนี หมายถึง ดินแดนส่วนที่อยู่ภายใต้การยึดครองโดยกำลังทหารของนาซีเยอรมนี ในช่วงเวลาที่แตกต่างกันระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง (ค.ศ. 1939-1945) บางประเทศเป็นผู้ประกาศสงครามในฐานะฝ่ายสัมพันธมิตร อย่างเช่น สหราชอาณาจักรหรือสหภาพโซเวียต บางส่วนถูกบีบบังคับให้ยอมจำนนหรือถูกปราบปรามก่อนที่จะถูกยึดครองในภายหลัง ในบางกรณี รัฐบาลบางแห่งถูกบีบบังคับให้พลัดถิ่น หรือไม่ก็มีการจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นขึ้นใหม่โดยพลเมืองของประเทศนั้น ๆ บางประเทศซึ่งถูกนาซียึดครองนั้นดำรงตนเป็นกลางอย่างเป็นทางการ ดินแดนที่ถูกยึดครองบางส่วนเคยเป็นอดีตสมาชิกของฝ่ายอักษะ และถูกยึดครองโดยกองกำลังเยอรมันในช่วงปลายของสงคราม.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง · ดูเพิ่มเติม »

ยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ูโกสลาเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ยูไนท!

ูไนท! เป็นซิงเกิลที่ 23 ของอายูมิ ฮามาซากิ วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและยูไนท! · ดูเพิ่มเติม »

ระเบิดเถิดเทิง ลั่นทุ่ง

ระเบิดเถิดเทิง ลั่นทุ่ง เป็นรายการซิทคอมควบคู่กับเกมโชว์ ซึ่งผลิตโดยบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ออกอากาศทางช่อง 5 ออกอากาศเวลา 13.55 - 15.20 น. เป็นประจำทุกวันอาทิตย์ โดยเริ่มออกอากาศในตอนแรก (ตอนที่ 747) ในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2553 และตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 รายการระเบิดเถิดเทิงลั่นทุ่งจะเลื่อนเวลาการออกอากาศเป็นเวลา 12.00 -13.25 น. คำว่า ลั่นทุ่ง ในชื่อ"ระเบิดเถิดเทิงลั่นทุ่ง" นั้น หมายถึง หมู่บ้านลั่นทุ่ง ซึ่งเป็นชื่อหมู่บ้านที่เกิดเรื่องราวความโกลาหลต่างๆในเรื่อง ระเบิดเถิดเทิง.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและระเบิดเถิดเทิง ลั่นทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอิสราเอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รัฐอิสราเอล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรัฐอิสราเอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐคูเวตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รัฐคูเวต เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรัฐคูเวตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐโอคลาโฮมา

รัฐโอคลาโฮมา (Oklahoma, โอวเคฺลอะโฮ้วเม่อะ) เป็นรัฐหนึ่งใน 50 รัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา มีประชากรประมาณ 3.64 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรัฐโอคลาโฮมา · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ราชรัฐลักเซมเบิร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐลิกเตนสไตน์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ราชรัฐลิกเตนสไตน์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและราชรัฐลิกเตนสไตน์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐอันดอร์ราในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ราชรัฐอันดอร์รา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและราชรัฐอันดอร์ราในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ราชรัฐโมนาโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โชซ็อน

ราชวงศ์โชซอน (Joseon Dynasty) หรือ ราชวงศ์อี ที่สถาปนาขึ้นภายหลังการยกสถานะของอาณาจักรโชซอนเป็นจักรวรรดิโชซอนตามพระบรมราชโองการของจักรพรรดิควังมูแห่งจักรวรรดิโชซอน (จักรพรรดิโคจง) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและราชวงศ์โชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Descendants of Queen Victoria) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 9 พระองค์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย; 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 - 22 มกราคม พ.ศ. 2444 เสวยราชสมบัติ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380) โดยมีพระราชนัดดา 42 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 88 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ในทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก ทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์สเปน เยอรมนี กรีซ รัสเซีย โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า สมเด็จย่าแห่งยุโรป (Grandmother of Europe) สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ เป็นเวลา 63 ปีเศษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเนปาลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ราชอาณาจักรเนปาล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและราชอาณาจักรเนปาลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบทของฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบาน

รายชื่อบทในมังงะ เรื่อง ฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบาน หมายเหตุ: ชื่อตอนในแบบฉบับภาษาไทยจะอิงจากการแปลของมังงะของสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ โดยอาจจะแตกต่างจากชื่อตอนภาษาไทยของอะนิเมะก็ได้ ถึงแม้จะใช้ชื่อเหมือนกันในภาษาญี่ปุ่น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายชื่อบทของฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบทความวันนี้ในอดีต

รายชื่อบทความวันนี้ในอดีต.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายชื่อบทความวันนี้ในอดีต · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบทใน คุณครูจอมเวท เนกิมะ!

รายชื่อบทในมังงะ รวบรวมบทและเนื้อหาของหนังสือในเล่มของ เรื่อง คุณครูจอมเวท เนกิมะ!.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายชื่อบทใน คุณครูจอมเวท เนกิมะ! · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

งประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

งประจำพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อฝนดาวตก

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายชื่อฝนดาวตก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอิตาลี

ทความนี้ว่าด้วยธงต่างๆ ในประเทศอิตาลีโดยสังเขป สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับธงชาติ สามารถศึกษาได้จากบทความธงชาติอิตาลี.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายชื่อธงในประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในสึซึมิยะ ฮารุฮิ

รายชื่อตอนของสึซึมิยะ ฮารุฮิ หมายถึง รายชื่อตอนตามลำดับการฉายอะนิเมะบนโทรทัศน์ของเรื่อง สึซึมิยะ ฮารุฮิ ทั้งหมด 14 ตอน ออกฉายมาในปี พ.ศ. 2549 ทั้งนี้รวมอีก 14 ตอน ที่นำกลับมาฉายใหม่พร้อมกับ 14 ตอนแรก ซึ่งออกฉายในปี พ.ศ. 2552 ทำให้อะนิเมะในซีรีส์นี้ มีทั้งหมด 28 ตอน แบ่งลำดับการฉายได้ดังนี้.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายชื่อตอนในสึซึมิยะ ฮารุฮิ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบาน

รายชื่อตอนของอะนิเมะ เรื่อง ฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบาน ทั้งใน Season 1 และ Season 2 หมายเหตุ: ชื่อตอนในแบบฉบับภาษาไทยจะอิงจากการแปลของอะนิเมะ โดยอาจจะแตกต่างจากชื่อตอนภาษาไทยของมังงะก็ได้ ถึงแม้จะใช้ชื่อเหมือนกันในภาษาญี่ปุ่น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายชื่อตอนในฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในเบ็นเท็น: พลังเอเลี่ยน

รายชื่อตอนในการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกาเรื่องเบ็นเท็น: พลังเอเลี่ยน BEN10: Alien Force ประกาศเตือน! ผู้ใดก็ตามที่เข้ามาทำการแก้ไขบทความนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต โดยทาง วิกิพีเดีย ได้ตรวจพบผู้ที่ไม่รู้ข้อมูลที่แท้จริงได้เข้ามาแก้ไขบทความอย่างผิดๆ ทางเราจะทำการบันทึกไอพีของผู้ที่แก้ไขไว้ กรุณาอย่าทำการแก้ไข;บทความนี้มีผู้รู้ข้อมูลที่แท้จริง ดูแลอยู่แล้ว กรุณาอย่าทำการแก้ไข-->.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายชื่อตอนในเบ็นเท็น: พลังเอเลี่ยน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในเอ็กซีคิวชั่นแนล

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อตอนของการ์ตูนไทยชุด เอ็กซีคิวชั่นแนล มหาสงครามออนไลน์ถล่มจักรวาล ผลงานของภานุวัฒน์ วัฒนนุกูล ซึ่งตีพิมพ์ในนิตยสารการ์ตูนซีคิดส์ นับตั้งแต..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายชื่อตอนในเอ็กซีคิวชั่นแนล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในเรื่องการ์ฟีลด์

รายชื่อตัวละครในเรื่องการ์ฟีล.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายชื่อตัวละครในเรื่องการ์ฟีลด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย เป็นบทความที่รวบรวมรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดโดยจำแนกตามจังหวั.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ

ต่อไปนี้คือรายพระปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ซึ่งในปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และประเทศในเครือจักรภพ สำหรับรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะซึ่งประกอบกันเป็นสหราชอาณาจักรปัจจุบันดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระสันตะปาปา

รายพระนามสมเด็จพระสันตะปาปาแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก เรียงตามวันที่ได้รับแต่งตั้ง.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายพระนามพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ชิง

* พระนามเดิม จักรพรรดิราชวงศ์ทรงอยู่ในราชสกุล อ้ายซินเจว๋หลัว (อักษรจีนตัวย่อ: 爱新觉罗; อักษรจีนตัวเต็ม: 愛新覺羅; พินอิน: àixīn juéluó) แต่ตามปฏิบัติของชาวแมนจู การเรียกชื่อไม่จำเป็นต้องรวมนามสกุล.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีซีเรีย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายนามประธานาธิบดีซีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนักมวยแชมป์โลกชาวฟิลิปปินส์

ต่อไปนี้เป็นรายนามนักมวยสากลชาวฟิลิปปินส์ที่ได้ครองแชมป์โลกเฉพาะสถาบันหลักคือ เดอะ ริง (The Ring), สมาคมมวยโลก (WBA), สภามวยโลก (WBC), สหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) และ องค์กรมวยโลก (WBO) ดังต่อไปนี้ หมวดหมู่:นักมวยสากลชาวฟิลิปปินส์.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายนามนักมวยแชมป์โลกชาวฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส

ก่อนปี พ.ศ. 2502 ประเทศฝรั่งเศสไม่ปรากฏว่ามีการเรียกตำแหน่งหัวหน้าคณะรัฐบาลอย่างเป็นทางการว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) เนื่องจากในอดีตภายใต้การปกครองของกษัตริย์ หลายครั้งที่คำนี้ใช้เรียกแทนประธานรัฐมนตรีของกษัตริย์ แม้ต่อมาในช่วงรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 รัฐมนตรีท่านหนึ่งในรัฐมนตรีสภาได้ดำรงตำแหน่งเป็นทั้ง ประธานรัฐมนตรีสภา (Président du Conseil des Ministres) และยังเป็นที่รู้จักกันอย่างไม่เป็นทางการในนาม "หัวหน้ารัฐมนตรีสภา" ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) อีกด้วย ซึ่งเป็นการไม่เหมาะสม เป็นการรวบอำนาจเบ็ดเสร็จในบุคคลเดียว โดยเป็นทั้งประธานาธิบดีเอง และเป็นหัวหน้ารัฐมนตรีสภา (นายกรัฐมนตรี) ทำหน้าที่เป็นประธานในการประชุมสภา และหัวหน้าฝ่ายบริหารคณะรัฐมนตรี เวลาต่อมา ในการทำให้ชื่อตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" มีผลบังคับทางกฎหมาย แทนที่ตำแหน่ง หัวหน้ารัฐมนตรีสภา นั้นก็ได้กลายเป็นตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2489 ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 และต่อมาได้ถูกนำมาบัญญัติคำว่า "นายกรัฐมนตรี" (Premier Ministre) ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 ในปี พ.ศ. 2502 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2413 ประเทศฝรั่งเศสได้มีหัวหน้าคณะรัฐบาล (ในปัจจุบันเรียก "นายกรัฐมนตรี") 142 ท่าน (138 ท่าน นับตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2) หัวหน้าคณะรัฐบาล (ในปัจจุบันเรียก "นายกรัฐมนตรี") ตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2, จักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2, กษัตริย์แห่งเดือนกรกฎาคม, ราชวงศ์บูร์บงฟื้นฟู ถึงปัจจุบันมีทั้งสิ้น 174 ท่าน ภายใต้ระยะเวลา 193 ปี รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2 - ปัจจุบัน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี)

แชมป์โลกเฮฟวี่เวท 4 สมัย แรนดี ออร์ตัน เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปียนชิพ เป็นเข็มขัดระดับโลกรุ่นเฮฟวี่เวทที่เป็นกรรมสิทธิ์ของเวิลด์ เรสต์ลิง เอ็นเตอร์เทนเมนต์ (WWE) โดยเป็นเข็มขัดระดับโลกเส้นที่ 3 ที่ได้ใช้งานในดับเบิลยูดับเบิลยูอีเมื่อปี ค.ศ. 2002 ภายหลังจากการซื้อกิจการสมาคมที่ล้มละลายอย่าง เวิลด์ แชมเปียนชิพ เรสต์ลิง (WCW) และเอ็กซ์ตรีม แชมเปียนชิพ เรสต์ลิง (ECW) และยกเลิกสถานะดับเบิลยูซีดับเบิลยู เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปียนชิพ (WCW World Heavyweight Championship) โดยนำมารวมกับดับเบิลยูดับเบิลยูเอฟ แชมเปียนชิพ (WWF Championship) กลายเป็นเข็มขัดเดี่ยว ดับเบิลยูดับเบิลยูเอฟ อันดิสพิวเต็ด แชมเปียนชิพ (WWF Undisputed Championship) ซึ่งกลายเป็นกรรมสิทธิ์ของสแมคดาวน์ ภายหลังการขยายค่าย ส่งผลให้รอว์ไม่มีเข็มขัดระดับโลกไว้ในครอบครอง ทำให้ เอริค บิชอฟฟ์ อดีตผู้บริหารและเจ้าของดับเบิลยูซีดับเบิลยู ซึ่งเป็นผู้จัดการทั่วไปของรอว์ในขณะนั้น นำเวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพออกมาใช้งาน ในปัจจุบัน ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของ สแมคดาวน์ การครองเข็มขัดจะถูกตัดสินโดยการปล้ำในการแข่งขันรูปแบบต่างๆ หรือถูกมอบให้โดยมีเหตุจูงใจเป็นต้น โดยนักมวยปล้ำจะมีบทแสดงเป็นฝ่ายธรรมะหรืออธรรม โดยเกิดความขัดแย้งและต่อสู้กันในการแข่งขันรูปแบบต่างๆ เพื่อชิงเข็มขัดดังกล่าว ผู้ครองเข็มขัดนี้เป็นคนแรกคือ ทริปเปิล เอช ซึ่งเอริค บิชอฟฟ์มอบให้ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2002 โดยรวมมีผู้ครองเข็มขัดนี้ทั้งสิ้น 14 คน โดยมีจำนวน 28 สมัย ซึ่งทริปเปิล เอชก็เป็นผู้ครองเข็มขัดดังกล่าวมากสมัยที่สุดอีกด้วย (5 สมัย) ทางดับเบิลยูดับเบิลยูอีได้แถลงอย่างเป็นทางการว่า เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพ ไม่ได้เป็นเข็มขัดเส้นเดียวกับ เอ็นดับเบิลยูเอ เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพ (NWA World Heavyweight Championship) หรือดับเบิลยูซีดับเบิลยู แชมเปี้ยนชิพ (WCW Championship) แม้ว่าจะมีความคล้ายคลึงกันโดยการที่เป็น "เข็มขัดทองขนาดใหญ่" เหมือนกัน จึงทำให้ประวัติความเป็นมาและผู้ครองเข็มขัดนั้นไม่สืบเนื่องหรือเกี่ยวโยงกัน โดยเวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพเป็นเพียงรุ่นถัดมาของดับเบิลยูซีดับเบิลยู แชมเปี้ยนชิพ เหมือนที่มันเป็นรุ่นถัดมาของเอ็นดับเบิลยูเอ เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพนั่นเอง.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและรายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี) · ดูเพิ่มเติม »

ร็อคแมน X7

ร็อคแมน X7 หรือ เมกาแมน X7 (Mega Man X7) เป็นวิดีโอเกมชุดที่ 7 ของซีรีส์ร็อคแมน X โดยวางจำหน่ายในวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 2003 ที่ประเทศญี่ปุ่นวางจำหน่ายในเครื่องเล่นเกมเพลย์สเตชัน 2.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและร็อคแมน X7 · ดูเพิ่มเติม »

ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน

ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน ใน ค.ศ. 1820 ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน (Ludwig van Beethoven,; 16 ธันวาคม ค.ศ. 1770 - 26 มีนาคม ค.ศ. 1827) เป็นคีตกวีและนักเปียโนชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองบอนน์ ประเทศเยอรมนี เบโทเฟนเป็นตัวอย่างของศิลปินยุคจินตนิยมผู้โดดเดี่ยว และไม่เป็นที่เข้าใจของบุคคลในยุคเดียวกันกับเขา ในวันนี้เขาได้กลายเป็นคีตกวีที่มีคนชื่นชมยกย่องและฟังเพลงของเขากันอย่างกว้างขวางมากที่สุดคนหนึ่ง ตลอดชีวิตของเขามีอุปสรรคนานัปการที่ต้องฝ่าฟัน ทำให้เกิดความเครียดสะสมในใจเขา ในรูปภาพต่าง ๆ ที่เป็นรูปเบโทเฟน สีหน้าของเขาหลายภาพแสดงออกถึงความเครียด แต่ด้วยจิตใจที่แข็งแกร่งของเขา ก็สามารถเอาชนะอุปสรรคต่าง ๆ ในชีวิตของเขาได้ ตำนานที่คงอยู่นิรันดร์เนื่องจากได้รับการยกย่องจากคีตกวีโรแมนติกทั้งหลาย เบโทเฟนได้กลายเป็นแบบอย่างของพวกเขาเหล่านั้นด้วยความเป็นอัจฉริยะที่ไม่มีใครเทียมทาน ซิมโฟนีของเขา (โดยเฉพาะอย่างยิ่งซิมโฟนีหมายเลข 5 ซิมโฟนีหมายเลข 6 ซิมโฟนีหมายเลข 7 และ ซิมโฟนีหมายเลข 9) และคอนแชร์โตสำหรับเปียโนที่เขาประพันธ์ขึ้น (โดยเฉพาะอย่างยิ่งคอนแชร์โตหมายเลข 4 และ หมายเลข 5) เป็นผลงานที่ได้รับความนิยมมากที่สุด แต่ก็มิได้รวมเอาความเป็นอัจฉริยะทั้งหมดของคีตกวีไว้ในนั้น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน · ดูเพิ่มเติม »

วัดโคนอน (จังหวัดนนทบุรี)

วัดโคนอน (วัดวัว) ตั้งอยู่ที่ตำบลบางสีทอง อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ก่อตั้งเมื่อปีพ.ศ. 2350 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและวัดโคนอน (จังหวัดนนทบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

วังน้ำวน

วังน้ำวน เป็นละครโทรทัศน์ แนวละครดราม่า-โรแมนติก จากบทประพันธ์ของ ยุทธนา มุกดาสนิท, วาณิช จรุงกิจอนันต์ ถูกสร้างเป็นละครโทรทัศน์มาแล้ว 2 ครั้ง.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและวังน้ำวน · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันเอกราช

วันประกาศเอกราช หรือ วันได้รับเอกราช เป็นวันเฉลิมฉลองเพื่อระลึกถึงสถานภาพความเป็นรัฐของชาติ โดยทั่วไปเกิดขึ้นหลังจากรอดพ้นจากการตกเป็นอาณานิคมของรัฐอื่น ส่วนใหญ่กำหนดให้เป็นวันหยุดของชาต.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและวันเอกราช · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (อังกฤษ: College of Politics and Governance, Mahasarakham University) เป็นหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยาลัยศาสนศึกษา (College of Religious Studies) เป็นหน่วยงานในสังกัด มหาวิทยาลัยมหิดล ที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ปัจจุบันวิทยาลัยมี รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ธันย์ สุภัทรพันธุ์ ดำรงตำแหน่ง รักษาการคณบดีวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ว้อ ... หมาบ้ามหาสนุก

ว้อ...

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและว้อ ... หมาบ้ามหาสนุก · ดูเพิ่มเติม »

ศิริภุช กุลน้อย

ริภุช กุลน้อย (ชื่อเดิม:รัตติกาล กุลน้อย) เกิดวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 (อายุ ปี) เป็นชาวตำบลตระแสง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ เป็นนักยกน้ำหนักชาวไทย เจ้าของเหรียญทองจากการแข่งขันซีเกมส์ 2011 ที่ประเทศอินโดนีเซีย และเจ้าของเหรียญทองแดงจากการแข่งขัน เอเชียนเกมส์ 2014 ที่ประเทศเกาหลีใต้ปัจจุบันลงแข่งขันในรุ่น 58 และ 63 กิโลกรัม ปี พ.ศ. 2559 เธอได้เหรียญทองแดง ลอนดอน 2012 เนื่องจากนักกีฬาชาวยูเครนตรวจพบสารกระตุ้น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและศิริภุช กุลน้อย · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ ศิษย์ชัชวาลย์

มศักดิ์ ศิษย์ชัชวาลย์ หรือ สมศักดิ์ สิงห์ชัชวาลย์ มีชื่อจริงว่า สมศักดิ์ ต๊ะสิทธิ์ เกิดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 ที่อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง เป็นแชมป์โลกมวยสากลรุ่นซูเปอร์แบนตัมเวท WBA ที่คว้าแชมป์มาครองได้อย่างสะใจคนไทย ด้วยการชนะน็อคแชมป์โลกถึงถิ่นที่ประเทศฝรั่งเศสอย่างดุเดือด แม้จะได้ครองตำแหน่งเพียงระยะเวลาสั้น ๆ ก็ตาม.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสมศักดิ์ ศิษย์ชัชวาลย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมคนหนีโลก

มาคมคนหนีโลก เป็นนวนิยายของญี่ปุ่นที่แต่งโดย ทะสึฮิโกะ ทะกิโมโตะ วาดภาพประกอบโดย โยชิโตชิ อาเบะ และตีพิมพ์ในญี่ปุ่นโดย คาโดคาว่า โชะเทง เมื่อ 28 มกราคม พ.ศ. 2545 เรื่องราวเล่าถึงหนุ่มวัย 22 ปี ที่ต้องเข้ามาร่วมโครงการที่จะทำให้หายจากการเป็นโรคฮิคิโคโมริ โดยคำชักชวนของหญิงสาวแปลกหน้าที่เคยเห็นเธอมาเดินแจกใบปลิวกับคุณป้าเพียงครั้งเดียวเท่านั้น จริงๆแล้วในญี่ปุ่น NHK นั้นเป็นชื่อของสถานีโทรทัศน์แห่งหนึ่ง แต่สำหรับในเรื่องนี้ NHK ย่อมาจากคำว่า Nihon Hikikomori Kyōkai ซึ่งตัวละครหลักของเรื่องเป็นผู้บัญญัติขึ้นมานั่นเอง.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสมาคมคนหนีโลก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม เกี่ยว โชคชัย ฉายา อุปเสโณ (11 มกราคม พ.ศ. 2471 - 10 สิงหาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช และประธานสมัชชามหาคณิสสร เป็นพระเถระที่มีอาวุโสโดยสมณศักดิ์สูงสุดของมหาเถรสมาคมเดลินิวส์, 30 ธันวาคม 2547มติชน, 15 ม..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีโบดวงที่ 1 แห่งเบลเยียม (Boudewijn Albert Karel Leopold Axel Marie Gustaaf van België ˈbʌu̯dəˌʋɛi̯n ˈɑlbərt ˈkaːrəl ˈleˑjoˑˌpɔlt ˈɑksəl maˑˈri ɣʏsˈtaˑf vɑn ˈbɛlɣijə, Baudouin Albert Charles Léopold Axel Marie Gustave de Belgique bodwɛ̃ albɛʁ ʃaʁl leopɔld aksɛl maʁi ɡystav də bɛlʒik; 7 กันยายน 1930 – 31 กรกฎาคม 1993) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม หลังจากการสละราชสมบัติของพระราชบิดาในปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท

มเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท (Letsie III of Lesotho) เป็นพระมหากษัตริย์ที่โปรดการเล่นกีฬาเทนนิส และทรงสนพระราชหฤทัยในด้านการเกษตร พระองค์ทรงเป็นประมุขหลังจากที่สมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท เสด็จลี้ภัยทางการเมือง.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม

้าหญิงอัสตริดแห่งสวีเดน (Princess Astrid of Sweden พระนามเต็ม อัสตริด โซเฟีย โลวิซา ธือรา; 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 - 29 สิงหาคม พ.ศ. 2478) เป็นพระมเหสีของสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม และพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน โดยทรงเกี่ยวข้องเป็นพระอัยยิกาในฝ่ายพระชนกในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน เนื่องจากทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่สองในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุคแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และเป็นพระราชชนนีของกษัตริย์แห่งเบลเยียมสองพระองค์คือ สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง และ สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 อีกด้วย เจ้าหญิงประสูติในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 ณ กรุงสต็อกโฮล์ม โดยเป็นพระธิดาพระองค์เล็กในเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ กับ เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระอัยกาฝ่ายพระชนกคือ สมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ส่วนพระอัยกาฝ่ายพระชนนีคือ สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 8 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน พระภคินีทรงอภิเษกกับสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ ส่วนเจ้าหญิงมาร์กาเรธา พระภคินีองค์ใหญ่ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายแอ็กเซลแห่งเดนมาร์ก พระญาติชั้นที่หนึ่งในฝ่ายพระชนนี ขณะที่พระอนุชาพระองค์เล็กคือ เจ้าชายคาร์ลแห่งสวีเดน ดยุคแห่งออสเตอเกิตลานด์ ทรงอภิเษกสมรสต่างฐานันดรศักดิ์กับหญิงสาวสามัญชน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอเล็กซันดราแห่งยูโกสลาเวีย

้าหญิงอเล็กซานดราแห่งกรีซ สมเด็จพระราชินีแห่งยูโกสลาเวีย(ภาษากรีก:Αλεξάνδρα της Ελλάδος και της Δανίας, 25 มีนาคม พ.ศ. 2464 - 30 มกราคม พ.ศ. 2536) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งยูโกสลาเวียและเป็นพระราชชนนีในผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์องค์ปัจจุบันคือมกุฎราชกุมารอเล็กซานเดอร์แห่งยูโกสลาเวี.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสมเด็จพระราชินีอเล็กซันดราแห่งยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง พลตำรวจเอกหญิง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระนามเดิม: สังวาลย์ ตะละภัฏ; พระราชสมภพ: 21 ตุลาคม พ.ศ. 2443 ณ จังหวัดนนทบุรี — สวรรคต: 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ณ กรุงเทพมหานคร) เป็นพระชายาในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์, พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยยิกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระองค์มีพระนามที่นิยมเรียกกันว่า สมเด็จย่า ทั้งนี้พระองค์ยังได้ประกอบพระราชกรณียกิจเยี่ยมราษฎรชาวไทยภูเขาที่อาศัยในถิ่นทุรกันดาร และได้พระราชทานความช่วยเหลือผ่านทางเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่ง เปรียบเสมือนพระองค์เสด็จมาจากฟากฟ้าช่วยให้พวกเขามีวิถีชีวิตที่ดีขึ้น ชาวไทยภูเขาจึงถวายพระสมัญญานามว่า "แม่ฟ้าหลวง"มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี

มเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (พระนามเดิม:หม่อมเจ้ารำเพย ศิริวงศ์; 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 — 9 กันยายน พ.ศ. 2404) เป็นพระมเหสีพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

หพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

หภาพโซเวียต เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสหภาพโซเวียตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

หรัฐอเมริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

หราชอาณาจักร เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สายลับรักป่วน

ลับรักป่วนเป็นละครโทรทัศน์แนว แอ็คชั่น โรแมนติก คอมเมดีทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 จากบทประพันธ์ของ จันทร์แจ่ม ผลิตโดยบริษัท มายน์แอทเวิร์คส์ จำกัด โดยผู้จัดณฤทธิ์ ยุวบูรณ์ กำกับการแสดงโดย ทวีวัฒน์ วันทา นำแสดงโดย แอนดริว เกร้กสัน และเฌอมาลย์ บุญยศัก.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสายลับรักป่วน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐฟิลิปปินส์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐกัวเตมาลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐกัวเตมาลา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐกัวเตมาลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5

รณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 เป็นสาธารณรัฐปัจจุบันของประเทศฝรั่งเศสที่ถือกำเนิดขึ้นเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2501 เกิดจากการล่มสลายของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 โดยเปลี่ยนแปลงจากระบอบรัฐสภามาเป็นระบอบกึ่งประธานาธิบดี.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสิงคโปร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐสิงคโปร์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐสิงคโปร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐอิสลามอิหร่านในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐอิสลามอิหร่าน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐอิสลามอิหร่านในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฮอนดูรัสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐฮอนดูรัส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐฮอนดูรัสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐคอสตาริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐคอสตาริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐคอสตาริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐตูนิเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐตูนิเซีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐตูนิเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐซานมารีโนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐซานมารีโน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐซานมารีโนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐปารากวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐปารากวัย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐปารากวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐนิการากัวในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐนิการากัว เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐนิการากัวในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐแคเมอรูนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐแคเมอรูน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐแคเมอรูนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโบลิเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐโบลิเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐโบลิเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโกตดิวัวร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐโกตดิวัวร์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐโกตดิวัวร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโดมินิกันในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐโดมินิกัน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐโดมินิกันในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโคลอมเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐโคลอมเบีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐโคลอมเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐโปรตุเกส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐไอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเอกวาดอร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐเอกวาดอร์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐเอกวาดอร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเฮติในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐเฮติ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐเฮติในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเซเนกัลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐเซเนกัล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสาธารณรัฐเซเนกัลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

สุวัจน์ ลิปตพัลลภ

วัจน์ ลิปตพัลลภ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย และอดีตรัฐมนตรีว่าการหลายกระทรวง เป็นหนึ่งในแกนนำพรรครวมชาติพัฒนา (ปัจจุบันคือ พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน) แต่ไม่ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งทั่วไป 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 เนื่องจากถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสุวัจน์ ลิปตพัลลภ · ดูเพิ่มเติม »

สี่แผ่นดิน เดอะมิวสิคัล

ี่แผ่นดิน เดอะมิวสิคัล เป็นละครเวทีความยาว 2 องก์ โดยซีเนริโอ ดัดแปลงจากบทประพันธ์เรื่องสี่แผ่นดิน ของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช จัดแสดงที่ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2554 เพื่อเป็นการเฉลิมฉลอง 100 ปี ชาตกาลของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช และเป็นส่วนหนึ่งของผลงานเทิดพระเกียรติ เนื่องในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 กำกับการแสดงโดย ถกลเกียรติ วีรวรรณ รอบการจัดแสดง เดิมกำหนดไว้ทั้งสิ้น 67 รอบ ตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ถึง 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 แต่เนื่องจากสถานการณ์อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554 ทำให้ต้องเลื่อนการแสดงจากเป็นตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ถึง 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 โดยมีรอบพิเศษงานกาลาแชริตี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถเสด็จพระราชดำเนินทรงเป็นประธานในการทอดพระเนตร เมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2555 หลังจากได้รับการตอบรับอย่างสูงในด้านยอดผู้ชม ทางทีมงานจึงได้มีการตัดสินใจเพิ่มรอบการแสดงจนครบ 100 รอบ ให้ตรงกับ 100 ปี ชาตกาลของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช โดยรอบสุดท้ายมีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2555 ถือว่าเป็นละครเวทีที่มีการแสดงต่อเนื่องด้วยจำนวนรอบมากที่สุดที่เอ็กแซ็กท์เคยสร้างมา ในปี พ.ศ. 2557 ทางซีเนริโอ ได้นำกลับมาจัดแสดงที่เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์อีกครั้ง เพราะเข้ากับสถานการณ์บ้านเมือง พร้อมเปลี่ยนนักแสดงใหม่เพื่อต้องการความแปลกใหม่ เริ่มแสดง 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ถึง 24 สิงหาคม พ.ศ. 2557 รวม 50 รอบ และในปี 2560 ทางซีเนริโอ ได้นำกลับมาแสดงใหม่ในช่วงเดือนสิงหาคม เริ่มแสดง วันที่ 8 สิงหาคม 2560 ถึง 10 ธันวาคม 2560 รวม 63 รอบ (โดยไม่รวมรอบ Gala) (พักการแสดงตั้งแต่วันที่ 9 ตุลาคม - 10 พฤศจิกายน 2560 เพื่อถวายความอาลัย ในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9) ในการนี้สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จแทนพระองค์ทอดพระเนตรละครเวที "สี่แผ่นดิน เดอะมิวสิคัล" รอบปฐมทัศน์ วันที่ 8 สิงหาคม 2560.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสี่แผ่นดิน เดอะมิวสิคัล · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

นีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS) เป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย และแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดำเนินการโดยองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) ออกอากาศแทนสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ในวันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 ก่อนแพร่ภาพอย่างเป็นทางการในอีก 1 เดือนต่อม.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองสเปน

งครามกลางเมืองสเปน (Spanish Civil War) เป็นการรบในประเทศสเปนที่เกิดจากความขัดแย้งระหว่างฝ่ายสนับสนุนกับฝ่ายต่อต้านสาธารณรัฐสเปนที่ 2 ได้แก่ "ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐ" ประกอบด้วยกลุ่มมัชฌิมา กลุ่มสังคมนิยม กลุ่มคอมมิวนิสต์ รวมทั้งชาวกาตาลาและชาวบาสก์ที่หัวรักถิ่นและเป็นอนาธิปไตย กับ "ฝ่ายชาตินิยม" ที่เป็นฝ่ายก่อการกบฏ รวมถึงพวกนิยมกษัตริย์ พวกการ์ลิสต์ พวกคาทอลิกหัวเก่า และพวกฟาสซิสต์ฟรังกิสต์ ซึ่งกองทัพสเปนเองก็ได้แตกแยกออกเป็นสองฝ่าย แต่ละฝ่ายก็พยายามระดมหาพันธมิตรต่างประเทศมาช่วยรบ ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐดึงสหภาพโซเวียตและเม็กซิโก ส่วนฝ่ายชาตินิยมดึงพวกฟาสซิสต์จากอิตาลีและนาซีเยอรมนี สงครามดังกล่าวนับว่าเป็นการเร่งความขัดแย้งที่นำไปสู่สงครามโลกครั้งที่สอง และถูกมองว่าเป็นสงครามตัวแทนระหว่างสองลัทธิ คือ คอมมิวนิสต์ สหภาพโซเวียตและฟาสซิสต์ ฝ่ายอักษะ สงครามดังกล่าวได้มีการนำรถถังและการทิ้งระเบิดทางอากาศมาใช้ และถูกกล่าวขานถึงความโหดร้ายของสงครามและความแตกแยกทางการเมืองจากนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่หลายคน อย่างเช่น เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์, มาร์ธา เกลฮอร์น, จอร์จ ออร์เวลล์, และโรเบิร์ต คาป.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสงครามกลางเมืองสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2015–16

ูกาล 2015–16 เป็นฤดูกาลที่ 124 ของสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล และเป็นฤดูกาลที่ 53 ติดต่อกันของลิเวอร์พูลที่ได้อยู่โลดแล่นบนลีกสูงสุดของฟุตบอลอังกฤษ นอกจากนี้ยังเป็นฤดูกาลที่ 24 ที่อยู่บนเวทีพรีเมียร์ลีก เช่นเดียวกับพรีเมียร์ลีก สโมสรจะได้แข่งขันในเอฟเอคัพ, ลีกคัพ และยูฟ่ายูโรปาลีก ในฤดูกาลนี้ ถือเป็นฤดูกาลแรกที่ลิเวอร์พูลได้ใช้ชุดแข่งขันของนิวบาลานซ์แทนที่วอร์ริเออร์สปอตส์ โดยเปิดตัวครั้งแรกที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ประเทศไทย ในช่วงก่อนเปิดฤดูกาลที่สโมสรได้เดินทางมาแข่งขันนัดพิเศษกับทรูออลสตาร์ ซึ่งเป็นทีมพิเศษที่รวบรวมนักฟุตบอลชาวไทยในระดับไทยพรีเมียร์ลีก และมีการเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีมระหว่างฤดูกาล เมื่อสโมสรตัดสินใจปลดเบรนดัน ร็อดเจอส์ ที่ทำผลงานได้ไม่ดีออกในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2015–16 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลจังหวัดสุพรรณบุรีในฤดูกาล 2559

ูกาล 2559 เป็นฤดูกาลที่ 6 ของ สุพรรณบุรี ในฟุตบอล ไทยลีก ของสโมสรฟุตบอลสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสโมสรฟุตบอลจังหวัดสุพรรณบุรีในฤดูกาล 2559 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด ฤดูกาล 2007-08

ใน ฤดูกาล 2007-08 นิวคาสเซิลยูไนเต็ดแข่งขันอยู่ในเอฟเอพรีเมียร์ลีก.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด ฤดูกาล 2007-08 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลแบงค็อก ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2559

ูกาล 2559 เป็นฤดูกาลที่ 6 ของ แบงค็อก ยูไนเต็ด ใน ไทยลีก ที่ได้ลงเล่นตั้งแต่ฤดูกาล 2552–2553 เป็นต้นมา และในฤดูกาล 2556, ได้มาใช้ในนามสโมสรว่า แบงค็อก ยูไนเต็.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสโมสรฟุตบอลแบงค็อก ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2559 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเชียงราย ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2559

ูกาล 2559 เป็นฤดูกาลที่ 6 ของ เชียงราย ยูไนเต็ด ใน ไทยลีก ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสโมสรฟุตบอลเชียงราย ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2559 · ดูเพิ่มเติม »

สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด

นว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด (Snow White and the Seven Dwarfs) คือภาพยนตร์อเมริกาออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2480 มีโครงเรื่องจากนวนิยายเรื่อง สโนว์ไวต์ ผลงานการประพันธ์ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เป็นการผลิตในรูปแบบภาพยนตร์การ์ตูนเต็มรูปแบบครั้งแรกของวอลท์ดิสนีย์ และเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเรื่องแรกในประวัติศาสตร์ภาพยนตร์อเมริกา สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด ณ โรงละคร Carthay Circle ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 ต่อมาได้จัดจำหน่ายโดย RKO Radio Pictures เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 เรื่องราวของเรื่องปรับปรุงมาจากแผ่นป้ายเรียบเรียงฉาก ของ Ann Blank, Richard Creedon, Merrill De Maris, Otto Englander, Earl Hurd, Dick Rickard, Ted Sears และ Webb Smith จากนวนิยายเยอรมันเรื่อง สโนว์ไวต์ ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เดวิด แฮนด์เป็นผู้อำนวยการผลิต ส่วน William Cottrell, Wilfred Jackson, Larry Morey, Perce Pearce และ Ben Sharpsteen กำกับลำดับภาพ สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด เป็นหนึ่งใน 2 ภาพยนตร์การ์ตูนที่ติดอันดับภาพยนตร์อเมริกาที่ยิ่งใหญ่ที่สุด 100 เรื่อง จากสถาบันภาพยนตร์สหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด · ดูเพิ่มเติม »

หมวดโอภาส

หมวดโอภาส ยอดมือปร..คดีพิศวง เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทละครชุด หรือ ซีรีส์ (Series) ภาคต่อของ สายลับเดอะซีรีส์ กับ 24 คดีสุดห้ามใจ ผลิตโดยค่ายภาพยนตร์จีทีเอช และ จอกว้าง ฟิล์ม ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี วันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 20.40 น.–21.30 น. โดยเริ่มออกอากาศครั้งแรกวันเสาร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2554 ต่อมา ให้ทำภาคต่อ โดยเปลี่ยนชื่อเป็น หมวดโอภาส เดอะซีรีส์ ปี 2 ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี ทุกวันอาทิตย์ เวลา 16.00 น.– 17.00 น. โดยเริ่มออกอากาศครั้งแรกวันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและหมวดโอภาส · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและหมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเคย์แมนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

หมู่เกาะเคย์แมน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและหมู่เกาะเคย์แมนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าโสภณภราไดย สวัสดิวัตน์

หม่อมเจ้าโสภณภราไดย สวัสดิวัตน์ (8 มกราคม พ.ศ. 2447 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2514) พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี เป็นพระเชษฐาร่วมพระมารดาในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ใน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเทพศิรินทร์ หม่อมเจ้าโสภณภราไดย เสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามยุรฉัตร พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและหม่อมเจ้าโสภณภราไดย สวัสดิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์ อะดอลฟา เลอโบ

หลุยส์ อะดอลฟา เลอโบ (Louise Adolpha Le Beau) นักเปียโนและคีตกวีชาวเยอรมัน เกิดเมื่อ 25 เมษายน เมืองราสทาทท์ ค.ศ. 1850 ถึงแก่กรรม 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1927 เมืองบาเดิน-บาเดิน ประเทศเยอรมนี เลอโบเติบโตมาในครอบครัวที่มีพรสวรรค์ด้านดนตรี และมีความพิเศษมาก บิดาเป็นนายพลในกองทัพของดุ๊กบาเดน แต่เป็นคอนดักเตอร์และนักร้องสมัครนเล่นที่มีฝีมือด้วย ส่วนหลุยส์เองนั้นก็มีพรสวรรค์ด้านดนตรีสูง นั่นคือ สามารถร้องเพลงได้ก่อนพูดเป็นเสียอีก เมื่ออายุ 4 ขวบ หลุยส์ก็แต่งเพลงชิ้นแรก ครอบครัวจึงตัดสินใจส่งเธอเข้าศึกษาด้านดนตรีโดยเฉพาะ ด้วยเหตุนี้เธอจึงเริ่มศึกษาการร้องเพลง เปียโน และการประพันธ์ดนตรี งานแสดงดนตรีอย่างเป็นทางการครั้งแรกของเธอนั้นจัดขึ้นเมื่ออายุ 18 ปี โดยได้บรรเลง เอมเพอเรอร์ คอนแชร์โต และ เปียโนคอนแชร์โต ในบันไดเสียง ด ไมเนอร์ (หมายเลข 1) ของเมลเดลส์ซอห์น หลังจากนั้นก็เดินทางตระเวนเล่นดนตรีในเมืองต่างๆ ได้แก่ บาเซล ไฮเดลเบิร์ก และเอาก์สบูร์ก ผลงานเด่นๆ ที่บรรเลงได้แก่ คอนแชร์โต ในบันไดเสียง ดี เมเจอร์ ของโมซาร์ท (หมายเลข 26 KV. 537) และคาเดนซาที่เธอแต่งเอง ในเวลานั้น การเรียนดนตรีมักจำกัดเฉพาะนักเรียนชาย ทำให้หลุยส์ประสบความลำบากในการหาที่เรียนดนตรีไม่น้อย และเมื่อมีโอกาส เธอจึงจัดทำหลักสูตรดนตรีสอนพิเศษ สำหรับเปียโนและทฤษฎีขึ้น สำหรับนักเรียนสตรี เมื่อปี ค.ศ. 1882 หลุยส์ได้รางวัลที่ 1 ในการแข่งขันนักประพันธ์ดนตรี ผลงานที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ เป็นบทเพลง 4 เพลง สำหรับเชลโลและเปียโน โอปุส 24 มีเกร็ดเล่าว่าในประกาศนียบัตรนั้น พิมพ์คำว่า นาย (Herr) เอาไว้ก่อนแล้ว เมื่อหลุยส์ได้รับรางวัล จึงต้องขีดฆ่าคำนั้นออก แล้วเขียน นางสาว (Fräulein) แทน ทั้งนี้ในสมัยนั้น นักดนตรีและนักประพันธ์ส่วนใหญ่เป็นชายแทบทั้งสิ้น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและหลุยส์ อะดอลฟา เลอโบ · ดูเพิ่มเติม »

หว่อง ก๊า ไหว่

หว่อง ก๊า ไหว่ (กวางตุ้ง) หรือ หวาง เจียเว่ย์ (จีนกลาง) (17 กรกฎาคม ค.ศ. 1958 -) ผู้กำกับภาพยนตร์ และนักเขียนบทภาพยนตร์ ชาวฮ่องกง ที่มีชื่อเสียงในระดับโลก มีผลงานที่ได้รับการยอมรับว่ามีสไตล์เป็นตัวของตัวเอง ในแบบดาราม่าเซื่องซึม เหงา เปล่าเปลี่ยวอ้างว้าง แต่ทว่ามีสีสัน และงดงามราวบทกวี มีบุคลิกชอบสวมแว่นดำตลอดเวลาจนเป็นเอกลักษณ์ หว่อง ก๊า ไหว่ เกิดที่เซี่ยงไฮ้ และย้ายมาอยู่ฮ่องกงพร้อมกับบิดามารดาตั้งแต่อายุ 5 ขวบ หลังจากเรียนจบสาขาการออกแบบกราฟิก เมื่อ..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและหว่อง ก๊า ไหว่ · ดูเพิ่มเติม »

อมตะ คอร์ปอเรชั่น

ริษัท อมตะ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (AMATA CORPORATION PUBLIC COMPANY LIMITED; อักษรย่อ: AMATA) เป็นบริษัทมหาชนที่ดำเนินธุรกิจด้านการลงทุนและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาโครงการนิคมอุตสาหกรรมโดยบริษัทมีนโยบายที่จะพัฒนาที่ดินพร้อมระบบสาธารณูปโภคที่จำเป็น และจัดการด้านนิคมอุตสาหกรรมชั้นนำของประเทศไทย เข้าซี้อขายครั้งแรกในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2540.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอมตะ คอร์ปอเรชั่น · ดูเพิ่มเติม »

อะซะมิ คนโนะ

อะซะมิ คนโนะ (เกิดวันพฤหัสบดีที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2530) คือนักร้องหญิงชาวญี่ปุ่น ผู้เป็นอดีตสมาชิกรุ่นที่ห้าแห่งกลุ่มนักร้อง มอร์นิงมุซุเม.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอะซะมิ คนโนะ · ดูเพิ่มเติม »

อะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย

แกรนด์ดุ๊กอะเลกเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย (Алексе́й Никола́евич, Alexei Nikolaevich) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2447 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) มกุฎราชกุมารองค์สุดท้ายของรัสเซีย เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย แห่งราชวงศ์โรมานอฟ และจักรพรรดินีอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย ประสูติ ณ พระราชวังฤดูร้อนปีเตอร์ฮอฟ มีพระภคินี 4 พระองค์คือ.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

อัจฉริยะข้ามคืน

อัจฉริยะข้ามคืน หรือ "อัจฉริยะข้ามคืน ปี 1"(One Night Genius) สร้างสรรค์รูปแบบรายการและควบคุมการผลิตโดย รุ่งธรรม พุ่มสีนิล ออกอากาศทุกวันจันทร์ เวลา 22.30 - 24.00 น. ทางไทยทีวีสีช่อง 3 (3 กรกฎาคม 2549 - 7 มกราคม 2551) ดำเนินรายการโดย ปัญญา นิรันดร์กุล และ แทนคุณ จิตต์อิสระ โดยในแต่ละสัปดาห์จะมีผู้ร่วมแข่งขัน 8 คนจาก 8 สาขา โดยสถานที่ถ่ายทำจะเปลี่ยนแปลงไปทุกสัปดาห์ และรูปแบบของรายการในปีที่ 2 ดูได้ที่ อัจฉริยะข้ามคืน ปี 2.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอัจฉริยะข้ามคืน · ดูเพิ่มเติม »

อังกอร์ (ละครโทรทัศน์)

อังกอร์ เป็นละครแนวแอ็คชั่น-แฟนตาซี จากบทประพันธ์ของนอร์แมน วีรธรรม นำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ถึง 2 ครั้งด้วยกัน ครั้งแรกกำกับการแสดงโดย ฉลอง ภักดีวิจิตร ออกอากาศทุกวัน จันทร์ - อังคาร เวลา 20.30 น. ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เริ่มออกอากาศครั้งแรกวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 – 12 กันยายน พ.ศ. 2543 นำแสดงโดย พีท ทองเจือ, วรรัตน์ สุวรรณรัตน์, คงกระพัน แสงสุริยะ, จิตติมา สำเภาทอง และนักแสดงอีกมากมาย ผลิตโดย บริษัท บางกอก ออดิโอ วิชั่น จำกัด และครั้งที่สองกำกับการแสดงโดย เฉิดบุญ ภักดีวิจิตร ออกอากาศประมาณเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำแสดงโดย พัชฏะ นามปาน, สุภาพร วงษ์ถ้วยทอง, นริศสันต์ โลกวิทย์, อนุชิต สพันธุ์พงษ์, นภัสกร มิตรเอม และนักแสดงอีกมากมาย ผลิตโดย บริษัท อาหลองจูเนียร์ จำกั.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอังกอร์ (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

อังเกลา แมร์เคิล

อังเกลา โดโรเทอา แมร์เคิล (Angela Dorothea Merkel; นามสกุลเดิม คัสเนอร์; เกิด 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2497 ณ เมืองฮัมบูร์ก ประเทศเยอรมนี) ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันของเยอรมนี ซึ่งได้รับการเลือกตั้งสู่รัฐสภาเยอรมันจากรัฐเมคเลนบูร์ก-ฟอร์พอมเมิร์น เป็นประธานพรรคสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน(CDU) ตั้งแต่วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2543 และเป็นประธานกลุ่มพรรคสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน-สหภาพสังคมคริสเตียนในรัฐสภาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 จนถึง พ.ศ. 2548 นอกจากนั้นนางแมร์เคิลยังเป็นผู้นำรัฐบาลผสมกับพรรคสหภาพสังคมคริสเตียน (CSU) และพรรคประชาธิปไตยสังคมแห่งเยอรมนี (SPD) ซึ่งก่อตั้งขึ้นหลังภายจากการเลือกตั้งในวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 นางแมร์เคิลชนะการเลือกตั้งสมัยที่ 2 เมื่อปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอังเกลา แมร์เคิล · ดูเพิ่มเติม »

อันเชนเมโลดี

"อันเชนเมโลดี" (Unchained Melody) เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง อันเชน (Unchained) ใน พ.ศ. 2498 แต่งคำร้องโดยอเล็กซ์ นอร์ธ และทำนองโดยไฮ ซาเร็ธ ร้องครั้งแรกโดยท็อดด์ ดันแคน ซึ่งต่อมาได้รับการบันทึกเสียงใหม่ใน พ.ศ. 2508 และกลายเป็นหนึ่งในเพลงที่มีการบันทึกเสียงมากที่สุดในศตวรรษที่ 20 โดยบางแห่งมีการนับไว้ว่า มีการบันทึกมากกว่า 500 ฉบับในกว่า 100 ภาษาทั่วโลก.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอันเชนเมโลดี · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรียน กัสปารี

อเดรียน คัสเปรี (Andrian Kaspari) นักมวยสากลชาวอินโดนีเซีย เกิดเมื่อ 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอันเดรียน กัสปารี · ดูเพิ่มเติม »

อาเลกซานดาร์ คาราจอร์เจวิช

อาเล็กซานดาร์ คาราจอร์เจวิช ทรงเป็นที่รู้จักในนาม เจ้าฟ้าชายอาเล็กซานดาร์ มกุฎราชกุมารแห่งยูโกสลาเวีย (Александар Карађорђевић, Aleksandar Karađorđević, พระราชสมภพ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) ทรงเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์เซอร์เบีย เมื่อครั้งพระราชสมภพพระราชบิดาของพระองค์คือพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ทรงทำให้พระองค์เป็นมกุฎราชกุมารแห่งยูโกสลาเวียซึ่งเป็นพระองค์สุดท้าย ด้วยการสร้างรัฐบาลคอมมิวนิสต์และการตามมาซึ่งการล่มสลายแห่งยูโกสลาเวีย ทำให้ปัจจุบันทรงอ้างสิทธิในราชบัลลังก์เซอร์เบีย โดยมีพระราชอิสริยยศเป็น เจ้าฟ้าชายอเล็กซานเดอร์ที่ 2 มกุฎราชกุมารแห่งเซอร์เบีย แต่ปัจจุบันเป็นสาธารณรัฐเซอร์เบีย เจ้าชายอเล็กซานเดอร์เป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชาธิบดีปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย พระมหากษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งยูโกสลาเวีย ราชวงศ์คาราจอร์เจวิช กับอเล็กซานดราแห่งกรีซ สมเด็จพระราชินีแห่งยูโกสลาเวีย พระองค์มีพระราชอิสริยยศเป็น "มกุฎราชกุมารอเล็กซานเดอร์" ซึ่งได้มาตั้งแต่พระราชสมภพและพระราชบิดายังคงเป็นพระมหากษัตริย์อยู่ ซึ่งเป็นการแตกแยกในเซอร์เบียด้วยผู้คนจำนวนมากที่สนับสนุนระบอบกษัตริย์อันส่งผลต่อกับความมั่นคงของประเท.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอาเลกซานดาร์ คาราจอร์เจวิช · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านตาขุน

อำเภอบ้านตาขุน เป็นอำเภอแห่งหนึ่งในจังหวัดสุราษฎร์ธานี และเป็นอำเภอที่ตั้งของเขื่อนรัชชประภา หรือเขื่อนเชี่ยวหลาน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอำเภอบ้านตาขุน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังสะพุง

อำเภอวังสะพุง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเล.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอำเภอวังสะพุง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสุวรรณคูหา

อำเภอสุวรรณคูหา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดหนองบัวลำภู.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอำเภอสุวรรณคูหา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอทุ่งเสลี่ยม

ทุ่งเสลี่ยม (40px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุโขทัย เป็นประตูสู่อารยธรรมล้านนา ศิลปะล้านนา "ทุ่งเสลี่ยม" เป็นภาษาล้านนา หมายถึง ทุ่ง.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอำเภอทุ่งเสลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

อิสซาเบลลาแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส

อิสซาเบลลาแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส หรือ อิซาโบแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส (Isabeau of Bavaria หรือ Isabeau de Bavière หรือ Isabella of Bavaria-Ingolstadt) (ราว ค.ศ. 1370 - 24 กันยายน ค.ศ. 1435) อิสซาเบลลาแห่งบาวาเรียประสูติราว ค.ศ. 1370 ทรงเป็นบุตรีของสตีเฟนที่ 3 ดยุคแห่งบาวาเรีย และทัดดิอา (Taddea Visconti) ผู้มาจากตระกูลขุนนางวิสคอนติผู้ครองมิลาน อิสซาเบลลาแห่งบาวาเรียเป็นพระราชินีในพระเจ้าชาร์ลที่ 6 แห่งฝรั่งเศส หลังจากที่เสกสมรสเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1385 แล้วพระองค์ก็ทรงมีบทบาทสำคัญในทางการเมืองในปลายรัชสมัยอันมีวิกฤตการณ์ของพระสวามี อิสซาเบลลาแห่งบาวาเรียเป็นพระมารดาของพระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส และพระราชินีอังกฤษสองพระองค์ -- พระราชินีอิสซาเบลลาในพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ และพระราชินีแคทเธอรินในพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษ.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอิสซาเบลลาแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

อิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์

อิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์ (Isabella Stewart Gardner) (14 สิงหาคม ค.ศ. 1840-17 กรกฎาคม ค.ศ. 1924) อิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์เป็นนักสะสมศิลปะ, นักการกุศลสังคม (philanthropist) และ นักอุปถัมภ์ศิลปะคนสำคัญชาวอเมริกัน งานสะสมศิลปะของอิซาเบลลา สจวตในปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์อิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์ที่บอสตันในรัฐแมสซาชูเซตส์ในสหรัฐอเมริกา อิซาเบลลา สจวตบุตรีของเดวิดและอเดเลีย สจวตเกิดที่นครนิวยอร์ก และแต่งงานกับจอห์น โลเวลล์ “แจ็ค” การ์ดเนอร์ บุตรชายของจอห์น แอล.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อุลตร้าแมน

อดมนุษย์ อุลตร้าแมน เป็นทีวีซีรีส์ชุดแรกของทีวีซีรีส์ อุลตร้าซีรีส์ โดยมีเรื่องราวเกี่ยวกับ "ชิน ฮายาตะ" ที่เสียชีวิตเนื่องจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการตามล่าสัตว์ประหลาดของอุลตร้าแมน ยอดมนุษย์อุลตร้าแมน มนุษย์ต่างดาวจากกาแล็กซี่เนบิวล่า M78 จึงเลือกตัวเขาเป็นร่างสถิตย์เพื่อคืนชีวิตให้ ฮายาตะสามารถแปลงร่างเป็นอุลตร้าแมนได้โดยการชูและกดปุ่มที่ "เบต้าแคปซูล" และมีเวลาในการปราบสัตว์ประหลาดจากนอกโลกขนาดยักษ์ 3 นาที ในระหว่างนั้นเขายังทำหน้าที่อยู่ในหน่วยกองกำลังพิทักษ์ที่ชื่อ "หน่วยวิทยะ" หรือ "SSSP" ("S"cience "S"pecial "S"earch "P"arty) อีกด้วย มีจำนวนตอนทั้งหมด 39 ตอน เรื่อง ยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน มีเป็นรูปแบบ มังงะ เขียนโดย มาโมรุ อุจิยามะ อีกด้ว.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอุลตร้าแมน · ดูเพิ่มเติม »

อุลตร้าแมน (ตัวละคร)

อุลตร้าแมน เป็นทีวีซีรีส์ชุดแรกของทีวีซีรีส์อุลตร้าซีรีส์ โดยมีเรื่องราวเกี่ยวกับ"ชิน ฮายาตะ"ที่ตายเนื่องจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการตามล่าสัตว์ประหลาดของอุลตร้าแมน ยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน มนุษย์ต่างดาวจากแกแล็กซี่เนบิวล่า M78 จึงเลือกตัวเขาเป็นร่างสถิตย์เพื่อคืนชีวิตให้ ฮายาตะสามารถแปลงร่างเป็นอุลตร้าแมนได้โดยการชูและกดปุ่มที่ "เบต้าแคปซูล"และมีเวลาในการปราบสัตว์ประหลาดจากนอกโลกขนาดยักษ์ 3 นาที ในระหว่างนั้นเขายังทำหน้าที่อยู่ในหน่วยกองกำลังพิทักษ์ที่ชื่อ หน่วยวิทยะ หรือ SSSP (Science Spesial Search Party) อีกด้วย มีจำนวนตอนทั้งหมด 39 ตอน เรื่อง ยอดมนุษย์ อุลตร้าแมน มีเป็นรูปแบบมังงะ เขียนโดย มาโมรุ อุจิยามะ อีกด้วย หมวดหมู่:อุลตร้าแมน หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ในอดีต.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอุลตร้าแมน (ตัวละคร) · ดูเพิ่มเติม »

อุ้มรัก

อุ้มรัก เป็นละครโทรทัศน์ แนวโรแมนติกคอมาดี้ ออกอากาศทางช่อง 3 วันจันทร์-อังคาร เวลา 20.30 น. เรื่องราวเกี่ยวกับการตั้งท้องที่ไม่ตั้งใจ ของนางแบบสาวไฮโซ ณภัทร กับ ช่างภาพ ราเชนทร.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอุ้มรัก · ดูเพิ่มเติม »

อี.อาร์.เอ. รอมิวลุส

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ขับรอมิวลุส ชนะเลิศรายการแรกที่ โมนาโกกรังด์ปรีซ์ ทรงรับถ้วยรางวัลจากเจ้าชายหลุยส์แห่งโมนาโก ชายที่อยู่ขวาสุดในภาพคือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ รอมิวลุส เข้าเส้นชัยที่ ลอนดอนกรังปรีซ์ สนามคริสตัลพาเลซเซอร์กิต รอมิวลุส (คันหน้า) หนุมาน (คันกลาง) และ รีมุส (คันหลัง) จัดแสดงพร้อมกันที่วังจักรพงษ์ เมื่อปลายปี พ.ศ. 2530 ก่อนหน้าการแข่งขันกรุงเทพกรังด์ปรีซ์ 2531 รอมิวลุส (Romulus) เป็นชื่อที่ใช้เรียกรถแข่ง ยี่ห้อ อี.อาร์.เอ. (English Racing Automobiles - ERA) รหัส R2B ที่พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ใช้ขับแข่งในช่วงปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอี.อาร์.เอ. รอมิวลุส · ดูเพิ่มเติม »

อีร์เรเอมปลาซาเบล

อีร์เรเอมปลาซาเบล (Irreemplazable) คืออัลบั้มอีพีเพลงภาษาสหภาษาของของบียอนเซ่ โนวส์ นักร้องสาวเพลงอาร์แอนด์บีชาวอเมริกัน โดยใช้เพลงภาษาสเปนเป็นหลัก ในตอนแรก เพลงในอีพีนี้จะได้รับการบรรจุในอัลบั้ม บี'เดย์ ฉบับดีลักซ์ แต่ได้ออกจำหน่ายรูปแบบอัลบั้มอีพีในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ในส่วนของรูปแบบซีดีและดีวีดีได้ออกจำหน่ายในร้านวอล-มาร์ตในเวลาเดียวกัน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอีร์เรเอมปลาซาเบล · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบลหนองสามวัง

องค์การบริหารส่วนตำบลหนองสามวัง ตั้งอยู่ในเขตอำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี เดิมอดีตจังหวัดธัญบุรี ตำบลที่ใหญ่ที่สุดในอำเภอหนองเสือ.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและองค์การบริหารส่วนตำบลหนองสามวัง · ดูเพิ่มเติม »

อ็องรี ปวงกาเร

อ็องรี ปวงกาเร ฌูล อ็องรี ปวงกาเร (Jules Henri Poincaré) เกิด 29 เมษายน ค.ศ. 1854 เสียชีวิต 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1912 เป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ นักฟิสิกส์ และนักปรัชญาวิทยาศาสตร์ที่ดีสุดของฝรั่งเศส ในหนังสือประวัตินักคณิตศาสตร์ที่โด่งดังของอิริค เทมเพิล เบลล์ได้ให้เกียรติปวงกาเรว่าเป็น นักคณิตศาสตร์คนสุดท้ายผู้ล่วงรู้ครอบจักรวาล (universalist) เนื่องจากปวงกาเรเดินตามรอยของนักคณิตศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ในอดีต เช่น เกาส์, ออยเลอร์ หรือนิวตัน ที่มีผลงานและรอบรู้ในแทบทุกสาขาของคณิตศาสตร์ (หลังจากยุคปวงกาเรก็ไม่ปรากฏนักคณิตศาสตร์คนได้รอบรู้ในแง่ลึกของทุกสาขาอีก ทั้งนี้เนื่องจากสาขาของคณิตศาสตร์นั้นเพิ่มขึ้นมากมายมหาศาลในปัจจุบัน โดยตัวปวงกาเรเองก็เป็นผู้ที่ก่อตั้งสาขาย่อยของคณิตศาสตร์ใหม่อีกหลายสาขา) สาขาวิชาการที่ปวงกาเรได้อุทิศผลงานและมีผลกระทบสำคัญต่อวงการมากที่สุดได้แก่ คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงคณิตศาสตร์ และ กลศาสตร์ท้องฟ้า โดยผลงานที่โด่งดังของปวงกาเรมีมากมายเช่น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและอ็องรี ปวงกาเร · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์ดี อมีส

ซอร์ เอ็ดวิน ฮาร์ดี อมีส (17 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 - 5 มีนาคม พ.ศ. 2546) นักออกแบบเสื้อผ้าชาวอังกฤษ เป็นที่รู้จักในนามของนักออกแบบและตัดชุดให้สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและฮาร์ดี อมีส · ดูเพิ่มเติม »

ฌอร์ฌ เลอแม็ทร์

มงแซเญอร์ฌอร์ฌ อ็องรี โฌแซ็ฟ เอดัวร์ เลอแม็ทร์ (Monseigneur Georges Henri Joseph Édouard Lemaître; 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1894 - 20 มิถุนายน ค.ศ. 1966) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวเบลเยียม มีสมณศักดิ์เป็นเพรเลต และเป็นศาสตราจารย์ด้านฟิสิกส์และดาราศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยคาทอลิกเลอเฟิน บางครั้งเรียกโดยย่อด้วยชื่อตำแหน่งว่า "คุณพ่อ" (Abbé) หรือ "พระคุณเจ้า" (Monseigneur) เลอแม็ทร์ได้นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับต้นกำเนิดของจักรวาล ซึ่งต่อมากลายมาเป็นทฤษฎีบิกแบง เขาเรียกทฤษฎีของเขาว่า "สมมุติฐานว่าด้วยอะตอมแรกเริ่ม".

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและฌอร์ฌ เลอแม็ทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌาน ดาร์ก

น ดาร์ก (IPA) หรือโจนออฟอาร์ก (ราว 6 มกราคม ค.ศ. 1412 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1431) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญโยนออฟอาร์ค เป็นวีรสตรีของฝรั่งเศสและเป็นนักบุญในนิกายโรมันคาทอลิก โจนมาจากครอบครัวชาวนาที่เกิดทางตะวันออกของฝรั่งเศสและเป็นผู้นำกองทัพฝรั่งเศสในสงครามร้อยปีหลายครั้งที่ได้รับชัยชนะต่อฝ่ายอังกฤษโดยอ้างว่ามีพระเจ้าเป็นผู้ชี้ทาง และเป็นผู้มีส่วนทางอ้อมในการขึ้นครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7 โจนถูกจับโดยฝ่ายเบอร์กันดีและถูกขายให้แก่ฝ่ายอังกฤษ ถูกพิจารณาคดี และถูกเผาทั้งเป็นในข้อหาว่าเป็นพวกนอกรีตเมื่ออายุ 19 ปี ยี่สิบสี่ปีต่อมาพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7 ไม่ทรงสามารถที่จะแสดงพระองค์ว่าทรงได้รับอำนาจมาจากผู้ที่ถูกประณามว่าเป็นผู้นอกรีต สมเด็จพระสันตะปาปาคาลิกซ์ตุสที่ 3 จึงทรงมีคำสั่งให้มีตั้งศาลใหม่ในการพิจารณาการดำเนินการการพิจารณาคดีและการตัดสินของศาลแรก ศาลสรุปว่าฌานเป็นผู้บริสุทธิ์ และทางวาติกันประกาศให้ฌานเป็น “มรณสักขี”w:fr:Jeanne d'ArcAndrew Ward (2005) ในปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและฌาน ดาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ฌูล บีย็องกี

ูล บีย็องกี (Jules Bianchi; 3 สิงหาคม ค.ศ. 1989 – 17 กรกฎาคม ค.ศ. 2015) เป็นนักแข่งรถสูตรหนึ่งชาวฝรั่งเศส ที่ขับรถ Marussia F1 ใน FIA สูตรหนึ่งชิงแชมป์โลก บีย็องกีได้เข้าร่วมการแข่งขันรถสูตรหนึ่งครั้งแรกในรายการออสเตรเลียกรังด์ปรีซ์ในปีค.ศ. 2013 เขาจบฤดูกาลในอันดับที่ 19 ต่อมาเขาทำให้ทุกคนประหลาดใจในการแข่งขันมาเลย์เซียนกรังด์ปรีซ์ ในเดือนตุลาคมปี 2013 เขาได้อันดับที่ 13 ในฤดูกาลแรกของเขา ทีมงานออกมายืนยันว่าเขาจะขับรถให้กับทีมในฤดูกาลถัดไป ในฤดูกาล 2014 ที่โมนาโกกรังด์ปรี ในวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 2014 ในการแข่งขันศึกฟอร์มิวลาวัน รายการแจพะนีสกรังด์ปรีซ์ ประเทศญี่ปุ่น บีย็องกีได้สูญเสียการควบคุมจากอุบัติเหตุถนนลื่น ในระหว่างการแข่งขันนั้นจนทำให้ศีรษะกระแทกเข้ากับรั้วกันข้างสนาม ทำให้ทีมแพทย์ของสนามซูซูกะเซอร์กิต ต้องเร่งนำตัวส่งเข้าห้องผ่าตัดโดยด่วน และใช้เวลาผ่าตัดอยู่นานถึง 3 ชั่วโมง เช้าวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 2015 ตามเวลาท้องถิ่น ครอบครัวของบีย็องกีก็ได้รับข่าวร้ายเมื่อฌูล บีย็องกี ได้เสียชีวิตอย่างสงบที่โรงพยาบาลในเมืองนิสด้วยวัยเพียง 25 ปี ครอบครัวของบีย็องกี แถลงว่า "ถือเป็นความเสียใจอย่างยิ่งสำหรับครอบครัวของฌูล บีย็องกี ทั้งฟีลิป, คริสติน, ทอม และเมลานเราอยากบอกให้รู้ว่าสู้ ฌูลได้จากไปแล้วเมื่อคืนที่ศูนย์ดูแลพยาบาลที่ฝรั่งเศส จากอุบัติเหตุที่ซูซูกะเซอร์กิต ที่ญีปุ่น เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 2014 ฌูลได้พยายามต่อจวบจนถึงวินาทีสุดท้าย เขาทำแบบนั้นมาตลอด แต่วันนี้การต่อสู้ของเขาได้สิ้นสุดแล้ว มันเป็นความรู้สึกเจ็บปวดยิ่ง เราขอขอบคุณทีมแพทย์ทุกคนที่ทุ่มเทดูแลเขาอย่างเต็มที่ในหลายเดือนที่ผ่านมา จากนี้ไปพวกเราคงต้องขอให้เป็นเรื่องในครอบครัว และพยายามทำใจกับการสูญเสียครั้งนี้" ส่วนทีมมารัสเซีย ต้นสังกัดของนักขับบีย็องกี ก็ได้ออกมาแสดงความเสียใจเช่นกัน "เราเสียใจมากกับการสูญเสีย ฌูล หลังจากพยายามต่อสู้มายาวนาน เขาเป็นนักขับที่วิเศษสำหรับเราและขอให้ครอบครัวของเขาผ่านช่วงเวลาอันยากลำบากนี้ไปให้ได้" เขากลายเป็นนักแข่งรถสูตรหนึ่งที่เสียชีวิตในระหว่างการขับรถกรังปรีซ์คนที่ 2 ตั้งแต่การตายของอาอีร์ตง เซนนา ประสบอุบัติเหตุในปี ค.ศ. 1994 ที่ซานมารีโนกรังด์ปรี.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและฌูล บีย็องกี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย (Пётр III Фëдорович, Pyotr III Fyodorovitch) (21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1728 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1762) ทรงปกครองจักรวรรดิรัสเซียในฐานะพระจักรพรรดิเป็นเวลา 6 เดือน (5 มกราคม ค.ศ. 1762 - 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1762).

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย

ระราชพิธีบรมราชาภิเษกของจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 (1896) จักรพรรดินีโคไลที่ 2 (Николай II, Николай Александрович Романов, tr.) หรือ นิโคลัสที่ 2 (Nicholas II; 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2411 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) เป็นจักรพรรดิแห่งรัสเซีย, แกรนด์ดยุคฟินแลนด์และกษัตริย์แห่งโปแลนด์โดยสิทธิ์พระองค์สุดท้าย เช่นเดียวกับจักรพรรดิรัสเซียองค์อื่นๆ พระองค์เป็นที่รู้จักด้วยพระอิสริยยศ ซาร์ บรรดาศักดิ์โดยย่ออย่างเป็นทางการของพระองค์ คือ นิโคลัสที่ 2 จักรพรรดิและอัตตาธิปัตย์แห่งปวงรัสเซีย ศาสนจักรออโธด็อกซ์รัสเซียออกพระนามพระองค์ว่า นักบุญนิโคลัสผู้แบกมหาทรมาน (Passion-Bearer) และถูกเรียกว่า นักบุญนิโคลัสมรณสักขี จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 ทรงปกครองตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก)

ักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (Empress Maria Feodorovna of Russia) พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติคือ เจ้าหญิงดักมาร์แห่งเดนมาร์ก (พระนามรูปเต็ม มารี โซฟี เฟรเดริคเค ดักมาร์; 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2390 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2471) เป็นพระจักรพรรดินีมเหสีแห่งรัสเซีย เจ้าหญิงดักมาร์เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สองในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก และสมเด็จพระราชินีหลุยส์แห่งเฮสส์ - คาสเซิล หลังอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย จึงทรงได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีมเหสี หรือ ซาริน่าแห่งรัสเซีย ด้วยพระนามใหม่หลังจากการเข้ารีตในศาสนจักรออร์โธด็อกซ์รัสเซียว่า มารีเยีย ฟอโดรอฟนา (อักษรซีริลลิก: Mapия Фёдopoвна) พระราชโอรสพระองค์โตของพระองค์คือ สมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 2 แห่งรัสเซีย องค์พระประมุขรัสเซีย พระองค์สุดท้ายที่พระจักรพรรดินีทรงดำรงพระชนม์ชีพยืนยาวกว่าเป็นเวลาสิบปี.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและจักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซีย

ักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (Александра Фёдоровна) พระอิสริยยศเดิมคือ เจ้าหญิงอลิกซ์แห่งเฮสส์และไรน์ (วิกตอเรีย อลิกซ์ เฮเลนา หลุยส์ เบียทริซ; 6 มิถุนายน พ.ศ. 2415 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) ทรงเป็นจักรพรรดินีมเหสีในซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย พระองค์เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร และทรงเปลี่ยนพระนามเป็น อะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา เมื่อทรงรับศีลในนิกายออร์โธด็อกซ์รัสเซีย พระจักรพรรดินีอเล็กซานดราทรงเป็นที่รู้จักดีที่สุดในฐานะที่ทรงเป็นจักรพรรดินีพระองค์สุดท้ายของรัสเซีย เป็นหนึ่งในผู้ที่เป็นพาหะของโรคเฮโมฟีเลียและในเรื่องการสนับสนุนการควบคุมแบบเบ็ดเสร็จของจักรวรรดิรัสเซีย มิตรภาพในด้านลบกับกริกอรี รัสปูติน ผู้ลึกลับชาวรัสเซีย ถือเป็นปัจจัยสำคัญต่อพระชนม์ชีพของพระองค์ด้ว.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและจักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2

ักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2 หรือ อาณาจักรซาร์แห่งบัลแกเรีย (Second Bulgarian Empire, Второ българско царство, Vtorо Balgarskо Tsartsvo) เป็นจักรวรรดิในในยุคกลางของบัลแกเรียที่ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1185 และรุ่งเรืองมาจนถึงปี ค.ศ. 1396 (หรือ ค.ศ. 1422) จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2 เป็นจักรวรรดิที่สืบต่อจากจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 และมามีอำนาจรุ่งเรืองที่สุดในรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิคาโลยัน และ สมเด็จพระจักรพรรดิไอวาน อาเซนที่ 2 แห่งบัลแกเรีย ก่อนที่มาจะค่อยๆ เสื่อมโทรมลงจนในที่สุดก็ถูกพิชิตโดยจักรวรรดิออตโตมันในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2 ตามมาด้วยราชอาณาจักรที่ปกครองโดยเจ้าชายและต่อมาโดยพระมหากษัตริย์เป็นราชอาณาจักรบัลแกเรียในปี ค.ศ. 1878 มาจนถึงปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบัวใหญ่

ังหวัดบัวใหญ่ เป็นโครงการจัดตั้งจังหวัดของประเทศไทยที่เสนอโดยนายอรุณ อัครปรีดี กับประชาชนจำนวน 20,582 คน ยื่นรายชื่อเสนอกฎหมาย "ร่างพระราชบัญญัติตั้งจังหวัดบัวใหญ..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและจังหวัดบัวใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

จารุวัฒน์ เชี่ยวอร่าม

รุวัฒน์ เชี่ยวอร่าม (ชื่อเล่น: โดม) เป็นศิลปินชาวไทยชื่อเสียงดังในสังกัด เอ็กแซ็กท์ GMM Grammy มีชื่อเสียงจากการเป็นผู้ชนะเลิศรายการประกวดเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 8 ปัจจุบัน เป็นพิธีกรร่วมรายการ 4 โพดำ และมีผลงานแสดงออกมาต่อเนื่อง ทั้งงานพิธีกร นักร้อง นักแสดง.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและจารุวัฒน์ เชี่ยวอร่าม · ดูเพิ่มเติม »

จำอวดหน้าจอ

ำอวดหน้าจอ เป็นรายการวาไรตี้ที่ส่งเสริมวัฒนธรรมไทย ที่บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ผ่านเพลงฉ่อย ผลิตโดยบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งแยกออกมาจากรายการ คุณพระช่วย ช่วง จำอวดหน้าม่าน ดำเนินรายการโดย พิเชษฐ์ เอี่ยมชาวนา จำนงค์ ปิยะโชติ และ พวง แก้วประเสริฐ (ปัจจุบันมี ส้มเช้ง สามช่า เป็นพิธีกรรับเชิญ) ออกอากาศทางช่องเวิร์คพอยท์ ทุกวันอาทิตย์ 20.50 - 21.50 (20 พฤศจิกายน 2559-28 พฤษภาคม 2560) และทุกวันอาทิตย์ 16.00 - 17.00 น.(ตั้งแต่ 4-25 มิถุนายน 2560 และ 7 มกราคม 2561 - ปัจจุบัน) ทุกวันอาทิตย์ เวลา 17:00-18:00 น. (2 กรกฎาคม - 31 ธันวาคม 2560).

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและจำอวดหน้าจอ · ดูเพิ่มเติม »

จิรพัฒน์ สุตตปัญญา

รพัฒน์ สุตตปัญญา หรือ เอก เกิดวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 เป็นนักแสดงชาวไทย ในสังกัดสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 (ปี 2550 - 2552) เข้าสู่วงการบันเทิงจากที่ เอ ศุภชัย ศรีวิจิตร ไปเจอโดยบังเอิญจึงชักชวนเข้ามาเป็นนักแสดงในสังกัดและช่อง 7 มีผลงานละครตั้งแต่ปี 2550 จนกระทั่งปี 2552 ได้ออกจากวงการบันเทิงไปทำงานวิศวกรปิโตรเลียม ในบริษัท เชฟรอนประเทศไทยสำรวจและผลิต จำกั.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและจิรพัฒน์ สุตตปัญญา · ดูเพิ่มเติม »

จี7

ี7 (G7) หรือในอดีตคือ จี8 (G8, เพิ่มรัสเซีย) เป็นกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของโลก ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิก 7 ประเทศคือ แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา โดยเศรษฐกิจของประเทศเหล่านี้นับเป็นกว่า 50% ของเศรษฐกิจโลก (ณ ปี 2012) นอกจากนั้น ยังมีประธานแห่งสหภาพยุโรปร่วมประชุมด้วย ในปี 2014 จากบทบาทของรัสเซียในวิกฤตการณ์ไครเมีย ทำให้รัสเซียถูกพักจากการเป็นสมาชิกกลุ่ม และประเทศที่เหลือได้มีการจัดประชุมในนามจี7 อีกครั้ง.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและจี7 · ดูเพิ่มเติม »

ธารินทร์ นิมมานเหมินท์

รินทร์ นิมมานเหมินท์ กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและธารินทร์ นิมมานเหมินท์ · ดูเพิ่มเติม »

ธีฟอินเดอะเทมเพิล

ีฟอินเดอะเทมเพิล (Thieves in the Temple) เป็นเพลงของพรินซ์ ในปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและธีฟอินเดอะเทมเพิล · ดูเพิ่มเติม »

ทรีสแปลช

"ทรี สแปลช" เป็นซิงเกิลที่ 44 ของคุมิ โคดะ และเป็นทริปเปิล เอ ไซด์ ซิงเกิล คือ เพลง "Lick me ♡", "ECSTASY", และ "走れ!" วางจำหน่ายวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 เพลง "Lick me ♡" เป็นเพลงประกอบโฆษณาคอนเสิร์ต "SANKYO「KODA KUMI FEVER LIVE IN HALLⅡ」" เพลง "ESTACY" เป็นเพลงประกอบโฆษณา music.jp และเพลง "ฮาชิเระ!" (走れ!) เป็นเพลงประกอบรายการ "S☆1" ทางช่องทีบีเอส ซิงเกิล "3 SPLASH" มีเพลงอินโทรดักชันก่อนขึ้นเพลงหลัก และเอาโทรดักชันหลังเพลงหลักเหมือนกับซิงเกิล "4 hot wave" ซิงเกิล "3 SPLASH" ได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำจาก RIAJ เนื่องจากมียอดขายและยอดส่งออกเกิน 100,000 แผ่น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและทรีสแปลช · ดูเพิ่มเติม »

ทศพล ลาเทศ

ทศพล ลาเทศ เกิดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2532 เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ปัจจุบันได้ลงเล่นให้กับ สโมสรฟุตบอลการท่าเรือ ใน ไทยลีกดิวิชั่น 1.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและทศพล ลาเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการอาเจะฮ์เสรี

งของขบวนการอาเจะฮ์เสรี ขบวนการอาเจะฮ์เสรี (Gerakan Aceh Merdeka; GAM) หรือ แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติอาเจะฮ์สุมาตรา (Aceh Sumatra National Liberation Front) เป็นขบวนการแบ่งแยกดินแดนที่เรียกร้องเอกราชในบริเวณอาเจะฮ์ที่อยู่ในเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย การต่อสู้ด้วยความรุนแรงขององค์กรยุติลงหลังจากการเจรจาสันติภาพกับรัฐบาลอินโดนีเซีย เมื่อ..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและขบวนการอาเจะฮ์เสรี · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการซูเปอร์อิเล็กตรอน ไบโอแมน

วเด็นชิ ไบโอแมน หรือ ขบวนการซูเปอร์อิเล็กตรอน ไบโอแมน เป็นภาพยนตร์แนวขบวนการนักสู้ ลำดับที่ 8 ของประเทศญี่ปุ่น ออกอากาศทางสถานี ทีวีอาซาฮี ทุกวันเสาร์ เวลา 18.00-18.30 น. ตามเวลาประเทศญี่ปุ่น โดยเริ่มออกอากาศตั้งแต่เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1984 ถึง 26 มกราคม ค.ศ. 1985 รวมความยาวทั้งสิ้น 51 ตอน และมีตอนพิเศษสำหรับออกฉายในโรงภาพยนตร์อีก 1 ตอน (ออกฉาย 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1984).

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและขบวนการซูเปอร์อิเล็กตรอน ไบโอแมน · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐรัฐ โมริส เลอกรอง

ณัฐรัฐ โมริส เลอกรอง หรือ ณัฐ เกิดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 เป็นนักแสดงลูกครึ่งชาวไทย-ฝรั่งเศส-จีน เริ่มต้นงานในวงการบันเทิงจากการเดินแบบ ถ่ายแบบ และเป็นนายแบบโฆษณา ก่อนที่ ณัฐรัฐ โมริส เลอกรอง จะก้าวขึ้นมาเป็นนักแสดงของช่อง 3 ด้วยการรับบทเด่นเป็นพระเอกหลาย ๆ เรื่อง อาทิ แม่ครัวคนใหม่ อเวจีสีชมพู, พริกไทยกับใบข้าว และล่าสุดกับ ปราสาทมืด ของค่ายบางกอกการละคร.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและณัฐรัฐ โมริส เลอกรอง · ดูเพิ่มเติม »

ดรีมมิงออฟยู

รีมมิงออฟยู (Dreaming of You) เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 5 ของเซเลนาศิลปินเพลงป๊อปหญิงชาวอเมริกัน ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและดรีมมิงออฟยู · ดูเพิ่มเติม »

ดิลิเชียสเวย์

ลิเชียสเวย์เป็นอัลบั้มแรกของไม คุรากิออกจำหน่ายวันที่28 มิถุนายน พ.ศ. 2543ออกจำหน่ายพร้อมกันกับอัลบั้มซีเคร็ตออฟมายฮาร์ทมีรหัสซีดีคือ GZCA-1039.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและดิลิเชียสเวย์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสตัลพาเลซเซอร์กิต

ริสตัลพาเลซเซอร์กิต (Crystal Palace Circuit) เป็นสนามแข่งรถ ตั้งอยู่ในคริสตัลพาเลซพาร์ก ลอนดอน ประเทศอังกฤษ บริเวณสถานที่ที่เคยจัดนิทรรศการสิ่งประดิษฐ์และอุตสาหกรรม พ.ศ. 2394 (The Great Exhibition) สนามแข่งรถแห่งนี้เปิดใช้แข่งรถจักรยานยนต์เป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 ในช่วงแรกเป็นสนามหินบด มีความยาว 1 ไมล์ (1.6 กิโลเมตร) แต่ได้รับการปรับปรุงในปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและคริสตัลพาเลซเซอร์กิต · ดูเพิ่มเติม »

คลื่นสึนามิ

แสดงคลื่นสึนามิพัดขึ้นฝั่ง คลื่นสึนามิ เป็นกลุ่มคลื่นน้ำที่เกิดขึ้นจากการย้ายที่ของปริมาตรน้ำก้อนใหญ่ คือ มหาสมุทรหรือทะเลสาบขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทุของภูเขาไฟและการระเบิดใต้น้ำอื่นๆ (รวมทั้งการจุดวัตถุระเบิดหรือวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำ) ดินถล่ม ธารน้ำแข็งไถล อุกกาบาตตกและการรบกวนอื่น ไม่ว่าเหนือหรือใต้น้ำ ล้วนอาจก่อให้เกิดเป็นคลื่นสึนามิได้ทั้งสิ้น คลื่นสึนามิไม่เหมือนกับคลื่นทะเล(tidal wave)ตามปกติ เพราะมีความยาวคลื่นยาวกว่ามาก แทนที่จะเป็นคลื่นหัวแตก (breaking wave) ตามปกติ คลื่นสึนามิเริ่มแรกอาจดูเหมือนกับว่าคลื่นน้ำเพิ่มระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และด้วยเหตุนี้ คลื่นสึนามิจึงมักเรียกว่าเป็นคลื่นยักษ์ โดยทั่วไป คลื่นสึนามิประกอบด้วยกลุ่มคลื่นซึ่งมีคาบเป็นนาทีหรืออาจมากถึงชั่วโมง มากันเรียกว่าเป็น "คลื่นขบวน" (wave train) ความสูงของคลื่นหลายสิบเมตรนั้นอาจเกิดขึ้นได้จากเหตุการณ์ขนาดใหญ่ แม้ผลกระทบของคลื่นสึนามินั้นจะจำกัดอยู่แค่พื้นที่ชายฝั่ง แต่อำนาจทำลายล้างของมันสามารถมีได้ใหญ่หลวงและสามารถมีผลกระทบต่อทั้งแอ่งมหาสมุทร คลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 เป็นหนึ่งในภัยธรรมชาติครั้งที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ โดยมีผู้เสียชีวิตกว่า 230,000 คน ใน 14 ประเทศที่ติดกับมหาสมุทรอินเดีย ธูซิดดิดีส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก เสนอเมื่อ 426 ปีก่อนคริสตกาล ว่า คลื่นสึนามิเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวใต้ทะเลThucydides: แต่ความเข้าใจในธรรมชาติของคลื่นสึนามิยังมีเพียงเล็กน้อยกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 และยังมีอีกมากที่ยังไม่ทราบในปัจจุบัน ขณะที่แผ่นดินไหวที่รุนแรงน้อยกว่ามากกลับก่อให้เกิดคลื่น พยายามพยากรณ์เส้นทางของคลื่นสึนามิข้ามมหาสมุทรอย่างแม่นยำ และยังพยากรณ์ว่าคลื่นสึนามิจะมีปฏิสัมพันธ์กับชายฝั่งแห่งหนึ่ง ๆ อย่างไร.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและคลื่นสึนามิ · ดูเพิ่มเติม »

คองคอร์ด

รื่องบินคองคอร์ด 2 มีนาคม ค.ศ. 1969 เครื่องบินคองคอร์ด (Concorde) เป็นเครื่องบินขนส่งชนิดมีความเร็วเหนือเสียง เป็นหนึ่งในสองแบบของเครื่องบินเร็วเหนือเสียงที่ใช้เป็นเครื่องบินโดยสาร และนำมาให้บริการในเชิงพาณิชย์ โดยใช้เวลาศึกษาวิจัยเป็นเวลา 7 ปี เครื่องคองคอร์ดต้นแบบเครื่องแรกบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 1969 ทดสอบและพัฒนาอีก 4 ปี โดยคองคอร์ดเครื่องแรกออกจากสายการผลิตและเริ่มบินทดสอบเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม ค.ศ. 1973 รวมตั้งแต่เริ่มโครงการจนนำมาผลิตใช้เวลากว่า 13 ปีเต็มใช้เงินในการพัฒนากว่า 1,000 ล้านปอนด์ เครื่องบินคองคอร์ดมีความเร็วปกติ 2,158กิโลเมตรต่อชั่วโมง และเพดานบินสูงสุด 60,000 ฟุต (18.288กิโลเมตร) มีปีกสามเหลี่ยม การบินเชิงพาณิชย์ของคองคอร์ด ดำเนินการโดยบริติชแอร์เวย์ (British Airways) และแอร์ฟรานซ์ (Air France) เริ่มต้นเมื่อวันที่ 21 มกราคม ค.ศ. 1976 และสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 2003 และมีเที่ยวบิน “เกษียณอายุ” เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 2003 เที่ยวบินลอนดอน-นิวยอร์ก และปารีส-นิวยอร์ก ใช้เวลาเดินทางเฉลี่ยประมาณ 3 ชม.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและคองคอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรชิเระโตะโกะ

นที่ ภาพถ่ายดาวเทียมของคาบสมุทรชิเระโตะโกะ คาบสมุทรชิเระโตะโกะ อยู่ที่ด้านตะวันออกสุดของเกาะฮอกไกโด ญี่ปุ่น ยื่นออกไปในทะเลโอคอตส์ มีช่องแคบเนะมุโระกั้นระหว่างคาบสมุทรกับเกาะ Kunashirของรัสเซีย ชื่อชิเระโตะโกะมีที่มาจากคำในภาษาไอนุคำว่า sir etok หมายถึง "จุดสุดขอบแผ่นดิน" หรือ "จุดที่แผ่นดินยื่นออกไป" บนคาบสมุทรเป็นที่ตั้งของเมืองเราสุและชาริ เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ในการประชุมคณะกรรมมรดกโลกที่จัดขึ้นที่สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ คณะกรรมการได้ประกาศให้คาบสมุทรชิเระโตะโกะเป็นมรดกโลก ภายใต้ชื่อ ชิเระโตะโกะ และได้รับการขึ้นทะเบียนอย่างเป็นทางการในวันที่ 17 กรกฎาคม ด้วยลักษณะพิเศษของคาบสมุทรแห่งนี้ที่เป็นจุดที่อยู่ทิศใต้สุดในซีกโลกเหนือที่ทะเลจะจับตัวเป็นน้ำแข็งได้โดยปกต.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและคาบสมุทรชิเระโตะโกะ · ดูเพิ่มเติม »

คามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล

มิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล หรือพระนามเดิม คามิลลา โรสแมรี หรือที่รู้จักกันในพระนาม คามิลลา พาร์กเกอร์ โบลส์ (Camilla, Duchess of Cornwall; ประสูติเมื่อ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2490) เป็นพระวรชายาพระองค์ที่สองของเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ องค์รัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร คามิลลาประสูติเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 ทรงเป็นธิดาของนายบรูซ ชานด์และนางโรซาลินด์ ชานด์ (สกุลเดิม คิวบิต) พระชนนีของพระองค์เป็นธิดาของโรแลนด์ คิวบิตที่ 3 บารอนแห่งอาซท์คอมบี้ พระองค์ประสูติในอีสต์ซัสเซ็กซ์ และทรงเติบโตขึ้นมาในชนชั้นสูงของอังกฤษ ในปี 1973 พระองค์สมรสกับทหารในกองทัพอังกฤษ ชื่อว่าอันดริว พาร์กเกอร์-โบลส์ และทั้งคู่มีบุตรสองคน ทั้งสองหย่ากันในปี 1995 ความสัมพันธ์ของคามิลลาและเจ้าชายชาลส์นั้นตกเป็นข่าวดังขึ้น ในที่สุดคลาเรนซ์เฮ้าส์ประกาศเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ว่าเจ้าชายชาลส์และคามิลลา ปากเกอร์ โบลส์ จะอภิเษกสมรสในวันที่ 8 เมษายน ปีเดียวกันนั้น อย่างไรก็ตามเนื่องจากการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 การอภิเษกสมรสต้องเลื่อนไปเป็นวันที่ 9 เมษายน แทนเพราะเจ้าชายชาลส์ต้องเสด็จพระราชดำเนิน ไปในการพระศพ รวมทั้งได้มีการประกาศเพิ่มเติมด้วยว่าหลังจากอภิเษกสมรสแล้ว คามิลลาจะดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงดัชเชสแห่งคอร์นวอล (Her Royal Highness the Duchess of Cornwall) และหลังจากเจ้าชายชาลส์เสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์จะทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงพระราชชายา (Her Royal Highness the Princess Consort) เชื่อกันว่าเนื่องจากอ้างอิงตามพระอิสริยยศของเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียที่ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าชายพระราชสวามี (His Royal Highness the Prince Consort) และหลังจากเสกสมรสแล้ว คามิลลาได้กลายเป็นพระมารดาเลี้ยงใน เจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ และ เจ้าชายเฮนรี แห่งเวลส์ พระโอรสทั้ง 2 พระองค์ของพระราชสวามีกับพระวรชายาพระองค์เก่า ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวล.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและคามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการมรดกโลก

ลโก้ของยูเนสโกในคณะกรรมการมรดกโลก คณะกรรมการมรดกโลก (World Heritage Committee) ถูกก่อตั้งโดยเป็นส่วนหนึ่งของของมรดกโลกของยูเนสโก คณะกรรมการมรดกโลกจะมีการประชุมร่วมกันหลายครั้งในแต่ละปี เพื่ออภิปรายถึงแผนการจัดการเกี่ยวกับแหล่งมรดกโลกที่ยังคงอยู่ และรับรายชื่อสถานที่ที่ประเทศต่างๆเสนอให้ได้รับการพิจารณาให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก และจะมีการประชุมครั้งหนึ่งที่เรียกว่า การประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ (World Heritage Committee Session) ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี เพื่อตัดสินว่าสถานที่ที่ได้รับการเสนอชื่อแห่งใดที่จะได้รับการขึ้นทะเบียนอย่างเป็นทางการ การประชุมสมัยสามัญประจำปีจะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันจัดในเมืองสำคัญต่างๆจากทั่วโลก ซึ่งนอกจากครั้งที่จัดขึ้นที่กรุงปารีส อันเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ขององค์การยูเนสโกแล้ว จะมีเพียงประเทศที่สมาชิกของคณะกรรมการมรดกโลกเท่านั้นที่จะได้รับสิทธิในการจัดการประชุมครั้งต่อไป โดยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ และรับรองได้ว่าสมาชิกภาพของประเทศนั้นๆจะไม่หมดวาระลงเสียก่อนที่จะได้จัดการประชุม.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและคณะกรรมการมรดกโลก · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา (School of Management and Information Science, University of Phayao) จัดตั้งขึ้นเป็นคณะวิชาลำดับที่ 12 ของมหาวิทยาลัยพะเยา เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2547 จัดการเรียนการสอนในกลุ่มวิชาทางด้านการจัดการและบริหารธุรกิจ รวมถึงด้านนิเทศศาสตร์ ทั้งในระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษ.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา (School of Liberal Arts, University of Phayao) เป็นคณะในสังกัดมหาวิทยาลัยพะเยา เปิดทำการสอนในด้านศิลปศาสตร์ เดิมเป็นสำนักวิชาในสังกัดมหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา ต่อมาได้รับการยกฐานะเป็นคณะในปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา (School of Allied Health Sciences, University of Phayao) เป็นหน่วยงานวิชาการระดับคณะวิชา ของมหาวิทยาลัยพะเยา ทำการจัดการศึกษาด้านเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบั.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา (School of Architecture and Fine Art, University of Phayao) เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2553 ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนบน ณ อำเภอเมืองพะเยา จังหวั.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา (School of Information and Communication Technology, University of Phayao) เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชาของมหาวิทยาลัยพะเยา ก่อตั้งเมื่อ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2544 เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาวิชาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สอดคล้องตามเป้าหมายการเป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ (Comprehensive University).

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คนมีเสน่ห์

"คนมีเสน่ห์" เป็นซิงเกิลของ นครินทร์ กิ่งศักดิ์ ในปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและคนมีเสน่ห์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราบาปสีขาว

ตราบาปสีขาว เป็นละครดราม่า ของบริษัท เอ็กแซ็กท์ และ ซีเนริโอ จำกัด เค้าโครงเรื่องโดย ศิริลักษณ์ ศรีสุคนธ์, วีระพร คุ้มพร้อม บทโทรทัศน์โดย สันติ เกษมศิริทัศน์, ชลพรรธน์ วิริยะวัฒน์, รุรี ควบคุมบทโทรทัศน์โดย นิพนธ์ ผิวเณร, ศิริลักษณ์ ศรีสุคนธ์ กำกับการแสดงโดย สันต์ ศรีแก้วหล่อ อำนวยการผลิตโดย นิพนธ์ ผิวเณร และ ถกลเกียรติ วีรวรรณ นำแสดงโดย ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง, นัท มีเรีย, โสภิตนภา ชุ่มภาณี และ ปานวาด เหมมณี ออกอากาศทุกวันจันทร์-พฤหัสบดี เวลา 20.25 - 21.25 น. ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 เริ่มออกฉายวันแรกวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553 และออกอากาศรีรันอีกครั้งตอนแรกทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 วันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 เวลา 11.00 - 11.50 น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและตราบาปสีขาว · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของไอซ์แลนด์

ตราแผ่นดินของไอซ์แลนด์ (Skjaldarmerki Íslands, Coat of arms of Iceland) เป็นตราอาร์มของประเทศไอซ์แลนด์เป็นตรากางเขนเงินบนพื้นตราสีน้ำเงินโดยมีกาเขนสีแดงเพลิงกลางกางเขนเงิน (เช่นเดียวกับที่ปรากฏบนธงชาติไอซ์แลนด์) รอบโล่เป็นเครื่องหมายผู้พิทักษ์สี่อย่างประคองตรา ยืนอยู่บนแผ่นหินลาวา (Pāhoehoe) ที่รวมทั้งวัว (Griðungur) ผู้พิทักษ์ไอซ์แลนด์ตะวันตกเฉียงใต้, เหยี่ยว หรือ กริฟฟิน (Gammur) ผู้พิทักษ์ไอซ์แลนด์ตะวันตกเฉียงเหนือ, มังกร (Dreki) ผู้พิทักษ์ตะวันออกเฉียงเหนือ และ ยักษ์ (Bergrisi) ผู้พิทักษ์ตะวันออกเฉียงใต้ ในอดีตไอซ์แลนด์ให้ความสำคัญกับผู้พิทักษ์ทั้งสี่จนถึงกับออกฎหมายระหว่างสมัยไวกิงห้ามมิให้เรือยาวไวกิง (Longship) ที่มีสัญลักษณ์หน้าตาดุร้าย (ส่วนใหญ่เป็นหัวมังกรบนหัวเรือ) เข้าใกล้ท่าเรือในไอซ์แลนด์ เพราะอาจจะเป็นสิ่งที่ทำให้ไม่เป็นที่พอใจของผู้พิทักษ.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและตราแผ่นดินของไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ฉิน หลาน

ฉิน หลาน เป็นนักแสดงสาวชาวจีน เกิดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1981 ที่เสิ่นหยาง ประเทศจีน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและฉิน หลาน · ดูเพิ่มเติม »

ซะยะกะ อิชี

ซะยะกะ อิชี (เกิดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2526) คืออดีตนักร้องของกลุ่ม มอร์นิงมุซุเมะ ที่มีชื่อเสียงของญี่ปุ่น แลกลุ่มนักร้องอื่น ๆ ในสังกัดเฮลโล! โปรเจกต์ อย่างเช่น พุคจิโมนิ หรืออาโออิโระ 7 ปัจจุบันนี้ เธอมีครอบครัวและได้ออกจากวงการบันเทิงไปเรียบร้อยแล้ว.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและซะยะกะ อิชี · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์โรบ็อตไทเซ็น

ปกเกม ซูเปอร์โรบ็อตไทเซ็น ภาคอัลฟาไกเด็น สำหรับเครื่องเพลย์สเตชัน ซูเปอร์โรบ็อตไทเซ็น (スーパーロボット大戦, ซูปาโรบ็อตโตะไทเซ็น; Super Robot Wars) หรือในชื่อย่อว่า SRW เป็นตระกูลเกมซิมูเลชันอาร์พีจี (วางแผนการรบ + พัฒนาตัวละคร) พัฒนาโดยบริษัทแบนเพรสโต ออกวางจำหน่ายในรูปแบบเกมสำหรับเครื่องเล่นเกมแทบทุกชนิด เช่น แฟมิคอม, ซูเปอร์แฟมิคอม, เกมบอย, เพลย์สเตชัน, เกมบอยแอดวานซ์ ฯลฯ เป็นการจับเอาตัวละครและหุ่นจากอะนิเมะแนวหุ่นยนต์ยอดฮิตหลายๆ เรื่องมายำรวมกัน และร้อยเรียงเนื้อเรื่องขึ้นมาใหม่ให้กลายเป็นเรื่องเดียวกัน โดยในเกมจะมีการแบ่งประเภทหุ่นออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ซูเปอร์โรบ็อต และ เรียลโรบ็อต ซึ่งหุ่นทั้ง 2 ประเภท ต่างก็มีจุดเด่นและประสิทธิภาพที่ยอดเยี่ยมกันไปคนละแบบ ให้ผู้เล่นสามารถเลือกใช้ได้ตามแต่สถานการณ์และความถนัดของตนเอง อย่างไรก็ตาม แม้ในข้างต้นจะบอกว่าเกมซูเปอร์โรบ็อตไทเซ็น จะนำตัวละครและหุ่นจากอะนิเมะแนวหุ่นยนต์หลายเรื่องมาใช้ แต่ปัจจุบัน ตัวละครจากอะนิเมะที่ไม่ใช่แนวหุ่นยนต์อย่าง เทคก้าแมนเบลด กับ เบ็ตเตอร์แมน รวมไปถึง มังงะ และ เกม อย่าง ครอสโบนกันดั้ม และ เวอร์ชวลออน ก็ได้มามีบทบาทอยู่ในเกมด้วยแล้วเช่นกัน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและซูเปอร์โรบ็อตไทเซ็น · ดูเพิ่มเติม »

ซีโอทู (วงดนตรี)

ซีโอทู (อังกฤษ: C-O-TWO หรือ CO2) นักร้องดูโอ้ภายใต้สังกัด "ONPA" เริ่มมีผลงานเพลงเป็นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและซีโอทู (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

ประยูร ภมรมนตรี

รองอำมาตย์เอก นายพลโท ประยูร ภมรมนตรี ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เป็นหนึ่งในคณะผู้ก่อการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ฝ่ายพลเรือน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นเหลนของพระยาราชมนตรี (ภู่ ภมรมนตรี) เสนาบดีพระคลังในรัชกาลที่๓ เป็นบุตรของ พันตรี พระชำนาญคุรุวิทย์ (แย้ม ภมรมนตรี) ทูตทหารประจำจักรวรรดิเยอรมัน กับมารดาที่เป็นชาวเยอรมัน ซึ่งเป็นครูสอนภาษาเยอรมันให้กับนักเรียนในจักรวรรดิเยอรมันขณะนั้น2475: สองฝั่งประชาธิปไตย, สารคดี: ทีวีไทย พฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ชื่อ แพทย์หญิงแอนเนลี ไฟร์ พลโท ประยูร ภมรมนตรี เป็นผู้เสนอจัดตั้งโรงแรมขนาดใหญ่ เพื่อรองรับความเจริญของกรุงเทพมหานคร หลังสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประยูร ภมรมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สเปน

ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ. 711 ชาวแอฟริกาเหนือซึ่งเป็นชาวมุสลิม (ชาวมัวร์) ก็เริ่มเข้ามามีอำนาจ ในที่สุดอาณาจักรอิสลามก็ได้รับการสถาปนาขึ้นบนคาบสมุทรแห่งนี้และยืนหยัดได้เป็นเวลาประมาณ 750 ปี ซึ่งพื้นที่ที่ชาวมุสลิมครอบครองนั้นเป็นที่รู้จักกันในชื่อ อัลอันดะลุส แต่ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ยังเป็นช่วงที่เรียกว่า "เรกองกิสตา" หรือการยึดดินแดนคืนของชาวคริสต์ซึ่งค่อย ๆ รุกลงไปทางใต้ เหตุการณ์เหล่านี้ดำเนินไปถึงจุดสิ้นสุดเมื่อชาวคริสต์สามารถพิชิตที่มั่นแห่งสุดท้ายของชาวมุสลิมที่กรานาดาได้ในปี ค.ศ. 1492 จากนั้นราชอาณาจักรและรัฐคาทอลิกต่าง ๆ บนคาบสมุทรไอบีเรียก็ได้พัฒนาขึ้น รวมทั้งราชอาณาจักรคาสตีลและราชอาณาจักรอารากอนด้วย ซึ่งการรวมกันของอาณาจักรทั้งสองนี้จะนำไปสู่ความเป็นปึกแผ่นของรัฐชาติสเปนในเวลาต่อมา ปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประวัติศาสตร์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เยอรมนี (ค.ศ. 1945–1990)

กความพ่ายแพ้ของนาซีเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีก็ได้ถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก และเยอรมนีต้องเสียค่าปฏิกรรมสงครามโดยการเสียดินแดนทางตะวันออกของประเทศให้แก่โปแลนด์และสหภาพโซเวียต ในช่วงท้ายของสงครามมีชาวเยอรมนีพลัดถิ่นถึง 8,000,000 คน ส่วนใหญ่ถูกใช้แรงงานและเป็นนักโทษ มีประมาณ 400,000 คนรอบค่ายกักกันอันเข้มงวด ที่รอดชีวิตจากประชาชนจำนวนมากที่เสียชีวิตจากความอดอยาก สภาวะอันโหดเหี้ยม ฆาตกรรม หรือการทำงานที่หนักเกินไปจนมีอันตรายถึงแก่ชีวิต กว่า 10 ล้านผู้ลี้ภัยที่พูดภาษาเยอรมันได้เข้ามาในเยอรมนีจากประเทศอื่น ๆ ในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ส่วนชาวเยอรมัน 9,000,000 คนถูกจับเป็นเชลยศึก และถูกใช้แรงงานเป็นเวลาหลายปีเพื่อให้ชดใช้ความเสียหายให้กับเยอรมนีที่แพ้สงคราม และอุปกรณ์อุตสาหกรรมบางชิ้นก็ถูกใช้เป็นค่าปฏิกรรมสงคราม ในช่วงสงครามเย็น เยอรมนีถูกแบ่งเป็น 2 ส่วน คือส่วนของฝ่ายสัมพันธมิตรทางฝั่งตะวันตก และส่วนของสหภาพโซเวียตทางฝั่งตะวันออก ส่วนรัฐบาลเยอรมนีได้เสียงเพียงเล็กๆ น้อยๆ เท่านั้น จนกระทั่ง ค.ศ. 1949 เมื่อมีการก่อตั้งสองรัฐเกิดขึ้น ได้แก.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประวัติศาสตร์เยอรมนี (ค.ศ. 1945–1990) · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ พิลาดวง

ประสิทธิ์ พิลาดวง (เกิด 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2537) เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลชาย ผู้ทำหน้าที่ในตำแหน่งตัวเซต ปัจจุบันเล่นให้กับแอร์ฟอร์ซ.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประสิทธิ์ พิลาดวง · ดูเพิ่มเติม »

ประหยัด ศ. นาคะนาท

ลายเส้นโดย ประยูร จรรยาวงษ์ จากซ้าย ศุขเล็ก, ฮิวเมอร์ริสต์, คึกฤทธิ์ และ นายรำคาญ ประหยั.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประหยัด ศ. นาคะนาท · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศบราซิล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศบัลแกเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบาร์เบโดสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศบาร์เบโดส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศบาร์เบโดสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบาฮามาสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศบาฮามาส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศบาฮามาสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศชิลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศฟินแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟีจีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศฟีจี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศฟีจีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศกรีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศญี่ปุ่น เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศฝรั่งเศส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมองโกเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐมองโกเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศมองโกเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศมาเลเซีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศมาเลเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศสวีเดน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศสเปน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศออสเตรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศออสเตรเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศอาร์เจนตินา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศอิตาลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศอินโดนีเซีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศอินโดนีเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศอินเดีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุรุกวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศอุรุกวัย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศอุรุกวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศอียิปต์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศฮังการี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศจาเมกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศคิวบา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตรินิแดดและโตเบโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศตรินิแดดและโตเบโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศตรินิแดดและโตเบโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศตุรกี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซูรินามในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศซูรินาม เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศซูรินามในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปากีสถานในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศปากีสถาน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศปากีสถานในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปาปัวนิวกีนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศปาปัวนิวกีนี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศปาปัวนิวกีนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปานามาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศปานามา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศปานามาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศนอร์เวย์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศนิวซีแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอนติกาและบาร์บูดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศแอนติกาและบาร์บูดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศแอนติกาและบาร์บูดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศแคนาดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโมร็อกโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศโมร็อกโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศโมร็อกโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศโรมาเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศโปแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศไอซ์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2436

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2436 ในประเทศไท.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศไทยใน พ.ศ. 2436 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2468

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2468 ในประเทศไท.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศไทยใน พ.ศ. 2468 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศเบลีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศเบลีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศเบลเยียม เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบอร์มิวดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศเบอร์มิวดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศเบอร์มิวดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศเช็กโกสโลวาเกีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศเกาหลีใต้ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีเหนือในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศเกาหลีเหนือในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศเม็กซิโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศเลบานอน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวเนซุเอลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศเวเนซุเอลา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21 ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) ณ กรุงมอนทรีออล ควิเบก ประเทศแคนาดา ระหว่างวันที่ 17 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศเวเนซุเอลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศเดนมาร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเปรูในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศเปรู เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศเปรูในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ประเทศเนเธอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญา ฤกษ์หร่าย

นายปริญญา ฤกษ์หร่าย (ชื่อเล่น:บอย;เกิด 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2518) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกำแพงเพชร เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคพลังประชาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและปริญญา ฤกษ์หร่าย · ดูเพิ่มเติม »

ปล่อยของ

ปล่อยของ (ชื่อเต็ม:ปล่อยของ ประลองฝัน) ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันเสาร์ที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2553 ออกอากาศทุกวันเสาร์เวลา 10.00 น. - 10.30 น.(หลังข่าวต้นชั่วโมงเวลา 9.55 น.) ทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ ผลิดรายการโดย บริษัท แก๊งค์ซูเปอร์ จำกัด (ในเครือ บริษัท ซูเปอร์จิ๋ว จำกัด) ดำเนินรายการโดย พลอย หอวัง และ ดีเจแทน-ธนารัตน์ พัฒนศิริ (2 มกราคม - 24 กรกฎาคม)พล่ากุ้ง-วรชาติ ธรรมวิจินต์(31 กรกฎาคม - ปัจจุบัน)เป็นรายการเกมโชว์สำหรับคนที่มีความความฝัน เปิดโอกาสให้วัยรุ่นมา "ปล่อยของ" รายการที่เปิดโอกาสให้วัยรุ่นไทยทั่วประเทศ มาประลองฝัน ประลองความสามารถกันอย่างสร้างสรรค์ ภายใต้แนวคิด พื้นที่แสดงออก บ่งบอกตัวตน ผ่านสิ่งที่ชอบ โดยไม่จำกัดชนิดและประเภท ผ่านเกมการแข่งขันสุดมันส์ แสดงความสามารถในสิ่งที่ตนเองชอบอย่างเต็มที่อีกด้วย เรียกได้ว่า เป็นรายการที่น่าสนใจอีกรายการหนึ่งเลยทีเดียว โดยมีโปรดิวเซอร์ นันฐ์ฐนัท นิมมาณรานนณ์ โดยมีวรรคทองประจำรายการคือคำว่า "ประเทศไทยไม่ใช่แค่กรุงเทพฯ วัยรุ่นไทยไม่ใช่แค่สยามแสควร์ ใครที่บ้าพลัง เข้ามาปล่อยของเราจัดให้".

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและปล่อยของ · ดูเพิ่มเติม »

ปวยร์โตรีโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ปวยร์โตรีโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและปวยร์โตรีโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์

ปฏิทินสำหรับปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (เช่น พ.ศ. 2554 2548 2537 2526 2520 2509) อา | style.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ · ดูเพิ่มเติม »

แพ กี-ซ็อก

แพ กี-ซ็อก (Bae Ki-suk., ฮันกึล: 배기석) เกิดเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1987 ที่เมืองปูซาน ประเทศเกาหลีใต้ เป็นนักมวยสากลในรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท (115 ปอนด์) แพเสียชีวิตจากการชกมวย ในการชกชิงแชมป์รุ่นซูเปอร์ฟลายเวทของเกาหลีใต้ที่ว่างกับจิน กี-จุน เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 2010 ที่ย่านเยซาน ชานโซล ด้วยการแพ้ที.เค.โอ.อย่างบอบช้ำในต้นยกที่ 8 หลังจากนั้น เขาถูกหามส่งโรงพยาบาล ที่เมืองแดจอน แต่ทว่าแพทย์สามารถยื้อชีวิตเขาไว้ได้เพียง 4 วันเท่านั้น จากนั้นเขาก็เสียชีวิตด้วยอาการเลือดคั่งในสมอง ในวันที่ 21 กรกฎาคม ด้วยวัยเพียง 23 ปี ครอบครัวของแพค่อนข้างมีปัญหาทางด้านการเงิน เขาเคยทำงานในโรงงานมาก่อน โดยต้องทำต่อเนื่องถึงวันละ 10 ชั่วโมง เพื่อหาเงินมาเลี้ยงครอบครัว ก่อนที่จะหันมาชกมวย โดยการชกในครั้งนี้เขาตั้งใจว่าจะเป็นการชกครั้งสุดท้ายก่อนที่จะแขวนนวมอย่างเป็นทางการด้วย ซึ่งนับเป็นนักมวยชาวเกาหลีใต้ที่เสียชีวิตจากการชกมวยแล้วรายที่ 3 นับจาก คิม ดุ๊กกู ในปี ค.ศ. 1982 จากการชิงแชมป์โลกรุ่นไลท์เวท ของสมาคมมวยโลก (WBA) และ โย ซัมชอย ในการชกป้องกันตำแหน่งแชมป์เงารุ่นฟลายเวท ขององค์กรมวยโลก (WBO) ในปี ค.ศ. 2008.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและแพ กี-ซ็อก · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสมารีเยีย นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย (1899–1918)

แกรนด์ดัชเชสมารีเยีย นีคะลายีฟนา (Великая Княжна Мария Николаевна) (26 มิถุนายน พ.ศ. 2442 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สามในซาร์นีโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซียกับซารีนาอะเลคซันดรา พระองค์ทรงถูกประหารในการปฏิวัติรัสเซีย พ.ศ. 2460 ในตอนแรกพระองค์ยังทรงเยาว์เกินไปที่จะไปเป็นพยาบาลอาสาในกาชาด เหมือนพระเชษฐภคินีของพระองค์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง พระองค์จึงทรงอยู่เป็นผู้อุปถัมภ์ของโรงพยาบาล แทนที่จะไปออกเยี่ยมทหารที่ได้รับบาดเจ็บ ตลอดพระชนม์ชีพของพระองค์ พระองค์ทรงสนใจเรื่องเกี่ยวกัยการทหารมาก.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและแกรนด์ดัชเชสมารีเยีย นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย (1899–1918) · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสมาเรีย ปาฟลอฟนาแห่งรัสเซีย (เจ้าหญิงมารีแห่งเม็คเล็นบูร์ก-ชเวริน)

แกรนด์ดัชเชสมาเรีย ปาลอฟนาแห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสมาเรีย ปาฟลอฟนาแห่งรัสเซีย (เป็นที่รู้จักว่า "มาเรีย ปาฟลอฟนา ผู้อาวุโส" และมีพระนามลำลองว่า "มีเชิน" พระยศเดิม เจ้าหญิงมารี อเล็กซานดรีนา เอลิซาเบธ เอลีโอนอร์แห่งเม็คเล็นบูร์ก-ชเวริน; 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2397 - 6 กันยายน พ.ศ. 2463) เป็นพระธิดาในเจ้าฟ้าชายฟรีดริช ฟรันซ์ที่ 2 แกรนด์ดยุคแห่งเม็คเล็นบูร์ก-ชเวริน และ เจ้าหญิงออกัสตาแห่งรอยซ์-เคิสทริตซ์ ด้วยเหตุที่เป็นผู้ต้อนรับอาคันตุกะที่สง่าสงามที่สุดพระองค์หนึ่งในกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก จึงทรงเป็นที่รู้จักกันว่าทรงเป็นใหญ่ที่สุดในหมู่แกรนด์ดัชเชสทั้งหมด (the grandest of the grand duchesses).

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและแกรนด์ดัชเชสมาเรีย ปาฟลอฟนาแห่งรัสเซีย (เจ้าหญิงมารีแห่งเม็คเล็นบูร์ก-ชเวริน) · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสตะตยานา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย

แกรนด์ดัชเชสตะตยานา นีคะลายีฟนา (Великая Княжна Татьяна Николаевна ประสูติ: 29 พฤษภาคม ระบบเก่า, 10 มิถุนายน ระบบใหม่ ค.ศ. 1897 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1918 ซึ่งหลังจากปี ค.ศ. 1900 จะมีการเฉลิมฉลองวันคล้ายวันประสูติของพระองค์ในวันที่ 11 มิถุนายน) เป็นพระราชธิดาองค์ที่สองในสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 และ สมเด็จพระจักรพรรดินีอเล็กซานดรา พระองค์เป็นพระขนิษฐาในแกรนด์ดัชเชสโอลกา และเป็นพระภคินีในแกรนด์ดัสเชส มาเรีย แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียาและมกุฏราราชกุมารซาเรวิชอะเลคเซย์ ทรงมีอุปนิสัยส่วนพระองค์คล้ายพระราชชนนีวันๆเจ้าหญิงพระองค์นี้จะเข้าออกห้องสีม่วงซึ่งเป็นห้องที่ประทับของจักรพรรดินี อเล็กซานดราและจะทรงขลุกอยู่กับพระราชชนนีถามเกี่ยวกับเรื่องผู้หญิงทุกวัน พระองค์สวรรคตในวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1918 พร้อมกับเชื้อพระวงศ์โรมานอฟพระองค์อื่น ๆ จากเหตุการณ์สังหารหมู่พระราชวงศ์โรมานอฟโดยพรรคบอลเชว.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและแกรนด์ดัชเชสตะตยานา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสโอลกา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย

แกรนด์ดัชเชสโอลกา (Olga; Великая Княжна Ольга Николаевна) เป็นเจ้าหญิงในราชวงศ์โรมานอฟของจักรวรรดิรัสเซีย เป็นพระราชธิดาพระองค์แรกใน สมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 และ สมเด็จพระจักรพรรดินีอเล็กซานดราประสูติก่อนที่พระบิดาจะเถลิงราชสมบัติเป็นซาร์แห่งรัสเซีย ประสูติวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1895 ซึ่งพระองค์เป็นที่โปรดปรานของพระบิดาพระพักตร์งามแบบสาวชาวรัสเซียแท้ มีพระพักตร์คล้ายกับพระบิดามีดวงพระเนตรสีฟ้า พระทัยอ่อน มีอุปนิสัยเงียบขรึม ใบหน้าบึ้งตึ้ง ฉลาด ไม่ขัดใจคน ชอบเข้าช่วยเหลือบุคคลที่มีปัญหาเสมอ อารมณ์แปรปรวนง่ายเหมือนพระมารดา ชอบอ่านหนังสือ ขี้อายเหมือนพระบิดา รักเด็ก เล่นกับน้อง เป็นที่รักของน้อง พระองค์ทรงมีสัตว์เลี้ยงส่วนพระองค์เป็นแมวชื่อวัสกา (vasga) ซึ่งพระองค์มีพระนามเล่นคือ โอลิซกา (olishka) สนิทสนมกับเจ้าหญิงทาเทียนา (Tatiana) พระขนิษฐาองค์ที่ 2 โดยพระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1918 ที่เมืองเยคาเทนเบิร์ก, รัสเซีย สิริพระชนมายุได้ 23 พรรษ.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและแกรนด์ดัชเชสโอลกา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

แกะกล่องหนังไทย

แกะกล่องหนังไทย (Golden Film; ในอดีตถ้าหากอยู่ในช่วงฉายภาพยนตร์ต่างประเทศจะใช้ชื่อรายการว่า แกะกล่องหนังเทศ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกการฉายหนังต่างประเทศไปแล้ว) เป็นรายการภาพยนตร์ที่ออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 22.05 - 23.45 น.ทาง สถานีโทรทัศน์ทีวีไทย เป็นรายการโทรทัศน์ที่มีจุดมุ่งหมายในการนำเอาภาพยนตร์ไทยที่มีคุณค่าทั้งเก่าและใหม่ นำมาเสนอฉายทางโทรทัศน์ โดยไม่หวังผลในการแสวงหากำไร เพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้รับรู้ถึงคุณค่าของภาพยนตร์ไทยทั้งเก่าและใหม่ อันเป็นรากเหง้าที่สะท้อนให้เห็นถึง ภูมิปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการอันวิจิตรของคนรุ่นก่อน เพื่อสืบทอดมายังคนรุ่นปัจจุบัน และอนุรักษ์คุณค่าของภาพยนตร์ไทยสู่คนรุ่นหลังสืบต่อไป แกะกล่องหนังไทย เริ่มออกอากาศครั้งแรก ในวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ในช่วงแรกของรายการแกะกล่องหนังไทยนั้น จะฉายภาพยนตร์ไทยสลับกับภาพยนตร์ต่างประเทศ โดยในส่วนของภาพยนตร์ต่างประเทศนั้น จะใช้ชื่อรายการว่า "แกะกล่องหนังเทศ" แต่เนื่องจากว่ามีความซ้ำซ้อนกับรายการ บิ๊กซินีม่าของช่อง 7 ที่ฉายหนังต่างประเทศอยู่เช่นเดียวกัน ตั้งแต่วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2551 จึงได้มีการฉายหนังไทยมาอย่างต่อเนื่องโดยไม่กลับไปฉายหนังต่างประเทศอีก รายการแกะกล่องหนังไทยได้ยุติการออกอากาศไปใน..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและแกะกล่องหนังไทย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนการบินทหารบก

รงเรียนการบินทหารบก (Army Aviation School) เป็นหน่วยฝึกการบินของทหารบก ขึ้นตรงต่อศูนย์การบินทหารบก ค่ายสมเด็จพระศรีนครินทรา ซึ่งมีการจัดตามคำสั่งศูนย์การบินทหารบก (เฉพาะ) ที่ 5/2533 ลงวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 มีสถานที่ตั้ง ณ ค่ายสมเด็จพระศรีนครินทรา เลขที่ 303 หมู่ที่ 7 ตำบลเขาพระงาม อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและโรงเรียนการบินทหารบก · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา (Demonstration School, University of Phayao; ย่อ: สธ.มพ./DESUP) เป็นโรงเรียนสหศึกษา ก่อตั้งเมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2554สำนักงานสภามหาวิทยาลัยพะเยา,, สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนทุ่งเสลี่ยมชนูปถัมภ์

รงเรียนทุ่งเสลี่ยมชนูปถัมภ์เป็นโรงเรียนประจำอำเภอทุ่งเสลี่ยม ในระดับมัธยมศึกษา สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาสุโขทัย เขต 2.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและโรงเรียนทุ่งเสลี่ยมชนูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรโบคอป

รโบคอป (RoboCop) เป็นภาพยนตร์ซูเปอร์ฮีโรอเมริกันที่ออกฉายในปี ค.ศ. 1987 สร้างจากตัวละครเรื่องโรโบคอป สร้างโดยโอไรออน พิกเจอรส์ ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาคแรกในภาพยนตร์ชุดโรโบคอป โดยภาพยนตร์เรื่องนี้มีภาคต่อคือ โรโบคอป 2 ภาพยนตร์มีกำหนดฉายในสหรัฐอเมริกาวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1987 ซึ่งภาพยนตร์เรื่องนี้กล่าวถึงตำรวจรายหนึ่งที่ถูกสังหารโดยกลุ่มคนร้าย เขาได้ฟื้นคืนชีพขึ้นมาอีกครั้งจากฝีมือของวิทยาศาสตร์พัฒนาการล้ำลึก กลายเป็นไซบอร์กนักปราบอธรรมนาม โรโบคอป.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและโรโบคอป · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต คารร์ เอิร์ลที่ 1 แห่งซัมเมอร์เซต

รเบิร์ต คารร์ เอิร์ลแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 1 (ภาษาอังกฤษ: Robert Carr, 1st Earl of Somerset) (ราว ค.ศ. 1587 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1645) โรเบิร์ต คารร์เป็นขุนนางและนักการเมืองสกอตแลนด์คนโปรดของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและโรเบิร์ต คารร์ เอิร์ลที่ 1 แห่งซัมเมอร์เซต · ดูเพิ่มเติม »

โลวิส โครินธ์

ลวิส โครินธ์ (Lovis Corinth) (21 กรกฎาคม ค.ศ. 1858 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1925) เป็นจิตรกรและช่างพิมพ์ชาวเยอรมันของการผสานระหว่างอิมเพรสชันนิสม์และลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ (expressionism) ของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 โครินธ์ศึกษาที่ปารีสและมิวนิค และเข้าเป็นสมาชิกของกลุ่มแยกตัวเบอร์ลิน (Berlin Secession) และต่อมาเป็นประธานของกลุ่มต่อจากแม็กซ์ ลีเบอร์มันน์ งานในช่วงต้นเป็นงานแบบธรรมชาติ และต่อต้านลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ แต่หลังจากที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองในปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและโลวิส โครินธ์ · ดูเพิ่มเติม »

โอเล่ห์ดง ศักดิ์เสมอชัย

อเล่ห์ดง ศิษย์เสมอชัย มีชื่อจริงว่า กิตติพงษ์ ใจกระจ่าง เกิดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 ที่ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฎา (ปัจจุบัน คือ อำเภอรัษฎา) จังหวัดตรัง นับว่าเป็นแชมป์โลกคนแรกด้วยที่เป็นชาวใต้ หลังจากมีนักมวยจากภาคใต้หลายคนได้ชิงแชมป์โลกแล้ว แต่ยังไม่เคยมีใครประสบความสำเร็จเล.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและโอเล่ห์ดง ศักดิ์เสมอชัย · ดูเพิ่มเติม »

โอเคนาว

อเคนาว (OK Now) คืออัลบั้มเพลงลำดับที่ 2 ของจอน แม็กลาฟลิน นักร้องและนักประพันธ์เพลงหนุ่มชาวอเมริกัน ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ใน สหรัฐอเมริกา โอเคนาว มีซิงเกิลแรกคือ "บีททิงมายฮาร์ต" เพลงนิวอิเล็กโทรนิกป๊อป เผยแพร่ทางวิทยุ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ในสหรัฐอเมริกา ขึ้นชาร์ตในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2551 ขึ้นอันดับสูงสุดในลำดับที่ 21 ในชาร์ตบิลบอร์ดเพลงยอดนิยมของผู้ใหญ่ 40 เพลง.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและโอเคนาว · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ อิเอโมจิ

โทะกุงะวะ อิเอะโมะชิ (ญี่ปุ่น: 徳川家茂) เป็นโชกุนคนที่ 14 เกิดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1846 ที่ย่าน มินะโตะ ดำรงตำแหน่งโชกุนสืบต่อจาก โทะกุงะวะ อิเอะซะดะ เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 1858 ขณะอายุได้เพียง 12 ปีตลอด 8 ปีแห่งการดำรงตำแหน่งโชกุนอิเอะโมะชิต้องเผชิญภัยทั้งภายในและภายนอกโทะกุงะวะ อิเอะโมะชิถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม ค.ศ. 1866 ขณะอายุได้เพียง 20 ปี 1 เดือน 12 วัน หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2389 หมวดหมู่:โชกุน หมวดหมู่:การฟื้นฟูสมัยเมจิ หมวดหมู่:ตระกูลโทะกุงะวะ หมวดหมู่:บุคคลในยุคเอะโดะ.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและโทกูงาวะ อิเอโมจิ · ดูเพิ่มเติม »

โซคูล

วงโซคูล เป็นวงร็อกรุ่นใหม่ที่ยึดเอาความเป็นไทยมาเป็นเอกลักษณ์ ในเครือ GMM Grammy สังกัด อัพจี มีเพลงที่ปล่อยทางวิทยุมากมาย เช่น คนเจียมตัว อกหักจากมือถือ เลี้ยงส่ง คนถัดไป ซากอ้อย ย้อมใจ ฟ้าสาป Message ผิดเบอร์ Out ใจ คนขำๆ ไผ่ลู่ลม บาดตา สวรรค์ไม่มีตา เบอร์สำรอง ถาม และฝันดี โดยเพลงล่าสุดที่จะปล่อยออกมาคือเพลง เหตุผลที่ไม่อยากเป็นเพื่อนเธอ สมาชิกในวงโซคูลทุกคนเป็นคนจังหวัดพิษณุโลก โจ๊กกับมาร์ช เป็นพี่น้องกัน ส่วนแจนกับเจมส์ก็เป็นพี่น้องกัน ทั้งสี่คนนี้จะอยู่บ้านใกล้กัน เมื่อวงโซคูลว่างงานก็มักจะกลับบ้านเกิด บางครั้งก่อนจะมีคอนเสิร์ตก็จะมีการซ้อมดนตรีก่อนเล่นจริง ก่อนที่พวกเขาจะได้มาเป็นนักร้อง เขาได้ไปประกวดวงดนตรียามาฮ่า และตามจังหวัดบ้านเกิดอยู่หลายครั้ง จนได้รางวัลชนะเลิศมาหลายครั้ง จึงได้มีโอกาสได้มาเป็นนักร้องค่ายแกรมมี่ โซคูลเคยมีสมาชิกด้วยกัน 4 คน ซึ่งทั้งหมดเป็นญาติพี่น้องกัน แต่ในปี พ.ศ. 2551 ได้มีสมาชิกใหม่เพิ่มขึ้นมาอีก 1 คนคือ กอล์ฟ ชาวจังหวัดสุโขทัย รวมเป็น 5 คน เป็นนักร้องนำคู่กับโจ๊ก ซึ่งเป็นนักร้องคนเดิม โดยโจ๊กได้เห็นฝีมือของกอล์ฟจากการร้องเพลงเปิดตัวให้วงโซคูลก่อนขึ้นเล่นในคอนเสิร์ตของโซคูลแห่งหนึ่ง ในจังหวัดพะเยา จึงตั้งใจจะให้กอล์ฟออกอัลบั้มเดี่ยว แต่ด้วยความสนิทสนมกันจึงได้ตัดสินใจพาเข้าร่วมวงจนถึงปัจจุบัน ปลายปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและโซคูล · ดูเพิ่มเติม »

โปเกมอน เดอะมูฟวี่ ตอน ลูเกีย จ้าวแห่งทะเลลึก

ปเกมอน เดอะมูฟวี่ ตอน ลูเกีย จ้าวแห่งทะเลลึก เป็นภาพยนตร์โปเกมอนเดอะมูฟวี่ที่ 2 ผู้กำกับโดย คุนิฮิโกะ ยูยามะ ออกฉายในประเทศญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและโปเกมอน เดอะมูฟวี่ ตอน ลูเกีย จ้าวแห่งทะเลลึก · ดูเพิ่มเติม »

ไมค์ โวเกล

มเคิล เจมส์ โวเกล เกิดเมื่อวันที่ เกิด 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและไมค์ โวเกล · ดูเพิ่มเติม »

ไลโอเนล ไฟนิงเกอร์

ลโอเนล ชาลส์ ไฟนิงเกอร์ (Lyonel Charles Feininger; 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1871 – 13 มกราคม ค.ศ. 1956) เป็นจิตรกรชาวอเมริกัน เชื้อสายเยอรมัน เป็นหนึ่งในผู้นำของจิตรกรรมกลุ่มลัทธิสำแดงพลังอารมณ.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและไลโอเนล ไฟนิงเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอพอด

รุ่นต่างๆของไอพอด สัญลักษณ์ของอุปกรณ์ที่ทำขึ้นสำหรับไอพอด ไอพอด (iPod) เป็นชื่อของเครื่องฟังเพลงพกพาของบริษัทแอปเปิล คอมพิวเตอร์ ไอพอดใช้ฮาร์ดดิสก์ในการเก็บข้อมูล แต่ในรุ่นไอพอดชัฟเฟิล ไอพอดนาโน และ ไอพอดทัช จะใช้หน่วยความจำแบบแฟลช ไอพอดสามารถใช้เก็บข้อมูลสำหรับแลกเปลี่ยนระหว่างคอมพิวเตอร์ได้ (ขึ้นอยู่กับขนาดของหน่วยความจำในแต่ละรุ่น) แนวคิดของเครื่องฟังเพลงพกพาคิดค้นขึ้นโดยนายเคน แครมเมอร์ เมื่อเขาอายุ 23 ปี เครื่องฟังเพลงพกพาเครื่องแรกที่เขาประดิษฐ์ใช้ชื่อว่า ไอเอกซ์ไอ มีขนาดประมาณบัตรเครดิต สามารถบันทึกเพลงในหน่วยความจำได้ประมาณ 3 นาที 30 วินาที เมื่อพ.ศ. 2531 ลิขสิทธิ์ของไอเอกซ์ไอหมดลง ต้องใช้เงินจำนวน 3.6 ล้านบาทเพื่อต่อสิขสิทธิ์ใน 120 ประเทศ แต่เขาไม่สามารถหาเงินจำนวนนั้นได้ สิขสิทธิ์ไอเอกซ์ไอจึงขาด ทำให้ไอเอกซ์ไอกลายเป็นสาธารณสมบัติในที่สุด ไอพอดรุ่นแรกได้รับการตั้งชื่อใหม่ว่า ไอพอดคลาสสิก (iPod classic) เพื่อแบ่งแยกกับไอพอดรุ่นใหม.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและไอพอด · ดูเพิ่มเติม »

ไทยแอร์เอเชียเอกซ์

ทยแอร์เอเชียเอ็กซ์ (อังกฤษ : Thai AirAsia X) เป็นสายการบินระยะไกลต้นทุนต่ำสายการบินแรกของประเทศไทย จากการร่วมลงทุนของสายการบิน ไทยแอร์เอเชีย และ สายการบิน แอร์เอเชีย เอกซ์ โดยให้บริการเที่ยวบินประจำจาก ท่าอากาศยานดอนเมือง กรุงเทพมหานคร เริ่มให้บริการครั้งแรกในเส้นทาง กรุงเทพฯ (ดอนเมือง) - โซล (อินช็อน) ประเทศเกาหลีใต้ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2557 และขยายเส้นทางบินสู่ประเทศญี่ปุ่น โตเกียว (นะริตะ) และ โอซะกะ (คันไซ) ในเวลาต่อมา ด้วยกระแสการท่องเที่ยวประเทศญี่ปุ่นของนักท่องเที่ยวชาวไทย ในปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและไทยแอร์เอเชียเอกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เฟลีเป เด มารีชาลาร์ อี บอร์บอน

อนเฟลีเป เด มารีชาลาร์ อี บอร์บอน.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเฟลีเป เด มารีชาลาร์ อี บอร์บอน · ดูเพิ่มเติม »

เพลงล้อเลียน

ลงล้อเลียน หรือ เพลงแปลง (Parody music, Musical parody) คือ เพลงที่แปลงเนื้อร้องมาจากเพลงอื่น ซึ่งโดยมากแล้วจะเป็นเพลงที่มีชื่อเสียง โดยคงทำนองไว้ และโดยมากจะมีเนื้อหาตลกโปกฮาหรือล้อเลียนเรื่องราวต่าง ๆ (ในเพลงใต้ดินอาจจะมีเนื้อหามุ่งไปในเรื่องทางเพศ) นักแต่งเพลงล้อเลียนที่รู้จักกันดีที่สุดคือ "เวียร์ด อัล" แยนคอว.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเพลงล้อเลียน · ดูเพิ่มเติม »

เกลาเดียว โลเปซ

เกลาเดียว โลเปซ (Claudio López) เกิดวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1974 ในคอร์โดบา อาร์เจนตินา เป็นนักฟุตบอลชาวอาร์เจนตินา เล่นในตำแหน่งกองหน้า ปัจจุบันเล่นอยู่กับสโมสรโคโลราโด ราปิดส์ ในสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:นักฟุตบอลชาวอาร์เจนตินา หมวดหมู่:นักฟุตบอลทีมชาติอาร์เจนตินา หมวดหมู่:บุคคลจากกอร์โดบา (อาร์เจนตินา) หมวดหมู่:กองหน้าฟุตบอล หมวดหมู่:นักฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1996 หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลบาเลนเซีย.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเกลาเดียว โลเปซ · ดูเพิ่มเติม »

เกษม ศิริสัมพันธ์

กษม ศิริสัมพันธ์ (17 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเกษม ศิริสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกิดเป็นหงส์

กิดเป็นหงส์ ละครโทรทัศน์ไทย สร้างจากบทประพันธ์ ชูวงศ์ ฉายะจินดา ผลิตโดย บริษัท พอดีคำ จำกัด กำกับการแสดงโดย หนึ่ง-ชัชวาล ศาสวัตกลูน ซึ่งออกอากาศทุกวันจันทร์ - อังคาร เวลา 20.20 น. - 22.20 น. ทางช่อง 7 ออกอากาศตอนแรก 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 โดยละครเรื่องนี้ได้เคยถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์มาแล้วครั้งหนึ่งเมื่อ..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเกิดเป็นหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

เกียรติพงษ์ รัชตเกรียงไกร

อากาศเอก เกียรติพงษ์ รัชตเกรียงไกร ผู้ฝึกสอนวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2541 จนถึง พ.ศ. 2559 และอดีตนักกีฬาวอลเลย์บอลชายทีมชาติไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2526-2541.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเกียรติพงษ์ รัชตเกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

เลิฟ ~เดสทินี~ / เลิฟ ~ซินส์ 1999~

ลิฟ ~เดสทินี~ / เลิฟ ~ซินส์ 1999~ เป็นซิงเกิลที่ 7 ของอายูมิ ฮามาซากิ วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 14 เมษายน..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเลิฟ ~เดสทินี~ / เลิฟ ~ซินส์ 1999~ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุเฮลิคอปเตอร์ตกที่อำเภอแก่งกระจาน พ.ศ. 2554

หตุเฮลิคอปเตอร์ตกที่อำเภอแก่งกระจาน..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเหตุเฮลิคอปเตอร์ตกที่อำเภอแก่งกระจาน พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

เอจิ สึบุระยะ

อจิ สึบุระยะ เป็นผู้กำกับภาพยนตร์เทคนิคพิเศษชาวญี่ปุ่น และผู้ก่อตั้งสึบุระยะพรอดักชันส์ และเป็นบุคคลสำคัญผู้ให้กำเนิดอุลตร้าแมน เกิดเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเอจิ สึบุระยะ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็กซีคิวชั่นแนล

อ็กซีคิวชั่นแนล มหาสงครามออนไลน์ถล่มจักรวาล (EXEcutional) เป็นการ์ตูนไทยรูปแบบคอมิกส์ ผลงานของ ภานุวัฒน์ วัฒนนุกูล ผู้เขียน ตำนานป่วนก๊วนนางฟ้า ตีพิมพ์ในนิตยสารการ์ตูนรายสัปดาห์ซีคิดส์ของสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์คอมิกส์ ลงต่อเนื่องฉบับเว้นฉบับ โดยเริ่มตีพิมพ์ตั้งแต..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเอ็กซีคิวชั่นแนล · ดูเพิ่มเติม »

เฮลโล! พรอเจกต์

ตราสัญลักษณ์ของค่ายเฮลโล! พรอเจกต์ เฮลโล! พรอเจกต์ (อังกฤษ: Hello! Project หรือตัวย่อ H!P/ญี่ปุ่น: ハロー!プロジェクト/โรมะจิ: Harō! Purojekuto) คือ สังกัดเพลงย่อยสัญชาติญี่ปุ่นที่มีสังกัดแม่เป็นกลุ่มบริษัท อัป-ฟร้อนต์ ศิลปินในสังกัดนี้เป็นศิลปินสุภาพสตรีล้วน โดยมีโปรดิวเซอร์ประจำสังกัดคือ สึงกุ หรือเทราดะ มิตสึโอะ (นักร้องนำของวงชารัม คิว) ส่วนกลุ่มนักร้องที่เป็นกลุ่มหลักประจำสังกัดนี้ คือกลุ่ม "มอร์นิงมุซุเมะ" ซึ่งศิลปินเดี่ยวที่ยังอยู่ในสังกัดนี้ ส่วนใหญ่เคยเป็นสมาชิกของมอร์นิงมุซุเมะมาก่อน นอกจากนี้มอร์นิงมุซุเมะและศิลปินเดี่ยวที่เป็นอดีตสมาชิกของมอร์นิงมุซุเมะแล้ว เฮลโล! พรอเจกต์ ยังมีกลุ่มนักร้องและศิลปินเดี่ยวอยู่อีกจำนวนหนึ่ง ตัวอย่างเช่น เบอร์รีซ์โคโบ แกม บิยูเด็ง และ °คิวต์ เป็นต้น เฮลโล! พรอเจกต์ จะมีประเพณีการสร้าง "กลุ่มนักร้องผสม" (shuffle units) ขึ้นมาปีละ 3 กลุ่ม โดยจะจัดเอาสมาชิกในสังกัดทุกคนเข้าไปอยู่ในแต่ละกลุ่ม และแต่ละกลุ่มจะต้องสร้างผลงานให้อยู่ในจุดสูงสุดของตารางจัดอันดับเพลงในญี่ปุ่นให้ได้ ซึ่งกลุ่มนักร้องผสมที่ถือว่าดีเยี่ยมที่สุดเท่าที่สังกัดเคยมีมาคือกลุ่ม "เอ.พี.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเฮลโล! พรอเจกต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์

มส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์ (ภาษาอังกฤษ: James Abbott McNeill Whistler) (11 กรกฎาคม ค.ศ. 1834 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1903) เป็นจิตรกรชาวอเมริกันที่ตั้งถิ่นฐานในอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมสีน้ำมัน เจมส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์เกิดเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1834 ที่เมืองโลเวลล์ในรัฐแมสซาชูเซตส์ในสหรัฐอเมริกา และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1903 ที่เมืองลอนดอนในอังกฤษ วิสต์เลอร์เป็นผู้นำในความคิดที่ว่า “ศิลปะเพื่อศิลปะ” (art for art's sake) ลายเซ็นที่มีชื่อเสียงของวิสต์เลอร์เป็นภาพผีเสื้อที่มีหางยาว ลายเซ็นเหมาะกับบุคลิกและลักษณะงานเขียนซึ่งเป็นลักษณะที่ละเอียดอ่อนแต่เป็นผู้ที่ชอบการเผชิญหน้า วิสต์เลอร์มองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างจิตรกรรมและดนตรีซึ่งจะเห็นจากการตั้งชื่อภาพเขียนที่ใช้ศัพท์ทางดนตรีเช่น “arrangements” “harmonies” หรือ “nocturnes” และเน้นงานเขียนในด้านความผสานของโทนสี งานชิ้นที่สำคัญที่สุดของวิสต์เลอร์คือภาพ “มารดาของวิสต์เลอร์” (Whistler's Mother) ที่มีศิลปะที่ทำล้อเลียนกันมาก วิสต์เลอร์เป็นผู้มีปฏิภาณดีและไม่อายที่จะส่งเสริมตนเอง แต่ก็ผู้มีอิทธิพลต่อศิลปะและวัฒนธรรมร่วมสมัยและมีความสัมพันธ์กับและมีอิทธิพลต่อศิลปินและนักเขียนคนอื่นๆ ในสมัยนั้นเป็นอันมาก.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเจมส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเลกาที่ 1 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนีย

้าชายเลกาที่ 1 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนี.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเจ้าชายเลกาที่ 1 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์

้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์ (Princess Victoria of Hesse and by Rhine) หรือพระนามหลังการสมรสคือ วิกตอเรีย เมานต์แบ็ทแตน มาร์เชเนสแห่งมิลด์ฟอร์ดเฮเวน (Victoria Mountbatten, Marchioness of Milford Haven) เป็นเจ้าหญิงอังกฤษเชื้อสายเยอรมัน เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ของแกรนด์ดยุกลุดวิกที่ 4 แห่งเฮสส์และไรน์กับเจ้าหญิงอลิซแห่งสหราชอาณาจักร ทำให้ทรงมีศักดิ์เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร พระชนนีของพระองค์สิ้นพระชนม์ขณะที่พระขนิษฐาและพระอนุชายังทรงพระเยาว์ จึงทำให้ทรงมีภาระความรับผิดชอบต่อทุกพระองค์ก่อนเวลาอันควร พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายหลุยส์แห่งแบ็ตเต็นเบิร์ก พระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งทรงรับราชการอยู่ในราชนาวีแห่งอังกฤษด้วยความรักและทรงมีชีวิตสมรสในสถานที่ต่างๆ ของทวีปยุโรป อันเป็นสถานที่ปฏิบัติราชการในราชนาวีของพระสวามี และได้เสด็จเยี่ยมพระประยูรญาติด้วย ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 เจ้าหญิงและพระสวามีทรงสละพระอิสริยยศเยอรมันและใช้ราชสกุลที่ฟังดูเป็นอังกฤษว่า เมานท์แบ็ตเต็น พระขนิษฐาสองพระองค์ซึ่งได้อภิเษกสมรสเข้าไปยังพระราชวงศ์รัสเซียทรงถูกปลงพระชนม์โดยกลุ่มปฏิวัติคอมมิวนิสต์ พระองค์ทรงมีทัศนคติแบบเสรีนิยม เปิดเผย ชอบปฏิบัติ และฉลาด นอกจากนี้พระองค์ยังได้เป็นพระอัยยิกาของเจ้าฟ้าชายฟิลิป ดยุคแห่งเอดินเบอระ พระราชสวามีในสมเด็จพระบรมราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 อีกด้ว.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงออกัสตาแห่งเคมบริดจ์

้าหญิงออกัสตาแห่งแคมบริดจ์ เจ้าหญิงออกัสตาแห่งแคมบริดจ์ (Princess Augusta of Cambridge) (ออกัสตา แคโรไลน์ ชาร์ล็อต เอลิซาเบธ แมรี โซเฟีย หลุยส์; 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2365 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2459) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ พระองค์ทรงอภิเษกสมรสเข้าไปอยู่ในพระราชวงศ์เม็คเล็นบูร์ก-สเตรลิตซ์ และได้ทรงเป็นแกรนด์ดัชเชสแห่งเม็คเล็นบูร์ก-สเตรลิตซ์ (HRH The Grand Duchess of Mecklenburg-Strelitz).

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเจ้าหญิงออกัสตาแห่งเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงซูซาน มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนีย

้าหญิงซูซาน มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนี.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเจ้าหญิงซูซาน มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เขตบริหารพิเศษฮ่องกงในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

ตบริหารพิเศษฮ่องกง เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเขตบริหารพิเศษฮ่องกงในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด อัศวนนท์

วิด อัศวนนท์ นักแสดงชาวไทย - ฝรั่งเศส มีชื่อเป็นภาษาไทยว่า ชัชวาลย์ อัศวนนท์ เป็นเหลนของพระยาราชาสาธก (ง่วนสุน อัศวนนท์) ปู่ทวด และ คุณหญิงฟอง (สกุลเดิม บุนนาค) ย่าทวด ทั้งยังมีศักดิ์เป็นหลานปู่ของคุณหลวงประเจิดอักษรลักษณ์ (สมโภช อัศวนนท์) รวมทั้งเป็นหลานชายของ อมรา อัศวนนท์ เกิดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2518 ที่ประเทศฝรั่งเศส และย้ายมาใช้ชีวิตที่ประเทศไทยตั้งแต่อายุ 3 ปี จบการศึกษาสาขาจิตวิทยาจากมหาวิทยาลัยบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ชื่นชอบการแสดงจากการได้ติดตามผลงานของ แอนโทนี ฮ็อปกินส์ นักแสดงระดับโลกชาวเวลช์ ประเทศเวลส์ ทำให้เริ่มสนใจในด้านการแสดง เมื่อจบการศึกษาจึงลองหาประสบการณ์ โดยเริ่มจากการทำงานในธุรกิจขายอุปกรณ์วิศวกรรมไฟฟ้าของครอบครัว จากนั้นได้ทดลองงานด้าน Event marketing ก่อนจะทำงานในโรงแรมที่ประเทศอังกฤษ และทำงานในโรงงานปศุสัตว์ที่ประเทศฝรั่งเศส เริ่มงานในวงการบันเทิงประเทศไทยด้วยการเป็นพิธีกรในรายการต่างๆ เช่น CJ Chic Channel, รายการ Inside Entertainment (ไอทีวี) ช่วง IE Travel, รายการ IE Show.com (ช่อง 5), รายการ Living Fashion (Chic Channel), รายการ D1&Only (Chic Channel), รายการ Fashion Update (Chic Channel) เป็นต้น เริ่มการแสดงในบทบาทของ ริค ตำรวจคู่หูของ หม่ำ จ๊กมก จากภาพยนตร์เรื่อง ต้มยำกุ้ง ในปี..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเดวิด อัศวนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เดือน 8

ือน 8 คือเดือนที่แปดของปี อาจหมายถึงเดือนสิงหาคมตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือเดือนที่แปดตามปฏิทินจันทรคติ และเนื่องจากปฏิทินจันทรคติกำหนดตามดิถีจันทร์ เดือน 8 จึงไม่ตรงกันทุกปีเมื่อเทียบกับปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน แบ่งได้เป็น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเดือน 8 · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์ไวเวอร์ กากายัน

ซอร์ไวเวอร์ กากายัน บลอน ปะทะ เบรน ปะทะ บิวตี้ (Brawn vs. Brains vs. Beauty) (Survivor: Cagayan) เป็นฤดูกาลที่ 28 ของรายการเซอร์ไวเวอร์ ผู้เล่นใหม่ 18 คนถูกแบ่งออกเป็น 3 เผ่าตามลักษณะที่โดดเด่นของผู้แข่งขัน คือ ความแข็งแกร่งทางร่างกาย ความฉลาดทางสติปัญญาและความงามอันน่าดึงดูดใจ ฤดูกาลนี้ เครื่องรางภูมิคุ้มกันแบบปกติ ถูกซ่อนไว้ตามปกติเช่นเคย แต่เมื่อหลังจากรวมเผ่าแล้วจะทำการซ่อนเครื่องรางภูมิคุ้มกันแบบพิเศษเหมือนฤดูกาลที่ 12 และ 13 ซึ่งสามารถใช้ได้อย่างปลอดภัยเมื่อพิธีกรอ่านผลโหวตจบแล้ว สถานที่ถ่ายทำอยู่ในประเทศฟิลิปปินส์ที่เดียวกับฤดูกาลที่ 25-27 แต่ย้ายเกาะหลักที่ถ่ายทำออกไป เพื่อมุมมองที่แตกต่าง ฤดูกาลนี้จะเริ่มออกอากาศทางโทรทัศน์ กำหนดการเดิมที่ 19 กุมภาพัน..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเซอร์ไวเวอร์ กากายัน · ดูเพิ่มเติม »

เปตรู ราคู

ปตรู ราคู (Petru Racu; 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1987 —) เป็นนักฟุตบอลชาวมอลโดวา ผู้ซึ่งเล่นให้แก่ทีมชาติมอลโดวาในฐานะกองหลัง.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเปตรู ราคู · ดูเพิ่มเติม »

เนเธอร์แลนด์แอนทิลลิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

นเธอร์แลนด์แอนทิลลิส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและเนเธอร์แลนด์แอนทิลลิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

WORLD WAR STAR THAILAND อุบัติการณ์แห่งดวงดาว

World War Star Thailand เป็นรายการเกมโชว์ลิขสิทธิ์ระดับโลกที่จะมีการประชันกันในเรื่องความสามารถต่างโดยมีการออกแบบเวทีเหมือนกับสนามรบในยุคโรมัน ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ทุกวันอาทิตย์ เวลา 15.30 - 17.30 น. โดยมีวุฒิธร มิลินทจินดาเป็นผู้ดำเนินรายการและกรรมการ เริ่มเทปแรกวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 – 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2559.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและWORLD WAR STAR THAILAND อุบัติการณ์แห่งดวงดาว · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤศจิกายน

วันที่ 12 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 316 ของปี (วันที่ 317 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 49 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและ12 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

13 มกราคม

วันที่ 13 มกราคม เป็นวันที่ 13 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 352 วันในปีนั้น (353 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและ13 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

25 เมษายน

วันที่ 25 เมษายน เป็นวันที่ 115 ของปี (วันที่ 116 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 250 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและ25 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

29 เมษายน

วันที่ 29 เมษายน เป็นวันที่ 119 ของปี (วันที่ 120 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 246 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและ29 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

5 มิถุนายน

วันที่ 5 มิถุนายน เป็นวันที่ 156 ของปี (วันที่ 157 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 209 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและ5 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

6 พฤษภาคม

วันที่ 6 พฤษภาคม เป็นวันที่ 126 ของปี (วันที่ 127 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 239 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและ6 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 มิถุนายน

วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและ6 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

9 กันยายน

วันที่ 9 กันยายน เป็นวันที่ 252 ของปี (วันที่ 253 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 113 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 17 กรกฎาคมและ9 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

17 ก.ค.๑๗ กรกฎาคม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »