โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

14 มกราคม

ดัชนี 14 มกราคม

วันที่ 14 มกราคม เป็นวันที่ 14 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 351 วันในปีนั้น (352 วันในปีอธิกสุรทิน).

245 ความสัมพันธ์: ชยพล ปัญหกาญจน์ชวนชื่นโชว์บางรักซอย 9/1บุญจง วงศ์ไตรรัตน์บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559พ.ศ. 1825พ.ศ. 1844พ.ศ. 1863พ.ศ. 2267พ.ศ. 2488พ.ศ. 2489พ.ศ. 2491พ.ศ. 2496พ.ศ. 2497พ.ศ. 2501พ.ศ. 2504พ.ศ. 2505พ.ศ. 2507พ.ศ. 2508พ.ศ. 2510พ.ศ. 2515พ.ศ. 2517พ.ศ. 2533พ.ศ. 2539พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2557พ.ศ. 2559พ.ศ. 461พรรคภูมิใจไทยพรรคสู้เพื่อไทยพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซียพระครูวิจิตรนวการโกศล (สมจิต จิตฺตคุตฺโต)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเรณูพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 5 แห่งเดนมาร์กพาราลิมปิกฤดูหนาว 1984พาวเวอร์ดอลส์กระตุกต่อมฮาอเมริกากองทัพเคนยากิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 24กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 28กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 35...กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 2007กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 19มกราคมมกราคม พ.ศ. 2549มหาวิทยาลัยรามคำแหงมหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนามารี โซฟีแห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กมิโฮะ โคะมะสึมีชาเอลา ฟอน ฮับส์บูร์กยออาน กาบายยังดีเปอร์ตวน เบซาร์ ตวนกู มูห์ริซยังไกลยูเลียนา มารีอาแห่งบราวน์ชไวก์-โวลเฟ่นบึทเท่ล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์รวิวรรณ จินดารักกันมันแจ๋วรักในรอยแค้นราชวงศ์จักรีราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียรายชื่อบทของฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบานรายชื่อบทความวันนี้ในอดีตรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรายชื่อฝนดาวตกรายชื่อวันสำคัญของอุซเบกิสถานรายชื่อวันสำคัญของไทยรายชื่อผลงานของทงบังชินกีรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2530รายชื่อธงในกองทัพเรือยูเครนรายชื่อตอนในโทระโดระ!รายชื่อตอนในเบ็นเท็นรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทยรายพระนามพระมหากษัตริย์สเปนรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษรายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศสรายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์กรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สเปนรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์กรายการผลงานของแคลชรายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นรายนามนายกรัฐมนตรีเดนมาร์กรายนามนายกเทศมนตรีเมืองสุรินทร์ราศีธนูรถไฟใต้ดินเดลีรถไฟใต้ดินเดลี สายสีม่วงลอว์เรนซ์ แคสแดนลูกไม้หลากสีลูอิส แคร์รอลล้วงลับตับแตกวัชระ เพชรทองวัฒนธรรมวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนวุ่นรัก นักดนตรีศรายุทธ ชัยคำดีศิลป์ พีระศรีศึก 12 ราศีศุภรัตน์ ควัฒน์กุลสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)สมเด็จพระราชินีนาถสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระราชินีนาถลีลีโอกาลานีแห่งฮาวายสมเด็จพระราชินีโจนที่ 1 แห่งนาวาร์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าประไพวดี กรมหลวงเทพยวดีสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดนสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์กสหภาพคาลมาร์สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)สึบะซะโวะฮิโระเงะเตะ/อะอิวะคุระยะมิโนะนะกะเดะสุชาติ ภิญโญสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจสถานีรถไฟหนองแกสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสสโมสรฟุตบอลบางกอกกล๊าสในฤดูกาล 2560สโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสนในฤดูกาล 2560สโมสรฟุตบอลการท่าเรือ ในฤดูกาล 2559สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2015–16สโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2560สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ดหม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุลหลวงอาวุธวิเศษประเทศพานิช (โรเบิร์ต ฮันเตอร์)หู จินเฉวียนหนังพาไปอยากได้ยินว่ารักกันอับดุล ราซัก ฮุซเซนอาณาจักรพัลแฮอานนท์ สังข์สระน้อยอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007อาเซียนพาราเกมส์ 2014อิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยอเล็กซานดราแห่งเดนมาร์กฮัมฟรีย์ โบการ์ตฮิโระชิ ทะมะกิผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศฌ็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์จอร์จ บาร์กลีย์จอร์จ ดับเบิลยู. บุชจิมมี คาร์เตอร์จงกล กิตติขจรธรรมนูญ ทัศโนธีรัตถ์ รัตนเสวีธงชาติจอร์เจียธนา ลิมปยารยะทิม เบอร์เนิร์ส-ลีทูมเรเดอร์ (วิดีโอเกมส์ปี 2539)ทีมเกิร์ลทงบังชินกีทไวไลท์โชว์ดับเบิลยูซีดับเบิลยู ฮาร์ตคอร์ แชมเปี้ยนชิพดับเบิลยูซีดับเบิลยู ซินดัม-มะ-ชา-ติ (อัลบั้ม)ดิจิมอนแอดเวนเจอร์ดิเอโก อันดราเดด้วยความปรารถนาดีคริสต์ทศวรรษ 1320คริสต์ทศวรรษ 1720ครูบ้านนอก บ้านหนองฮีใหญ่ควีนม็อดแลนด์คิงไซส์คุจิกิ ลูเคียคุ้มนางครวญคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยาคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยาคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยพะเยาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยาคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยาคนที่ฆ่าฉันตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554ตอสกาซะยุมิ มิชิชิเงะปฏิทินปรสิตเดรัจฉานประจักษ์ แกล้วกล้าหาญประทิน สันติประภพประทีป กีรติเรขาประเทศอุซเบกิสถานประเทศทาจิกิสถานประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกรปลิดปลิวปิยะพงษ์ ผิวอ่อนปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์นัท มีเรียแกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กแอลัน ริกแมนแอลแอล คูล เจแฮมทาโร่ แก๊งจิ๋วผจญภัยแผนร้ายเกมรักแดวู (รถราง)โรงเรียนวัดจุกกะเฌอ (พินิจ เริ่มอำรุง)โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชาโรงเรียนเซชุนโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยโค้ชคาร์เตอร์ ทุ่มแรงใจจุดไฟฝันโนะริกะซุ คะวะนะไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์เพลงผีบอกเพื่อนแท้ในป่าใหญ่เกมเศรษฐี (รายการโทรทัศน์)เกราะกายสิทธิ์เกลอรา บังการ์โน สเตเดียมเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตรเมสเซนเจอร์ (ยานอวกาศ)เรซซิ่ง สไตรพส์ ม้าลายหัวใจเร็วจี๊ดด...เลโอนอร์ เจ้าหญิงแห่งอัสตูเรียสเหตุรถประสานงาในปาปัวนิวกินี พ.ศ. 2553เหตุเหยียบกันเสียชีวิตในสัพริมลา พ.ศ. 2554เอลินอร์แห่งพรอว็องส์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษเอ็ดมันด์ แฮลลีย์เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวตเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์และเอวอนเดลเจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์กเจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามีเจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อตเจ้าหญิงเบียทริซแห่งสเปนเจเควียรีเทศบาลตำบลไทรน้อยเขตสวนหลวงเขตดินแดงเดฟ โกรลเดอะไรติงส์ออนเดอะวอลล์เดือน 11เดนมาร์ก–นอร์เวย์เควิน ดูแรนด์เคหาสน์ดาวเซลดา II ดิแอดเวนเจอร์ออฟลิงก์เซอร์ไวเวอร์ ซาโมอาI Hate You, I Love YouSOTUS The Series พี่ว้ากตัวร้ายกับนายปีหนึ่ง1 เมษายน12 มีนาคม12 สิงหาคม21 กุมภาพันธ์26 กันยายน29 เมษายน ขยายดัชนี (195 มากกว่า) »

ชยพล ปัญหกาญจน์

ล ปัญหกาญจน์ หรือ กู๊ด เคพีเอ็น เป็นนักร้องชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากการเป็นผู้เข้าแข่งขันบนเวที เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 22 และได้รับรางวัลนักร้องยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย โดยก่อนหน้านี้เขาได้ไปประกวดที่เวที เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 7 มาก่อน โดยผ่านเข้ารอบภาคใต้ เท่านั้น.

ใหม่!!: 14 มกราคมและชยพล ปัญหกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ชวนชื่นโชว์

วนชื่นโชว์ เดิมชื่อว่า ชวนชื่นคาเฟ่ เป็นรายการตลกเบาสมองในช่วงเย็น ผ่านนักแสดงตลกจากคณะชวนชื่นและตลกท่านอื่น ซึ่งออกอากาศครั้งแรกเมื่อเดือน 1 เมษายน พ.ศ. 2547 - 14 มกราคม พ.ศ. 2551 ผลิดโดย บริษัท บอร์น แอนด์แอดโซซิเอด จำกัด ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไอทีวี หลังจากสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ได้ดำเนินการเปลี่ยนเป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะ หรือสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสแล้วนั้น ทำให้รายการชวนชื่นคาเฟ่ไม่ได้ออกอากาศอีกต่อไปเลย และได้กลับมาอีกครั้ง วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2551 โดยใช้ชื่อว่า ชวนชื่นโชว์ ซึ่งผลิดโดย ชวนชื่น แฟมเมลี่ ออกอากาศทางช่องทรูเฮฮา ทรูวิชั่นส์ช่อง 23 มาจนวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2553 ช่องทรูเฮฮาได้ย้ายมาอยู่ช่อง 66 จึงออกอากาศที่ช่อง 66 จนถึงทุกวันนี้.

ใหม่!!: 14 มกราคมและชวนชื่นโชว์ · ดูเพิ่มเติม »

บางรักซอย 9/1

งรักซอย 9/1 เป็นละครโทรทัศน์ประเภทซิตคอม (Situation Comedy) สร้างโดย เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ กำกับการแสดงโดย พงษ์ศักดิ์ ฉิมเจริญ และ เสกสรรค์ สิงอุไร นำแสดงโดย ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง,พิยดา จุฑารัตนกุล,ตงตง เดอะสตาร์ 12 และ กรณิศ เล้าสุบินประเสริฐ (อ๊ะอาย เดอะวอยซ์คิดส์ 2) เป็นเรื่องราวความรักความอลวนต่อจาก บางรักซอย 9 ของ ชัดเจน และ แป้ง ที่ส่งต่อถึงรุ่นลูกอย่าง ชัดแจ้ง และ แป้งหอม ออกอากาศทาง ช่องวัน ในช่วง วันขำดี คอเมดี้ที่สองทุ่ม ทุกวันอังคาร เวลา 20:00 - 20:30 น. ก่อน ละครดีดูที่ช่องวัน ประจำวันอังคาร เริ่มออกอากาศวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เฉพาะวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 เพิ่มเวลาเป็น 19.45 - 20.30 น. ต่อมาในวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ได้ปรับเวลาการออกอากาศให้มาเร็วขึ้นกว่าเดิมและเพิ่มเวลาเป็น 19.15 - 20.15 น. และล่าสุดตั้งแต่วันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป พบกับเวลาใหม่เป็น 19.10 - 19.55 น. ตั้งแต่ 28 พฤศจิกายน 2560 เป็นเวลา 19.00 - 20.00 น. และซิทคอมเรื่องนี้จะออกอากาศเป็นตอนสุดท้ายของฤดูกาลที่ 1 ในวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2561 ฤดูกาลที่ 2 จะกลับมาออกอากาศในวันและเวลาใหม่ ทุกวันอาทิตย์ 17.00 - 18.00 น.

ใหม่!!: 14 มกราคมและบางรักซอย 9/1 · ดูเพิ่มเติม »

บุญจง วงศ์ไตรรัตน์

นายกองเอกบุญจง วงศ์ไตรรัตน์ (เกิด: 14 มกราคม 2504–ปัจจุบัน) อดีตรองหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย คนที่ 1 อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ใหม่!!: 14 มกราคมและบุญจง วงศ์ไตรรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: 14 มกราคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: 14 มกราคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559 เดวิด โบอี ทฤษฎี สหวงษ.

ใหม่!!: 14 มกราคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1825

ทธศักราช 1825 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 1825 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1844

ทธศักราช 1844 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 1844 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1863

ทธศักราช 1863 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 1863 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2267

ทธศักราช 2267 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2267 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2496 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2497 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 461

ทธศักราช 461 ใกล้เคียงกับ 83 ปีก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพ.ศ. 461 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคภูมิใจไทย

รรคภูมิใจไทย (ย่อว่า: ภท.) ก่อตั้งเมื่อ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 มี นายพิพัฒน์ พรมวราภรณ์ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก นายมงคล ศรีอ่อน เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก และนางวันเพ็ญ ขวัญวงศ์ เป็นโฆษกพรรคคนแรก ในปัจจุบันมีนาย อนุทิน ชาญวีรกูล เป็นหัวหน้าพรรคนาย ศักดิ์สยาม ชิดชอบ เป็นเลขาธิการพรรค และนางวาว ศุภมาศ อิศรภักดี เป็นโฆษกพรร.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพรรคภูมิใจไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสู้เพื่อไทย

รรคสู้เพื่อไทย (อักษรย่อ: สพท. Fight For Thai Party - FFTP) เดิมมีชื่อว่า "พรรคเกษตรกรไทย" (อักษรย่อ: กกท. Thai Farmer Party - TFP) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2547 และได้เปลี่ยนชื่อเป็นพรรคสู้เพื่อไทยเมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 พรรคสู้เพื่อไทยมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ เลขที่ 909 ซอยสุทธิพร แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร (ย้ายมาจาก เลขที่ 224 หมู่ 5 ถนนสูงเนิน-อากาศอำนวย ตำบลสว่าง อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร) โดยมี นายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ เป็นหัวหน้าพรรค และ นายชัยวัฒน์ ไกรฤกษ์ เป็นเลขาธิการพรร.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพรรคสู้เพื่อไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

ระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจักรีบรมนาถฯ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พ.ศ. ๒๒๗๙ - พ.ศ. ๒๓๕๒ ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๒๕ - พ.ศ. ๒๓๕๒) รัชกาลที่ ๑ แห่งราชจักรีวงศ์ พระราชสมภพเมื่อ วันพุธ เดือน 10 แรม ๕ ค่ำ 2000000000000000 ปีมะโรงอัฐศก เวลา ๓ ยาม ตรงกับวันที่ ๓๐ มีนาคม พุทธศักราช ๒๒๗๙ ในรัชกาลของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เป็นบุตรคนที่ ๔ ของสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (พระนามเดิม "ทองดี") และพระอัครชายา (พระนามเดิม "หยก"หรือ ดาวเรือง) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปราบดาภิเษกขึ้นครองราชย์ เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๓๒๕ (ตรงกับ วันเสาร์ เดือน ๕ แรม ๙ ค่ำ ปีขาล จัตราศก จุลศักราช ๑๑๔๔) ขณะมีพระชนมายุได้ ๔๕ พรรษา ปลาทอง ดร.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 เจ้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 (Descendants of King Christian IX) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 6 พระองค์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (8 เมษายน พ.ศ. 2361 - 29 มกราคม พ.ศ. 2449 เสวยราชสมบัติ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406) โดยมีพระราชนัดดา 39 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 84 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ของทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก โดยทรงเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์อังกฤษ นอร์เวย์ เบลเยียม กรีซ โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย สเปน และรัสเซีย จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า พระสัสสุระแห่งยุโรป (Father-in-Law of Europe) สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 ทรงครองราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์กเป็นเวลานานเกือบ 50 ปี ในระหว่างปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย

ระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 (Descendants of Emperor Nicholas I) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิต เริ่มจากการอภิเษกสมรสของสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2339 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2398 เสวยราชสมบัติ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2368 สืบต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 พระบรมเชษฐาธิราช) พระราชโอรสลำดับที่ 9 ในสมเด็จพระจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย (พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดินีแคเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย หรือ แคเธอรีนมหาราชินี) กับ สมเด็จพระจักรพรรดินีมารี เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (พระอิสริยยศเดิม เจ้าหญิงโซฟี-โดโรเธียแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2360 ณ พระราชวังฤดูหนาว กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก กับ เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย (ฟรีเดริเค หลุยซา ชาร์ล็อต วิลเฮลมินา; 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2341 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403 ซึ่งทรงเปลี่ยนพระนามเป็น แกรนด์ดัชเชสอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย หลังจากการเข้ารีตในนิกายออร์โธด็อกซ์รัสเซีย เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2460) และมีพระราชโอรสธิดาทั้งหมด 7 พระองค์ พระราชนัดดา 31 พระองค์ และพระราชปนัดดาจำนวนหลายพระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) พระราชโอรสและพระราชธิดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา นิโคไลเยฟนาแห่งรัสเซีย (สมเด็จพระราชินีแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ส่วนพระราชนัดดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา คอนสแตนตินอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมา สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ) และแกรนด์ดัชเชสอนาสตาเซีย มิคาอิลอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมาคือ แกรนด์ดัชเชสแห่งเม็คเล็นบูร์ก-ชเวริน).

ใหม่!!: 14 มกราคมและพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระครูวิจิตรนวการโกศล (สมจิต จิตฺตคุตฺโต)

ระครูวิจิตรนวการโกศล (สมจิต จิตฺตคุตฺโต) หรือ ครูบาสมจิต อดีตเจ้าอาวาสวัดสะแล่ง อดีตเจ้าคณะตำบลหัวยอ้อ เขต 1 และอดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภอลอง พระสงฆ์นักปฏิบัติ นักพัฒนาแห่งจังหวัดแพร.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพระครูวิจิตรนวการโกศล (สมจิต จิตฺตคุตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเรณู

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเรณู (พ.ศ. 2342 - ไม่มีข้อมูล) ประสูติเมื่อเดือน 8 ปีมะแม เอกศก จุลศักราช 1161 ตรงกับปี พ.ศ. 2342 เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 26 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาบุนนาค ทรงเป็นต้นราชสกุลเรณุนันท์ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 3.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเรณู · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์ก (Christian VII of Denmark) (29 มกราคม ค.ศ. 1749 - 12/13 มีนาคม ค.ศ. 1808) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์แห่งราชวงศ์โอลเดนบวร์ก ผู้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเมื่อพระชนมายุ 17 พรรษาในปี ค.ศ. 1766 จนเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1808 คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ พระเจ้าคริสเตียนที่ 7 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 29 มกราคม ค.ศ. 1749 ที่โคเปนเฮเกนในเดนมาร์ก พระองค์เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดริคที่ 5 แห่งเดนมาร์ก และ หลุยส์แห่งเกรตบริเตนพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่ และทรงเสกสมรสกับคาโรไลน์ มาทิลดาแห่งเกรตบริเตนพระขนิษฐาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1766 พระองค์เป็นพระราชบิดาของพระเจ้าเฟรเดริคที่ 6 พระเจ้าคริสเตียนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 12/13 มีนาคม ค.ศ. 1808 ในเดนมาร์ก พระบรมศพได้รับการบรรจุที่มหาวิหารรอสคิล.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 5 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระเจ้าเฟรเดริคที่ 5 แห่งเดนมาร์ก (Frederick V of Denmark) (31 มีนาคม ค.ศ. 1723 - 13/14 มกราคม ค.ศ. 1766) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์แห่งราชวงศ์โอลเดนบวร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างปี ค.ศ. 1746 จนเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1766 คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ พระเจ้าเฟรเดริคที่ 5 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1723 ในโคเปนเฮเกนในเดนมาร์ก พระองค์เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 6 แห่งเดนมาร์ก และ พระราชินีโซเฟีย แมกดาเลนแห่งบรานเดนบวร์ก-คุล์มบาค และทรงเสกสมรสกับเจ้าหญิงหลุยส์แห่งเกรตบริเตนพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1743 พระองค์และพระราชินีหลุยส์มีพระราชโอรสธิดาด้วยกันหกพระองค์ ห้าพระองค์รอดมาจนเจริญพระชันษา พระราชินีหลุยส์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม ค.ศ. 1751 หลังจากนั้นพระองค์ก็ทรงเสกสมรสกับยูเลียนา มารีอาแห่งบราวน์ชไวก์-โวลเฟ่นบึทเท่ลธิดาของแฟร์ดีนันด์ อัลเบร็คท์ที่ 2 ดยุกแห่งเบราน์ชไวก์-โวลเฟนบึทเทิล.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 5 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พาราลิมปิกฤดูหนาว 1984

ราลิมปิกฤดูหนาว 1984 (1984 Winter Paralympic) หรือการแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 3 เป็นการแข่งขันกีฬาคนพิการระดับโลกที่มีการแข่งขันกีฬาหลายชนิด จัดขึ้นที่อินส์บรุค ประเทศออสเตรีย ระหว่างวันที่ 14 มกราคม ถึง 20 มกราคม พ.ศ. 2527.

ใหม่!!: 14 มกราคมและพาราลิมปิกฤดูหนาว 1984 · ดูเพิ่มเติม »

พาวเวอร์ดอลส์

right ภาพจากเกม พาวเวอร์ดอลส์ 2 พาวเวอร์ดอลส์ (POWER DoLLS) เป็นเกมซิมูเลชั่นแนววางแผนการรบ พัฒนาโดยบริษัท โคงะโดสตูดิโอ (ปัจจุบันคือ บริษัท โคงะโดสตูดิโอ จำกัด) ซึ่งออกวางจำหน่ายในรูปแบบของเกมคอมพิวเตอร์, PC-FX และ เพลย์สเตชัน เนื้อหาของเกม พาวเวอร์ดอลส์ ได้เริ่มต้นขึ้นในปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและพาวเวอร์ดอลส์ · ดูเพิ่มเติม »

กระตุกต่อมฮาอเมริกา

กระตุกต่อมฮาอเมริกา หรือ America's Funniest Home Videos (มีชื่อย่อว่า AFV) เป็นรายการที่ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ ABC มานานถึง 20 ปีโดยในฤดูกาลที่ 20 ได้ออกอากาศที่อเมริกาไปแล้วตั้งแต่วันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 2009 ส่วนฤดูกาลที่ 19 นั้นได้ออกอากาศในประเทศไทยทาง ทรูวิชั่นส์ ช่อง 20 ไปแล้วเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม ค.ศ. 2009 โดยเนื้อหาของรายการนั้นทางรายการจะให้ผู้ชมส่งเทปวิดีโอที่คิดว่าตลกที่สุดเข้ามายังรายการ หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ภาษาอังกฤษ หมวดหมู่:ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและกระตุกต่อมฮาอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเคนยา

กองทัพเคนยา เป็นกองทัพของสาธารณรัฐเคนยา แบ่งเป็นกองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ รัฐธรรมนูญแห่งเคน..

ใหม่!!: 14 มกราคมและกองทัพเคนยา · ดูเพิ่มเติม »

กิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐ

ลเอกกิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐ นักการเมืองชาวไทย ประธานที่ปรึกษา พรรคไทยศรีวิไลย์ อดีตผู้ช่วยหัวหน้านายทหารฝ่ายเสนาธิการ ประจำรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (นายชวน หลีกภัย) เคยเป็นอดีตเลขาธิการพรรคความหวังใหม่ และประธานที่ปรึกษาพรรคประชาสันติ และพรรคต้นตระกูลไทย รวมถึงอดีตกรรมการบริหารพรรคการเมืองใหม.

ใหม่!!: 14 มกราคมและกิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 24

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 24 หรือ หัวหมากเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 14 - 21 มกราคม พ.ศ. 2540 ณ มหาวิทยาลัยรามคำแหง กรุงเทพมหานคร โดยมีมหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 21 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน 42 มหาวิทยาลัย และมีการชิงชัย 172 เหรียญทอง.

ใหม่!!: 14 มกราคมและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 24 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 28

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 28 หรือ ณิวัฒนาเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 7- 14 มกราคม พ.ศ. 2544 ณ มหาวิทยาลัยณิวัฒนา จังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีมหาวิทยาลัยณิวัฒนาเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดการแข่งขัน 18 ชนิดกีฬา กีฬาสาธิต 1 ชนิดกีฬา มีการชิงชัยทั้งสิ้น 186 เหรียญทอง.

ใหม่!!: 14 มกราคมและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 28 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 35

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 35 หรือ วลัยลักษณ์เกมส์ จัดแข่งขันระหว่างวันที่ 7 - 14 มกราคม..

ใหม่!!: 14 มกราคมและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 35 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 2007

มเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร มีพระราชดำรัส เปิดการแข่งขัน '''กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน ประจำปี ค.ศ. 2007''' ณ ราชมังคลากีฬาสถาน กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2550 กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 2007 เป็นการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน ครั้งที่ 24 จัดขึ้นที่ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 8-18 สิงหาคม พ.ศ. 2550 โดย สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดการแข่งขันอย่างเป็นทางการ ณ ราชมังคลากีฬาสถาน เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม.

ใหม่!!: 14 มกราคมและกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 2007 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 19

การแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระดับประเทศของประเทศไทย การแข่งขันครั้งนี้จัดที่จังหวัดจันทบุรี ระหว่างวันที่ 14 – 20 มกราคม..

ใหม่!!: 14 มกราคมและกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

มกราคม

มกราคม เป็นเดือนแรกของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนมกราคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีมกร และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกุมภ์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนมกราคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู และไปอยู่ในกลุ่มดาวแพะทะเลในปลายเดือน เดือนมกราคมในภาษาอังกฤษ January มาจากเทพเจ้าโรมันนามว่า ยานุส (Janus) ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งประตูทางผ่าน การเริ่มต้น และการสิ้นสุด ปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคมมีเดือนเพียง 10 เดือน (304 วัน) โดยไม่มีเดือนในช่วงฤดูหนาว ต่อมาได้มีการเพิ่มเดือน 2 เดือน คือ เดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ ทำให้ 1 ปีมี 12 เดือน ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนมกราคมในปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและมกราคม · ดูเพิ่มเติม »

มกราคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 14 มกราคมและมกราคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.

ใหม่!!: 14 มกราคมและมหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา

มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา (Chalermkarnchana University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตั้งอยู่ที่จังหวัดศรีสะเกษ และถือเป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งแรกในจังหวัดศรีสะเกษ ได้รับอนุญาตให้เปิดทำการสอนระดับอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ. 2547 และได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนประเภทเป็นมหาวิทยาลัย ในชื่อว่า "มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา" เมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2557 ปัจจุบัน นอกจากการเรียนการสอนในจังหวัดศรีสะเกษ แล้ว ยังมีการจัดการเรียนการสอนในลักษณะเป็นวิทยาเขตหรือศูนย์ในจังหวัดตามภูมิภาคต่างๆ ด้วย ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดเพชรบูรณ์ มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา ได้มีการจัดพิธีพระราชทานปริญญาบัตรให้แก่ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเป็นประจำทุกปี ซึ่งทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เสด็จมาเป็นองค์ประธานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง.

ใหม่!!: 14 มกราคมและมหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา · ดูเพิ่มเติม »

มารี โซฟีแห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงมารี โซฟีแห่งเฮสส์-คาสเซิล(ภาษาเยอรมัน:Marie Sophie Friederike von Hessen-Kassel,28 ตุลาคม พ.ศ. 2310 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2395) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ และทรงดำรงพระอิศริยยศเป็น ผู้สำเร็จราชการแห่งเดนมาร์กในระหว่างปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและมารี โซฟีแห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มิโฮะ โคะมะสึ

มิโฮะ โคะมะสึ (30 มีนาคม พ.ศ. 2517 —) เป็นอดีตนักร้องและอดีตนักแต่งเพลงชาวญี่ปุ่นสังกัดกิซะ สตูดิโอ.

ใหม่!!: 14 มกราคมและมิโฮะ โคะมะสึ · ดูเพิ่มเติม »

มีชาเอลา ฟอน ฮับส์บูร์ก

อาร์คดัชเชสไมเคิลล่าแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: ไมเคิลล่า มาเรีย เมเดอลีน คีเลียน่า; Michaela Maria Madeleine Kiliana von Habsburg-Lothringen) ทรงเป็นอาร์คดัชเชสแห่งออสเตรีย และเจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการี เป็นพระราชธิดาองค์ที่ 3 ในออตโต มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย และเจ้าหญิงเรจิน่าแห่งแซ็กซ์-ไมนินเจน ประสูติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2497 พระองค์เป็นพระขนิษฐาฝาแฝดกับอาร์คดัชเชสโมนิก้าอีกด้วย เมื่อวัยเด็กของพระองค์ พระองค์ได้ย้ายไปอยู่ที่นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ท่ามกลางการต่อต้านจากญาติพี่น้อง พระองค์ทำงานอยู่ในโลกของแฟชั่น ซึ่งต่อมา พระองค์ทรงตั้งร้านจิลเวอรรี่เครื่องเพชรของพระองค์เอง ต่อมา พระองค์ทรงเป็นนักประวัติศาสตร์ชื่อดัง ทรงเป็นนักประวัติศาสตร์ที่เป็นเจ้าหญิงพระองค์แรกในประวัติศาสตร์ออสเตรีย-ฮังการี พระองค์ทรงเคยประทานสัมภาษณ์ว่า พระองค์ไม่เคยรู้สึกสะดวกสบายเลยเมื่ออยู่กับพระอัยกีของพระองค์ สมเด็จพระจักรพรรดินีซีต้า ทั้งที่พระองค์ทรงทำทุกอย่างเพื่อที่จะได้ใกล้ชิดพระอง...

ใหม่!!: 14 มกราคมและมีชาเอลา ฟอน ฮับส์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ยออาน กาบาย

ออาน กาบาย (Yohan Cabaye;; เกิดเมื่อวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1986) เป็นนักฟุตบอลชาวฝรั่งเศส ปัจจุบันเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลคริสตัลพาเลซในพรีเมียร์ลีก ประเทศอังกฤษ และฟุตบอลทีมชาติฝรั่งเศส ชุดปัจจุบัน โดยเล่นในตำแหน่งกองกลาง กาบายเป็นนักฟุตบอลที่ควบคุมการสัมผัสบอลและเร่งความเร็วไปพร้อมกับบอลได้เป็นอย่างดี และยังมีทักษะยิงจุดโทษในระดับดีเช่นกัน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและยออาน กาบาย · ดูเพิ่มเติม »

ยังดีเปอร์ตวน เบซาร์ ตวนกู มูห์ริซ

ยังดีเปอร์ตวน เบอซาร์ ตวนกู มูห์ริซ ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครแห่งรัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน ประเทศมาเลเซีย องค์ปัจจุบัน ประสูติเมื่อ14 มกราคม พ.ศ. 2491 เป็นโอรสของสมเด็จพระราชาธิบดีตวนกู มูนาวีร์ อิบนี่ อัลมาร์ฮุม ตวนกู อับดุล ราห์มานกับรายา ตวนกู อัมพวน ดูราห์ บินติ อัลมาร์ฮุม เบซาร์ บูร์ฮานุดดิน เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อ29 ธันวาคม พ.ศ. 2551 สมเด็จพระราชาธิบดียังดีเปอร์ตวนเบอซาร์ ตวนกู มูห์ริซ ทรงอภิเษกสมรสกับรายา ตวนกู ไอชาห์ โรฮานี่ มีพระโอรส-ธิดาด้วยกัน 3 พระองค์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์แห่งรัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและยังดีเปอร์ตวน เบซาร์ ตวนกู มูห์ริซ · ดูเพิ่มเติม »

ยังไกล

"ยังไกล" เป็นซิงเกิลในปี พ.ศ. 2559 ของนักร้อง บอย พีซเมกเกอร์ ประพันธ์เนื้อร้อง-ทำนองโดย อนุวัฒน์ สงวนศักดิ์ภักดี,จน The Dey และเรียบเรียงโดย ศุภวิญญ์ มุ่งมาตร ออกจำหน่ายในวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2559 มิวสิกวีดีโอนี้ถ่ายทำที่เขื่อนศรีนครินทร์ กาญจนบุรี กำกับของ “หนุ่ย- ศุทธสิทธิ์ เดชอินทรนารักษ์” โดยเนื้อหาเป็นเรื่องราวของกลุ่มเพื่อนนักศึกษาที่ไปเที่ยวกันช่วงปิดเทอม โดยพระเอก ของเรื่อง “พีท” แอบชอบนางเอก “ฮานะ” (ตูน พิมพ์ปวีณ์) ซึ่งเพิ่งจะเลิกราก ทำให้พีทเริ่มมีความหวังอีกครั้ง.

ใหม่!!: 14 มกราคมและยังไกล · ดูเพิ่มเติม »

ยูเลียนา มารีอาแห่งบราวน์ชไวก์-โวลเฟ่นบึทเท่ล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์

ัสเชสยูเลียนา มารีอาแห่งบราวน์ชไวก์-โวลเฟ่นบึทเท่ล (4 กันยายน พ.ศ. 2272 - 10 ตุลาคม พ.ศ. 2339) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ ระหว่าง..

ใหม่!!: 14 มกราคมและยูเลียนา มารีอาแห่งบราวน์ชไวก์-โวลเฟ่นบึทเท่ล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

รวิวรรณ จินดา

รวิวรรณ จินดา (ชื่อเล่น อุ้ย) เกิดวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2505 เป็นนักร้องชาวไทย มีผลงานอัลบั้มเพลง 6 ชุด และยังมีผลงานแสดงภาพยนตร์ อดีตผู้บริหารบริษัท ฟาติมา บรอดคาสติ้ง อินเตอร์เนชั่นแนล จำกั.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรวิวรรณ จินดา · ดูเพิ่มเติม »

รักกันมันแจ๋ว

รักกันมันแจ๋ว เป็นละครโทรทัศน์ไทย แนวละคร: ซิตคอม-คอเมดี้ สร้างปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและรักกันมันแจ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

รักในรอยแค้น

รักในรอยแค้น เป็นละครดราม่าเรื่องแรกของบริษัท เอ็กแซ็กท์ จำกัด - Official site ซึ่งออกอากาศ เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2535 เป็นผลงานการกำกับละครยาวเรื่องแรกของ ถกลเกียรติ วีรวรรณ และยังเป็นละครยาวเรื่องแรกของ ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง รวมทั้งผลงานเข้าสู่วงการบันเทิงของ นุสบา วานิชอังกูร ซึ่งละครได้รับผลตอบรับที่ดีเยี่ยม กลายเป็นผลงานสร้างชื่อของทั้งบริษัท, ผู้กำกับ และ นักแสดง รักในรอยแค้น เขียนเค้าโครงเรื่องโดย วาณิช จรุงกิจอนันต์ และเขียนบทโทรทัศน์โดย ทองขาว ทวีปรังษีนุกุล เป็นเรื่องของความรักของ 2 หนุ่ม-สาวที่ไม่อาจเป็นไปได้เพราะมาอยู่ตรงกลางระหว่างความแค้นของ 2 ตระกูล และมีฉากจบถูกพูดถึงมากที่สุดจนถึงทุกวันนี้ รักในรอยแค้น ได้นำกลับมาสร้างใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2545 เนื่องในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของบริษัท เอ็กแซ็กท์ ซึ่งบทพัดยศนำแสดงโดย ณวัฒน์ กุลรัตนรักษ์ รับบท พัดยศ และ เอวิตรา ศิระสาตร์ รับบท องค์อร.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรักในรอยแค้น · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: 14 มกราคมและราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Descendants of Queen Victoria) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 9 พระองค์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย; 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 - 22 มกราคม พ.ศ. 2444 เสวยราชสมบัติ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380) โดยมีพระราชนัดดา 42 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 88 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ในทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก ทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์สเปน เยอรมนี กรีซ รัสเซีย โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า สมเด็จย่าแห่งยุโรป (Grandmother of Europe) สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ เป็นเวลา 63 ปีเศษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบทของฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบาน

รายชื่อบทในมังงะ เรื่อง ฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบาน หมายเหตุ: ชื่อตอนในแบบฉบับภาษาไทยจะอิงจากการแปลของมังงะของสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ โดยอาจจะแตกต่างจากชื่อตอนภาษาไทยของอะนิเมะก็ได้ ถึงแม้จะใช้ชื่อเหมือนกันในภาษาญี่ปุ่น.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายชื่อบทของฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบทความวันนี้ในอดีต

รายชื่อบทความวันนี้ในอดีต.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายชื่อบทความวันนี้ในอดีต · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

งประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อฝนดาวตก

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายชื่อฝนดาวตก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวันสำคัญของอุซเบกิสถาน

รายชื่อวันสำคัญของอุซเบกิสถาน;วันหยุดนอกเหนือจากทางราชการ.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายชื่อวันสำคัญของอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวันสำคัญของไทย

รายชื่อวันสำคัญของไท.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายชื่อวันสำคัญของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผลงานของทงบังชินกี

ทความนี้เป็นบทความที่รวมรายชื่อผลงานอัลบั้ม ซิงเกิล และอื่น ๆ ของ ทงบังชินกี.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายชื่อผลงานของทงบังชินกี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2530

้านล่างนี้คือรายชื่อผู้นำของประเทศต่างๆในปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในกองทัพเรือยูเครน

ตารางข้างล่างนี้แสดงธงราชการกองทัพเรือของยูเครน โดยแบ่งชนิดของธง ตามส่วนราชการของกองทัพเรือยูเครน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายชื่อธงในกองทัพเรือยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในโทระโดระ!

อซากะ ไทกะ (ขวา) โทระโดระ! เป็นอะนิเมะจากญี่ปุ่น ผลิตโดย J.C.Staff กำกับโดย ทาสึยูคิ นางาอิ, เขียนบทโดย มาริ โอคาดะ, และ ออกแบบตัวละครโดย มาซาโยชิ ทานากะ โดยนำต้นแบบจาก ยาสึ อะนิเมะนี้มีพื้นฐานจาก ไลท์ โนเวล โทระโดระ! แต่งโดย ยูยูโกะ ทาเคมิยะ กล่าวถึงชีวิตของ ทาคาสึ ริวจิ นักเรียนมัธยมปลายที่มีหน้าและบุคลิกเหมือนพวกยากูซ่าทำให้คนรอบข้างกลัวแต่ความจริงแล้วริวจินนั้นเป็นคนที่ดีมากและชอบเก็บกวาดบ้านทำครัวอยู่เสมอ แต่ชีวิตต้องมาเปลี่ยนไปหลังจากเขาได้พบกับ ไอซากะ ไทกะหญิงสาวตัวเล็กหน้าตารักแต่นิสัยดุเหมือนเสือจนคนรอบข้างตั้งฉายาให้ว่า "เสือมือถือ" ตอนแรกของอะนิมะได้ฉายครั้งแรก ในวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2551 (คืนวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551) ในช่อง TV Tokyo และตอนสุดท้ายฉายวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2552 รวม 25 ตอนและยังมีช่องโทรทัศน์อื่นๆ เช่น AT-X, TV Aichi, TV Hokkaido, TV Osaka, TV Setōchi, และ TVQ Kyushu Broadcasting ฉายอีกด้วย การจำหน่ายดีวีดีนั้น ในแผ่นแรกจะมี 4 ตอน จำหน่ายในวันที่ 21 มกราคม 2009 ในรูปแบบธรรมดาและลิมิตเต็ด เอดิชัน โดย King Records และอีก 7 แผ่นจะมีแผ่นละ 3 ตอน โดยจะจำหน่ายระหว่างวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ถึง 26 สิงหาคม 2009 ในรูปแบบธรรมดาและลิมิตเต็ด เอดิชัน และในดีวีดีแผ่นที่สองได้ใส่ตอนพิเศษชื่อว่า Toradora SOS! ด้วย อะนิมะมีเพลงประกอบ 5 เพลง แบ่งเป็นเพลงเปิด 2 เพลง เพลงปิด 2 เพลง เพลงปิดพิเศษ 1 เพลง เพลงเปิดเพลงแรกคือเพลง "พรี-พาเรด" ร้องโดย ริเอะ คุกิมิยะ, เอริ คิทามุระ และ ยูอิ โฮริเอะ เพลงปิดเพลงที่ 2 คือ เพลง "Silky Heart" ร้องโดย ยูอิ โฮริเอะ ส่วนเพลงปิดเพลงแรก คือเพลง "วานิลา ซอลท์" ร้องโดย ยูอิ โฮริเอะ เพลงปิดเพลงที่ 2 คือ เพลง "Orange" ร้องโดย ริเอะ คุกิมิยะ, เอริ คิทามุระ, และ ยูอิ โฮริเอะ และเพลงปิดตอนที่ 19 คือเพลง "Holy Night" ร้องโดย คุกิมิยะ และ คิทามุร.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายชื่อตอนในโทระโดระ! · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในเบ็นเท็น

รายชื่อตอนของการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกาเรื่อง เบ็นเท็น.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายชื่อตอนในเบ็นเท็น · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย เป็นบทความที่รวบรวมรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดโดยจำแนกตามจังหวั.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์สเปน

รายพระนามพระมหากษัตริย์สเปน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายพระนามพระมหากษัตริย์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ

ต่อไปนี้คือรายพระปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ซึ่งในปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และประเทศในเครือจักรภพ สำหรับรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะซึ่งประกอบกันเป็นสหราชอาณาจักรปัจจุบันดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส

ระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส (Monarques de France) ทรงปกครองดินแดนฝรั่งเศสมาตั้งแต่การสถาปนาราชอาณาจักรแฟรงก์ในปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก

ระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์ก และ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก พระอิศริยยศนี้รวมด้ว.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สเปน

รายพระนามสมเด็จพระราชินี, สมเด็จพระราชินีนาถ และ เจ้าฟ้าชายพระราชสวามีแห่งสเปน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ประเทศลักเซมเบิร์กปกครองโดยเจ้าผู้ครองราชรัฐซึ่งมีฐานันดรศักดิ์เป็นเคานต์ ดยุก และแกรนด์ดยุก ตามลำดับ ในอดีตเป็นรัฐนี้ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเยอรมนีและจากนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งได้ปกครองตนเองในปี พ.ศ. 2358.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายการผลงานของแคลช

รายการผลงานของวงดนตรีร็อกสัญชาติไทย แคลช (Clash) ซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 5 คน ได้แก่ แบงค์ ปรีติ บารมีอนันต์ (ร้องนำ), พล คชภัค ผลธนโชติ (กีตาร์), แฮ็คส์ ฐาปนา ณ บางช้าง (กีตาร์), สุ่ม สุกฤษณ์ ศรีเปารยะ (เบส), และยักษ์ อนันต์ ดาบเพ็ชรธิกรณ์ (กลอง) ปัจจุบันมีสตูดิโออัลบั้มหรืออัลบั้มเต็มจำนวน 7 อัลบั้ม ถ้านับแยกเป็นจำนวนเพลง เพลงในอัลบั้มเต็มทั้ง 7 ชุด มีทั้งสิ้น 73 เพลง ไม่รวมเวอร์ชันตัดเสียงร้องหรือ Bonus Track เพลงพิเศษในอัลบั้มพิเศษ 6 เพลง ไม่รวมเวอร์ชันคัฟเวอร์ เพลงในโปรเจกต์รวม 10 เพลงไม่รวมเพลงที่ร้องร่วมกับวงอื่น เพลงประกอบภาพยนตร์อีก 5 เพลง ไม่รวมเวอร์ชันคัฟเวอร์ และเพลงพิเศษในโอกาสต่าง ๆ ที่ไม่ถูกรวมไว้ในอัลบั้มใดอีก 3 เพลง รวมแล้วมีเพลงของวงแคลชรวมทั้งสิ้น 87 เพลง ปัจจุบันแยกวงแล้ว.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายการผลงานของแคลช · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น

งประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น รายนาม นายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น ซึ่งเป็นตำแหน่งผู้นำรัฐบาลของจักรวรรดิญี่ปุ่นและประเทศญี่ปุ่น ตามราชธรรมนูญเมจิในรัชสมัยเมจิ องค์จักรพรรดิทรงเป็นผู้เลือกและแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจวบจนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ภายหลังจากนั้น นายกรัฐมนตรีจึงมีที่มาจากการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร โดยมีองค์จักรพรรดิเป็นผู้แต่งตั้งตามขนบธรรมเนียม จวบจนถึงปัจจุบัน ญี่ปุ่นมีนายกรัฐมนตรีมาแล้ว 62 คน ใน 96 คณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก

นายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก เป็นหัวหน้ารัฐบาลแห่งเดนมาร์กและเป็นหัวหน้าคณะรัฐมนตรีแห่งเดนมาร์ก ตั้งแต..

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายนามนายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกเทศมนตรีเมืองสุรินทร์

รายนามนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองสุรินทร์ จากอดีต-ปัจจุบัน สุรินทร์.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรายนามนายกเทศมนตรีเมืองสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราศีธนู

ำหรับ Sagittarius ความหมายอื่น ดูที่: กลุ่มดาวคนยิงธนู และนกเลขานุการ ราศีธนู (Sagittarius จากsagittārius แปลว่า "นักยิงธนู") เป็นราศีที่ 9 ตามตำราของโหราศาสตร์ตะวันตก อยู่ระหว่างราศีพิจิกกับราศีมกร มีสัญลักษณ์เป็นเซนทอร์กำลังยิงธนู ช่วงวันที่ครอบคลุมของราศีธนูนั้น ในแบบสายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 23 พฤศจิกายน ถึง 21 ธันวาคม ส่วนแบบนิรายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 16 ธันวาคม ถึง 14 มกราคม.

ใหม่!!: 14 มกราคมและราศีธนู · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินเดลี

รถไฟใต้ดินเดลี (ฮินดี: दिल्ली मेट्रो) เป็นระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูงที่ให้บริการในกรุงนิวเดลีและปริมณฑล เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าที่ยาวเป็นอันดับที่สิบสามของโลก ประกอบด้วย 6 เส้นทาง รวมระยะทางได้ จำนวน 142 สถานี โดยเป็นสถานีใต้ดิน 35 สถานี สถานีเสมอระดับ 5 สถานี และที่เหลือเป็นสถานียกระดับ ทุกสถานีมีสิ่งอำนวยความสะดวกครบทุกอย่าง เส้นทางมีทั้งแบบใต้ดิน เสมอดิน และยกระดับ ใช้ราง broad gauge และรางมาตรฐาน สร้างและดำเนินการโดย Delhi Metro Rail Corporation Limited (DMRC) เมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2010 มีรถไฟฟ้าจำนวน 2,700 เที่ยวต่อวัน ให้บริการเวลา 06:00-23:00 น. ความถี่ประมาณ 2 นาที 40 วินาที รถไฟฟ้าจะพ่วงรถ 4-6 คันต่อขบวน แต่ถ้ามีผู้โดยสารมาก ก็จะเพิ่มเป็น 8 คันต่อขบวน โดยสายสีเหลืองเป็นสายแรกที่มี 8 คันต่อขบวน ใช้พลังไฟฟ้า 25 กิโลโวลต์ 50 เฮิร์ตซ์ ไฟฟ้ากระแสสลับ โดยรับส่งไฟฟ้าผ่านทางลวดไฟฟ้าเหนือหัว สถิติผู้โดยสารเฉลี่ยรายวันคือ 2.5 ล้านคน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรถไฟใต้ดินเดลี · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินเดลี สายสีม่วง

รถไฟใต้ดินเดลี สายสีม่วง เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในกรุงเดลี เชื่อมต่อระหว่างสถานี Central Secretariat และ Badarpur มีจำนวน 16 สถานี ระยะทาง เปิดให้บริการครั้งแรกวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: 14 มกราคมและรถไฟใต้ดินเดลี สายสีม่วง · ดูเพิ่มเติม »

ลอว์เรนซ์ แคสแดน

ลอว์เรนซ์ เอ็ดวาร์ด แคสแดน (เกิดเมื่อ 14 มกราคม พ.ศ. 2492) เป็นนักเขียนบท, ผู้กำกับภาพยนตร์, ผู้ผลิดตาพยนตร์ชาวอเมริกัน เขาเป็นที่รู้จักดีในนามผู้เขียนบทร่วมของภาพยนตร์เรื่องสตาร์ วอร์ส เอพพิโซด 5: จักรวรรดิเอมไพร์โต้กลับ, ขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า, และสตาร์ วอร์ส เอพพิโซด 6: การกลับมาของเจได แคสแดนจะเป็นผู้เขียนบทร่วมของภาพยนตร์ไตรภาคต่อของสตาร์ วอร.

ใหม่!!: 14 มกราคมและลอว์เรนซ์ แคสแดน · ดูเพิ่มเติม »

ลูกไม้หลากสี

ลูกไม้หลากสี เป็นละครโทรทัศน์ไทยจากบทประพันธ์ของ เทพิตา ถูกสร้างครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2548 เขียนบทโทรทัศน์โดย สับปะรดหรรษา กำกับการแสดงโดย มาวิน แดงน้อย หรือชื่อเดิม มานพ สัมมาบัต (ปัจจุบันถึงแก่กรรมแล้ว) นำแสดงโดย ศิวัฒน์ โชติชัยชรินทร์, เอมี่ กลิ่นประทุม และนำกลับมาสร้างใหม่อีกครั้งในปี พ.ศ. 2556 เขียนบทโทรทัศน์โดย ลายน้ำ ผลิตโดย พอดีคำ กำกับการแสดงโดย ชัชวาล ศาสวัตกลูน นำแสดงโดย โตนนท์ วงศ์บุญ, พิมพ์ชนก ลือวิเศษไพบูลย์ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7.

ใหม่!!: 14 มกราคมและลูกไม้หลากสี · ดูเพิ่มเติม »

ลูอิส แคร์รอล

ลส์ ลัตวิดจ์ ดอดจ์สัน (27 มกราคม ค.ศ. 1832 - 14 มกราคม ค.ศ. 1898) หรือที่ผู้คนรู้จักกันในนามปากกา ลูอิส แคร์รอล เขาเป็นทั้งนักเขียนนวนิยาย นักคณิตศาสตร์ ชาวอังกลิคัน และช่างภาพ ผลงานเด่นที่สร้างชื่อเสียงให้กับเขาคือ อลิซผจญภัยในดินแดนมหัศจรรย์ และภาคต่อที่ชื่อ Through the Looking-Glass นอกจากนี้ยังมีผลงานอื่นอีก เช่น "The Hunting of the Snark" และ "Jabberwocky" ซึ่งทั้งหมดเป็นวรรณกรรมแนว "literary nonsense" จุดเด่นในวรรณกรรมของชาลส์ ลัตวิดจ์ ดอดจ์สัน คือการเล่นคำ, ตรรกะ, และ แฟนตาซี ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบของเด็กๆ, และยิ่งกว่านั้นงานเขียนของเขาได้ฝังลึกเข้าไปในวัฒนธรรมสมัยนิยม, และมีอิทธิพลโดยตรงกับนักเขียนจำนวนมากในเวลาถัดม.

ใหม่!!: 14 มกราคมและลูอิส แคร์รอล · ดูเพิ่มเติม »

ล้วงลับตับแตก

ล้วงลับตับแตก เป็นรายการวาไรตี้เกมโชว์ที่มีการเอา "ความลับ" ของเหล่าดาราต่าง ๆ มาเปิดเผยภายในรายการอย่างสนุกสนาน พร้อมทั้งร่วมกิจกรรมสนุกสนาน โดยที่จะมีดารารับเชิญ 3 คน เข้ามาร่วมแข่งขันเกมต่าง ๆ จากพิธีกร เพื่อชิงเป็นฝ่ายล้วงความลับจากฝ่ายตรงข้าม ถ้าล้วงลับเสร็จแล้วฝ่ายใดตับแตก จะเป็นฝ่ายแพ้ไป และถูกบทลงโทษจากทางรายการ รายการล้วงลับตับแตก ผลิตโดยบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) เริ่มออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 โดยออกอากาศทุกวันพฤหัสบดีเวลา 22:15 น. - 00:00 น. ทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี และออกอากาศครั้งสุดท้ายในวันพฤหัสบดีที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ก่อนจะมาเปลี่ยนชื่อรายการเป็น ล้วงลับ upLoad.

ใหม่!!: 14 มกราคมและล้วงลับตับแตก · ดูเพิ่มเติม »

วัชระ เพชรทอง

นายวัชระ เพชรทอง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา และเจ้าของคอลัมน์ "วัชรทัศน์" ของ นสพ.แนวหน้า รายวัน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและวัชระ เพชรทอง · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ใหม่!!: 14 มกราคมและวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

้าหญิงวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก (Princess Victoria Eugenie of Battenberg; พระนามเต็ม วิกตอเรีย ยูจีนี จูเลีย เอนา; 24 ตุลาคม พ.ศ. 2430 - 15 เมษายน พ.ศ. 2512) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีในพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 13 แห่งสเปน และพระราชนัดดาพระองค์หนึ่งในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย นอกจากนี้สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน ยังเป็นพระราชนัดดาของพระองค์อีกด้ว.

ใหม่!!: 14 มกราคมและวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

วุ่นรัก นักดนตรี

วุ่นรัก นักดนตรี เป็นหนังสือการ์ตูนผู้หญิง ที่แต่งโดย โทโมโกะ นิโนมิยะ ซึ่งเป็นหนังสือการ์ตูนที่ทำยอดขายทะลุ 4,000,000 เล่มในประเทศญี่ปุ่น จนได้รับรางวัล THE BEST COMICS OF THE YEAR 2004 (หนังสือการ์ตูนยอดเยี่ยมประจำปี พ.ศ. 2547 ของสำนักพิมพ์โคดันฉะ) ในสาขาการ์ตูนผู้หญิง หนังสือการ์ตูนเรื่องนี้ได้รับรับกระแสตอบรับจากชาวญี่ปุ่นเป็นอย่างมาก จนมีการสร้างเป็นละครออกมาในปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและวุ่นรัก นักดนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ศรายุทธ ชัยคำดี

รายุทธ ชัยคำดี (เกิด 24 กันยายน พ.ศ. 2524) เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ตำแหน่งกองหน้า มีฉายาว่า "โจ้ 5 หลา" โดยศรายุทธได้ประกาศยุติการเป็นนักเตะเมื่อวันที่ 27..2560 หลังจากเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลขอนแก่น ยูไนเต็ด ในไทยลีก ดิวิชัน 1 เป็นสโมสรสุดท้าย โดยศรายุทธ ชัยคำดี เคยคว้ารางวัลดาวซัลโวไทยพรีเมียร์ลีกได้ 2 สมัย และคว้าแชมป์โตโยต้า ลีกคัพ 2553 กับสโมสรฟุตบอลการท่าเรือไทย และเป็นนักฟุตบอลที่เคยเล่นให้กับสโมสรในระดับไทยพรีเมียร์ลีกมากที่สุดถึง 7 สโมสร นอกจากนี้ยังเป็นนักฟุตบอลคนแรกที่สามารถทำประตูในไทยพรีเมียร์ลีกได้ถึง 100 ประตู และเคยถือครองสถิติดาวซัลโวสูงสุดของไทยพรีเมียร์ลีกเมื่อรวมทุกฤดูกาล ก่อนสถิติดังกล่าวจะถูกทำลายลงโดยคลีตัน ซิลวา ในฤดูกาล 2559 ในระดับทีมชาติ ศรายุทธ ชัยคำดี เคยพาทีมชาติไทย ชุด U-23 คว้าเหรียญทองในกีฬาซีเกมส์ 2003 ที่ประเทศเวียดนาม พร้อมกับคว้ารางวัลดาวซัลโวประจำทัวนาเมนต์ไปครองโดยยิงไปถึง 9 ประตู โดยนับเป็นนักฟุตบอลชาวไทยที่ยิงประตูได้เยอะที่สุดในแข่งขันกีฬาซีเกมส์หนึ่งสมัย และติดทีมชาติไทยชุดใหญ่ 49 นัด ยิงได้ 31 ประตู.

ใหม่!!: 14 มกราคมและศรายุทธ ชัยคำดี · ดูเพิ่มเติม »

ศิลป์ พีระศรี

ตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี (15 กันยายน พ.ศ. 2435 — 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505) เดิมชื่อ คอร์ราโด เฟโรชี (Corrado Feroci) ชาวอิตาลีสัญชาติไทย เป็นประติมากรจากเมืองฟลอเรนซ์ที่เข้ามารับราชการในประเทศไทยตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเป็นปูชนียบุคคลคนหนึ่งของไทยที่ได้สร้างคุณูปการในทางศิลปะและมีผลงานที่เป็นที่กล่าวขานจนเป็นที่รู้จักกว้างขวาง ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งและอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ซึ่งภายหลังได้รับการยกฐานะให้เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยศาสตราจารย์ศิลป์ได้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัย มีความรักใคร่ ห่วงใยและปรารถนาดีต่อลูกศิษย์อยู่ตลอดจนเป็นที่รักและนับถือทั้งในหมู่ศิษย์และอาจารย์ด้วยกัน ศาสตราจารย์ศิลป์ยังเป็นผู้วางรากฐานที่เข้มแข็งให้แก่วงการศิลปะไทยสมัยใหม่จากการที่ได้พร่ำสอนและผลักดันลูกศิษย์ให้ได้มีความรู้ความสามารถในวิชาศิลปะทั้งงานจิตรกรรมและงานช่าง มีจุดประสงค์ให้คนไทยมีความรู้ความเข้าใจในศิลปะและสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะได้ด้วยความสามารถของบุคลากรของตนเอง การก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงเปรียบเสมือนการหว่านเมล็ดพันธุ์ให้แก่คนไทยเพื่อที่จะออกไปสร้างศิลปะเพื่อแผ่นดินของตน และถึงแม้จะริเริ่มรากฐานของความรู้ด้านศิลปะตะวันตกในประเทศไทย แต่ในขณะเดียวกันศาสตรจารย์ศิลป์ก็ได้ศึกษาศิลปะไทยอย่างลึกซึ้ง เนื่องจากต้องการให้คนไทยรักษาความงามของศิลปะไทยเอาไว้ จึงได้เกิดการสร้างลูกศิษย์ที่มีความรู้ทั้งงานศิลปะตะวันตกและศิลปะไทยออกไปเป็นกำลังสำคัญให้แก่วงการศิลปะไทยเป็นจำนวนมาก และเกิดรูปแบบงานศิลปะไทยสมัยใหม่ในที่สุด ด้วยคุณูปการนี้ศาสตราจารย์ศิลป์จึงได้รับการยกย่องให้เป็นปูชนียบุคคลของมหาวิทยาลัยศิลปากรและของประเทศไทย โดยเฉพาะในงานประติมากรรมที่ได้มีผลงานที่โดดเด่นมากมายที่สร้างไว้แก่ประเทศไทย ได้แก่ พระพุทธรูปประธานที่พุทธมณฑล, อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ, อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และรวมไปถึง พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ที่วงเวียนใหญ่, พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี และพระบรมราชานุสาวรีย์ของกษัตริย์ไทยอีกหลายพระองค์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ศาสตรจารย์ศิลป์จงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทยและเป็นบิดาแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยในวันที่ 15 กันยายน ของทุกปีจะถือเป็นวันศิลป์ พีระศรี ซึ่งมหาวิทยาลัยจะจัดงานรำลึกขึ้นทุกปีเพื่อระลึกถึงคุณงามความดีของศาสตราจารย์ศิลป์ที่มีต่อมหาวิทยาลัยและประเทศไทยหลายประการ.

ใหม่!!: 14 มกราคมและศิลป์ พีระศรี · ดูเพิ่มเติม »

ศึก 12 ราศี

ึก 12 ราศี เป็นรายการวาไรตี้เกมโชว์ พร้อมกับทำนายโทรศัพท์แบบ ศึก 12 ราศี ลักษณะรายการจะเป็นการทำนายราศีใดที่จะมีโอกาสเป็นไปตามคำทำนายในแต่ละข้อนั้นมากที่สุด โดยมี ผู้เข้าแข่งขันที่ร่วมศึกทั้ง 12 คนที่เกิดราศีแตกต่างกัน มาร่วมฟังศึกในแต่ละสัปดาห์ โดยมีสโลแกนของรายการที่ว่า ศึก 12 ราศี ศึกที่จะทำให้คุณรู้ลึก รู้ดี รู้ในสิ่งที่คุณอาจไม่เคยรู้มาก่อน รายการศึก 12 ราศี ออกอากาศทุกวันอาทิตย์ เวลา 12.15- 13.00. ทางช่อง 3 เริ่มออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2549 ดำเนินรายการโดย คุณสุ่ย พรนภา เทพทินกร, คุณแหม่ม สุริวิภา กุลตังวัฒนา(เปลี่ยนจากคุณสุ่ย), อภิษฎา เครือคงคา(เปลี่ยนจากคุณแหม่ม สุริวิภา),หมอลักษณ์ เรขานิเทศ (โหรฟันธง).

ใหม่!!: 14 มกราคมและศึก 12 ราศี · ดูเพิ่มเติม »

ศุภรัตน์ ควัฒน์กุล

รัตน์ ควัฒน์กุล อดีตปลัดกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: 14 มกราคมและศุภรัตน์ ควัฒน์กุล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม เกี่ยว โชคชัย ฉายา อุปเสโณ (11 มกราคม พ.ศ. 2471 - 10 สิงหาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช และประธานสมัชชามหาคณิสสร เป็นพระเถระที่มีอาวุโสโดยสมณศักดิ์สูงสุดของมหาเถรสมาคมเดลินิวส์, 30 ธันวาคม 2547มติชน, 15 ม..

ใหม่!!: 14 มกราคมและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถ

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2433 และสืบราชบัลลังก์ต่อมาโดยพระราชธิดา กฎหมายแซลิกจึงไม่ยอมให้ลักเซมเบิร์กยอมรับพระองค์ในฐานะเป็นแกรนด์ดัชเชสผู้ปกครองตามพระราชสิทธิของพระองค์เอง เช่นเดียวกับตอนที่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์แห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ พระองค์ไม่ได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งแฮโนเวอร์ด้วย ถึงแม้ว่าสมเด็จพระปิตุลาธิราชของพระองค์ทรงเคยเป็นกษัตริย์ของทั้งสองประเทศมาก่อน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ประเทศสวีเดน นอร์เวย์ เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ได้แก้ไขพระราชบัญญัติการสืบราชบัลลังก์จากการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดามาเป็นมีสิทธิสืบราชสมบัติเท่ากันตามลำดับการประสูติโดยไม่จำกัดเรื่องเพศ ในบางกรณี การเปลี่ยนแปลงอาจยังไม่ส่งผลอะไรมากมายจนกว่ารุ่นต่อจากรุ่นปัจจุบันเกิดขึ้นมา เพื่อหลีกเลี่ยงการยึดตำแหน่งของบุคคลที่อยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์มาก่อน โดยเฉพาะในพระอิสริยยศพิเศษ.

ใหม่!!: 14 มกราคมและสมเด็จพระราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ. 2483) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเดนมาร์ก ในฐานะที่เป็นพระราชธิดาองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระนางทรงสืบราชบัลลังก์เดนมาร์กหลังจากการเสด็จสวรรคตของพระราชบิดาในวันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: 14 มกราคมและสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถลีลีโอกาลานีแห่งฮาวาย

มเด็จพระราชินีนาถลีลีโอกาลานีแห่งฮาวาย (Queen Liliuokalani of Hawaii) (2 กันยายน พ.ศ. 2381 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2460) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรฮาวาย มีพระนามเดิมว่า ลิเดีย ลิลิอู โลโลกู วาลาเนีย เวเวฮิ คามาคาเอฮา อา คาปาอาเคอา เมื่อทรงได้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของราชวงศ์มีพระนามว่า เจ้าหญิงลีลีโอกาลานี หลังจากทรงอภิเษกสมรสก็มีพระนามว่า ลิเดีย เค โดมิน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและสมเด็จพระราชินีนาถลีลีโอกาลานีแห่งฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีโจนที่ 1 แห่งนาวาร์

มเด็จพระราชินีนาถโจนที่ 1 แห่งนาวาร์ (Jeanne Ire de Navarre) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งนาร์วาและสมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีนาถโจนที่ 1 แห่งนาวาร์ เสด็จพระราชสมภพเมื่อ 14 มกราคม ค.ศ. 1273 เป็นพระราชธิดาใน พระเจ้าอองรีที่ 1 แห่งนาวาร์กับบลานซ์แห่งอาร์โตอิส พระบิดาของพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งนาวาร์ เมื่อพระราชบิดาของพระองค์สวรรคตในปี 1274 พระองค์จึงทรงครองราชย์บัลลังก์นาวาร์โดยมีพระมารดาของพระองค์จึงเป็นผู้สำเร็จราชการ เมื่อพระองค์มีพระชนมายุได้ 10 พรรษา พระองค์ได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 1284 ทำให้พระองค์ได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส พระองค์กับพระเจ้าฟิลิปที่ 4 มีพระโอรส - พระธิดา ด้วยกัน ดังนี้.

ใหม่!!: 14 มกราคมและสมเด็จพระราชินีโจนที่ 1 แห่งนาวาร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าประไพวดี กรมหลวงเทพยวดี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าหญิงประไพวดี กรมหลวงเทพยวดี (14 มกราคม พ.ศ. 2320 - 23 สิงหาคม พ.ศ. 2366) พระราชบุตรพระองค์ที่ 10 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ประสูติแต่สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี เจ้าฟ้าหญิงประไพวดี ประสูติในรัชสมัยกรุงธนบุรี เมื่อวันอังคาร เดือน 7 ขึ้น 7 ค่ำ ปีระกา นพศก จุลศักราช 1139 ตรงกับวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2320 มีนามเดิมว่า "เอี้ยง" ในรัชกาลที่ 1 พระราชทานนามใหม่ว่า "เจ้าฟ้าประไพวดี" แต่รัชกาลที่ 4 ทรงออกพระนามว่า "ประภาวดี" พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงสถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้า และทรงกรมเป็น กรมหลวงเทพยวดี เมื่อปีมะโรง สัมฤทธิศก จุลศักราช 1170 ตรงกับ พ.ศ. 2351 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าหญิงประไพวดี กรมหลวงเทพยวดี สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 2 เมื่อเมื่อวันศุกร์ เดือน 9 แรม 2 ค่ำ ปีมะแม เบญจศก จุลศักราช 1185 ตรงกับวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2366 พระชันษา 46 ปี.

ใหม่!!: 14 มกราคมและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าประไพวดี กรมหลวงเทพยวดี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน

มเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน (พระนามเต็ม ออสการ์ เฟรดดริค วิลเฮล์ม โอลาฟ กุสตาฟ อดอล์ฟ) (ประสูติ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2425 - 15 กันยายน พ.ศ. 2516) เป็นพระมหากษัตริย์สวีเดนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (11 มีนาคม พ.ศ. 2442 - 14 มกราคม พ.ศ. 2515) มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้าชายเฟรเดอริกแห่งเดนมาร์กและไอซ์แลนด์ เสด็จขึ้นครองราชย์ต่อจากสมเด็จพระราชบิดาคือ สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 10 แห่งเดนมาร์ก เมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2490 พระองค์เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกของ สมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 10 แห่งเดนมาร์ก กับ สมเด็จพระราชินีอเล็กซานดรีนแห่งเดนมาร์ก เป็นพระมหากษัตริย์เดนมาร์กพระองค์ที่สี่ที่อยู่ในราชวงศ์ชเลสวิก-โฮลชไตน์-ซอนเดอร์บวร์ก-กลึคสบวร์ก คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ.

ใหม่!!: 14 มกราคมและสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพคาลมาร์

สหภาพคาลมาร์ (Kalmarunionen) คือรัฐร่วมประมุขที่รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 1397 จนถึง ค.ศ. 1523 เกิดจากการรวมประเทศเดนมาร์ก ประเทศนอร์เวย์ (รวมถึงไอซ์แลนด์ กรีนแลนด์ หมู่เกาะฟาโร เชตแลนด์ และออร์กนีย์) และสวีเดน (รวมบางส่วนของฟินแลนด์) เข้าอยู่ภายใต้พระมหากษัตริย์พระองค์เดียวกัน หมวดหมู่:ประเทศกลุ่มนอร์ดิก หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศสวีเดน หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศนอร์เวย์ หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศเดนมาร์ก หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 14 หมวดหมู่:สิ้นสุดในคริสต์ศตวรรษที่ 16.

ใหม่!!: 14 มกราคมและสหภาพคาลมาร์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา: สกอ.

ใหม่!!: 14 มกราคมและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สึบะซะโวะฮิโระเงะเตะ/อะอิวะคุระยะมิโนะนะกะเดะ

ึบะซะโวะฮิโระเงะเตะ/อะอิวะคุระยะมิโนะนะกะเดะ เป็นซิงเกิลลำดับที่ 44 ของซาร์ด และเป็นซิงเกิลที่สองที่ออกจำหน่ายหลังการเสียชีวิตของอิซุมิ ซะกะอิ ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2551 ในสองฉบับคือฉบับลิมิเต็ตพร้อมดีวีดี มีรหัสซีดี JBCJ-6011 และฉบับธรรมดาในรหัสซีดี JBCJ-6012 โดยมีเพลงหลักสองเพลง ได้แก่ สึบาสะโวะฮิโระเงะเตะ ซึ่งเป็นเพลงที่ตนเองนำมาร้องหลังจากแต่งเพลงให้กับวงดีน (DEEN) ส่วนไอวะคุระยะมิโนะนะกะเดะ เป็นเพลงที่นำกลับมาเรียบเรียงใหม่ ซึ่งทั้งสองเพลงต่างก็นำไปใช้ในการออกอากาศยอดนักสืบจิ๋วโคนันทั้งคู.

ใหม่!!: 14 มกราคมและสึบะซะโวะฮิโระเงะเตะ/อะอิวะคุระยะมิโนะนะกะเดะ · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ ภิญโญ

นายสุชาติ ภิญโญ (เกิด 14 มกราคม พ.ศ. 2513) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา เขต 6 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: 14 มกราคมและสุชาติ ภิญโญ · ดูเพิ่มเติม »

สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ

ริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ (10 ธันวาคม พ.ศ. 2497-) อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในสมัยรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตรและเลขาธิการพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: 14 มกราคมและสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหนองแก

นีรถไฟหนองแก ตั้งอยู่ถนนตะเกียบ ตำบลหนองแก อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: 14 มกราคมและสถานีรถไฟหนองแก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

นีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS) เป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย และแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดำเนินการโดยองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) ออกอากาศแทนสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ในวันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 ก่อนแพร่ภาพอย่างเป็นทางการในอีก 1 เดือนต่อม.

ใหม่!!: 14 มกราคมและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลบางกอกกล๊าสในฤดูกาล 2560

ูกาล 2560 เป็นฤดูกาลที่ 7 ของ สโมสรฟุตบอลบางกอกกล๊าส ใน ไทยลีก, ในนามสโมสร บางกอกกล.

ใหม่!!: 14 มกราคมและสโมสรฟุตบอลบางกอกกล๊าสในฤดูกาล 2560 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสนในฤดูกาล 2560

ูกาล 2560 เป็นฤดูกาลที่ 21 ในนามของสโมสรฟุตบอล บีอีซี เทโรศาสน ใน ไทยลีก นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและสโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสนในฤดูกาล 2560 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลการท่าเรือ ในฤดูกาล 2559

ูกาล 2559 เป็นฤดูกาลที่ 20 ของ การท่าเรือ ในลีกสูงสุดของไทย และเป็นฤดูกาลที่ 2 ของทีมใน ไทยลีกดิวิชัน 1.

ใหม่!!: 14 มกราคมและสโมสรฟุตบอลการท่าเรือ ในฤดูกาล 2559 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2015–16

ูกาล 2015–16 เป็นฤดูกาลที่ 124 ของสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล และเป็นฤดูกาลที่ 53 ติดต่อกันของลิเวอร์พูลที่ได้อยู่โลดแล่นบนลีกสูงสุดของฟุตบอลอังกฤษ นอกจากนี้ยังเป็นฤดูกาลที่ 24 ที่อยู่บนเวทีพรีเมียร์ลีก เช่นเดียวกับพรีเมียร์ลีก สโมสรจะได้แข่งขันในเอฟเอคัพ, ลีกคัพ และยูฟ่ายูโรปาลีก ในฤดูกาลนี้ ถือเป็นฤดูกาลแรกที่ลิเวอร์พูลได้ใช้ชุดแข่งขันของนิวบาลานซ์แทนที่วอร์ริเออร์สปอตส์ โดยเปิดตัวครั้งแรกที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ประเทศไทย ในช่วงก่อนเปิดฤดูกาลที่สโมสรได้เดินทางมาแข่งขันนัดพิเศษกับทรูออลสตาร์ ซึ่งเป็นทีมพิเศษที่รวบรวมนักฟุตบอลชาวไทยในระดับไทยพรีเมียร์ลีก และมีการเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีมระหว่างฤดูกาล เมื่อสโมสรตัดสินใจปลดเบรนดัน ร็อดเจอส์ ที่ทำผลงานได้ไม่ดีออกในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: 14 มกราคมและสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2015–16 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2560

การแข่งขันฟุตบอลของสโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ประจำปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและสโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2560 · ดูเพิ่มเติม »

สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด

นว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด (Snow White and the Seven Dwarfs) คือภาพยนตร์อเมริกาออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2480 มีโครงเรื่องจากนวนิยายเรื่อง สโนว์ไวต์ ผลงานการประพันธ์ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เป็นการผลิตในรูปแบบภาพยนตร์การ์ตูนเต็มรูปแบบครั้งแรกของวอลท์ดิสนีย์ และเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเรื่องแรกในประวัติศาสตร์ภาพยนตร์อเมริกา สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด ณ โรงละคร Carthay Circle ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 ต่อมาได้จัดจำหน่ายโดย RKO Radio Pictures เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 เรื่องราวของเรื่องปรับปรุงมาจากแผ่นป้ายเรียบเรียงฉาก ของ Ann Blank, Richard Creedon, Merrill De Maris, Otto Englander, Earl Hurd, Dick Rickard, Ted Sears และ Webb Smith จากนวนิยายเยอรมันเรื่อง สโนว์ไวต์ ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เดวิด แฮนด์เป็นผู้อำนวยการผลิต ส่วน William Cottrell, Wilfred Jackson, Larry Morey, Perce Pearce และ Ben Sharpsteen กำกับลำดับภาพ สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด เป็นหนึ่งใน 2 ภาพยนตร์การ์ตูนที่ติดอันดับภาพยนตร์อเมริกาที่ยิ่งใหญ่ที่สุด 100 เรื่อง จากสถาบันภาพยนตร์สหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล

หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล (14 มกราคม พ.ศ. 2452 - 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519) หรือ ท่านชายขาว ช่างภาพ ผู้กำกับ และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ไทย หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติแต่หม่อมแสง ดิศกุล ณ อยุธยา เสกสมรสกับ หม่อมลดา ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: อินทรกำแหง ณ ราชสีมา) หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุลอยู่ในวงการภาพยนตร์ไทยตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นผู้กำกับภาพ ภาพยนตร์ รวมไทย ภาพยนตร์ปลุกระดมการเรียกร้องดินแดนคืนจากฝรั่งเศส ของกรมสาธารณสุขและกรมรถไฟ กำกับภาพ ภาพยนตร์ กะเหรี่ยงไทรโยค (2478) ของขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต ท่านเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท ปรเมรุภาพยนตร์ เพื่อสร้างภาพยนตร์ สุภาพบุรุษเสือไทย ซึ่งอำนวยการสร้างโดยแท้ ประกาศวุฒิสาร โดยท่านเป็นผู้กำกับ และประสบความสำเร็จสูงสุดในปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและหม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หลวงอาวุธวิเศษประเทศพานิช (โรเบิร์ต ฮันเตอร์)

รเบิร์ต ฮันเตอร์ (Robert Hunter) พ่อค้าชาวอังกฤษเชื้อสายสก๊อต เป็นชาวยุโรปคนแรกที่เข้ามาตั้งร้านค้าในประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2368 ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น หลวงอาวุธวิเศษประเทศพานิชทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค), เจ้าพร.

ใหม่!!: 14 มกราคมและหลวงอาวุธวิเศษประเทศพานิช (โรเบิร์ต ฮันเตอร์) · ดูเพิ่มเติม »

หู จินเฉวียน

หู จินเฉวียน (จีนตัวย่อ: 胡金铨, จีนตัวเต็ม: 胡金銓, พินอิน: Hú Jīnquán) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อภาษาอังกฤษว่า คิง ฮู (King Hu) เป็นอดีตผู้กำกับภาพยนตร์ชาวจีนที่มีชื่อเสียงในอดีต ได้รับการยกย่องให้เป็น "ปรมาจารย์ภาพยนตร์กำลังภายใน" หรือ "ราชาแห่งภาพยนตร์กำลังภายใน" เช่นเดียวกับ จางเชอะ หู จินเฉวียน เกิดเมื่อวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1932 ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน จบการศึกษาวิชาศิลปะที่นั่น จากนั้นในปี ค.ศ. 1949 จึงได้อพยพมาอาศัยอยู่ยังฮ่องกง ที่ฮ่องกง หู จิน เฉวียนได้เข้าทำงานที่บริษัท ชอว์ บราเดอรส์ ในตำแหน่งผู้ช่วยผู้กำกับ, ผู้กำกับฝ่ายศิลป์, ผู้เขียนบท จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1966 ได้มีโอกาสกำกับภาพยนตร์เป็นเรื่องแรก คือ Come Drink with Me ภาพยนตร์ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก และยังได้ถือเป็นการแจ้งเกิดของนักแสดงหญิงหน้าใหม่ ที่ต่อมาเธอจะกลายมาเป็นราชินีภาพยนตร์กำลังภายใน คือ เจิ้ง เพ่ยเพ่ย ในเวลาต่อมา ต่อมาในปี ค.ศ. 1971 หู จินเฉวียนยังได้กำกับภาพยนตร์อีกเรื่อง คือ A Touch of Zen ซึ่งนับได้ว่าเป็นภาพยนตร์กำลังภายในเรื่องแรกที่ได้มีโอกาสเผยแพร่ไปในระดับนานาชาติ คือ ได้มีชื่อเข้าชิงรางวัลปาล์มทองคำ ในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ ในปี ค.ศ. 1975 และถือเป็นต้นแบบให้กับ หลี่ อัน ผู้กำกับฯในรุ่นต่อมาอีกหลายสิบปี สร้างเป็นภาพยนตร์กำลังภายในเรื่องใหม่ คือ Crouching Tiger, Hidden Dragon ในปี ค.ศ. 2000 ซึ่งโด่งดังและประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก ในทศวรรษที่ 90 หู จินเฉวียนยังคงมีผลงานอีกต่อไป ได้แก่ The Swordman ในปี ค.ศ. 1990 และPainted Skin ในปี ค.ศ. 1993 ซึ่งประสบความสำเร็จเป็นอย่างดีทั้งสองเรื่อง หู จินเฉวียน ได้รับรางวัลม้าทองคำ ไลฟ์ไทม์แอคชีเมนต์ ในปี ค.ศ. 1997 เพื่อเป็นเกียรติแก่ผลงานที่มีมาทั้งชีวิต และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 14 มกราคม ปีเดียวกัน ที่กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและหู จินเฉวียน · ดูเพิ่มเติม »

หนังพาไป

หนังพาไป รายการสารคดีการเดินทางสู่เทศกาลหนังทั่วโลก ในรูปแบบที่นำเสนอการเดินทาง ของผู้กำกับหนังสั้นสองคน ออกเดินทางสู่เทศกาลหนังในประเทศต่างๆ ในลักษณะกึ่ง Reality ที่ให้ความบันเทิง ดูสนุก กระตุกต่อมคิด และเต็มไปด้วยข้อสังเกตรายทาง เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ ให้ผู้ชมกล้าฝัน และทำมันให้สำเร็จ เหมือนกับหนังสั้นต้นทุน 200 บาท ที่กลายเป็นประตูบานใหญ่พาคนสองคนออกไปเผชิญชีวิตเรียนรู้โลก ผ่านระยะทางกว่า 33,422 ไมล์ การเดินทางเริ่มด้วยการนำหนังสั้นที่ถ่ายทำกัน ภายในหอพักของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน เรื่อง "กลางวันแสกๆ" เป็นงานชิ้นหนึ่งที่จะต้องทำส่งอาจารย์ ในรายวิชาการทำภาพยนตร์เบื้องต้น ไปประกวดในเทศกาลหนังสั้นตามที่ต่างๆ ทั่วโลก หรือภายหลังมีการเดินทางไปยังประเทศเพื่อนบ้านโดยที่ไม่เกี่ยวกับหนังสั้นด้วยเป็นบางครั้ง.

ใหม่!!: 14 มกราคมและหนังพาไป · ดูเพิ่มเติม »

อยากได้ยินว่ารักกัน

อยากได้ยินว่ารักกัน (อังกฤษ: Best Supporting Actor) เป็นภาพยนตร์ไทย แนวรักโรแมนติก ผลิตโดย ฟิลลิ่ง ฟิล์ม ออกฉายเมื่อ 14 มกราคม 2553 ได้รับการจัดเรตติ้งภาพยนตร์ประเภท น 15+ (ภาพยนตร์ที่เหมาะสมกับผู้มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป) ผลงานการกำกับโดย อลงกต เอื้อไพบูลย์ นำแสดงโดย กาย นวพล ลำพูน, ทองภูมิ สิริพิพัฒน์, และ รุจิภาส ก่อเกียรต.

ใหม่!!: 14 มกราคมและอยากได้ยินว่ารักกัน · ดูเพิ่มเติม »

อับดุล ราซัก ฮุซเซน

ตุน ฮาจี อับดุล ราซัก บิน ดาโตะก์ ฮาจี ฮุซเซน (Tun Haji Abdul Razak bin Dato' Haji Hussein) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 2 ของประเทศมาเลเซีย หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐปะหัง.

ใหม่!!: 14 มกราคมและอับดุล ราซัก ฮุซเซน · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรพัลแฮ

มื่ออาณาจักรโคกูรยอแตกใน พ.ศ. 1211 ในครั้งนั้นมีผู้คนกลุ่มต่าง ๆ เป็นจำนวนมากอพยพหลบหนีออกจากโคกูรยอไปอย่างกระจัดกระจายไปทุกทิศทุกทางไปอาศัยอยุ่อย่างกระจัดกระจายในที่ต่าง ๆ กระทั่งใน..

ใหม่!!: 14 มกราคมและอาณาจักรพัลแฮ · ดูเพิ่มเติม »

อานนท์ สังข์สระน้อย

อานนท์ สังข์สระน้อย (เกิดวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2527) เป็นนักฟุตบอลชาวไทยของสโมสรฟุตบอลเชียงราย ยูไนเต็ด และเคยเป็นดาวซัลโวซีเกมส์ที่นครราชสีมา ด้วยการยิงให้ทีมชาติไทย 6 ประตู.

ใหม่!!: 14 มกราคมและอานนท์ สังข์สระน้อย · ดูเพิ่มเติม »

อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007

ในการแข่งขันอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2006 นี้ได้เริ่มเปลี่ยนชื่อจาก "ไทเกอร์คัพ" เดิม มาเป็น อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพขึ้น โดยจะจัดรอบคัดเลือก ระหว่างวันที่ 12 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: 14 มกราคมและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

อาเซียนพาราเกมส์ 2014

อาเซียนพาราเกมส์ 2014 (2014 ASEAN Para Games) เป็นการแข่งขันกีฬาคนพิการในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครั้งที่ 7 ระหว่างวันที่ 14–20 มกราคม พ.ศ. 2557 (ค.ศ. 2014) จัดขึ้นที่เมืองเนปยีดอ, ประเทศเมียนม.

ใหม่!!: 14 มกราคมและอาเซียนพาราเกมส์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

อิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน (Princess Ingrid of Sweden) หรือ สมเด็จพระราชินีอิงกริดแห่งเดนมาร์ก (Queen Ingrid of Denmark; อิงกริด วิกตอเรีย โซเฟีย หลุยส์ มาร์กาเรทา; 28 มีนาคม พ.ศ. 2453 - 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นพระราชินีพระมเหสีของสมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 9 แห่งเดนมาร์ก และพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน อีกทั้งเป็นพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรี.

ใหม่!!: 14 มกราคมและอิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย

องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (Thai Public Broadcasting Service) หรือเรียกโดยย่อว่า "..ท." (TPBS) เป็นหน่วยงานของรัฐ มีสถานะเป็นนิติบุคคลมหาชน ซึ่งไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไท..

ใหม่!!: 14 มกราคมและองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงอเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก ซึ่งภายหลังคือ สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรา แคโรไลนา มารี ชาร์ล็อต หลุยส์ จูเลีย; 1 ธันวาคม พ.ศ. 2387 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร และสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งอินเดียในช่วงระหว่างรัชกาลของพระสวามี ก่อนหน้านี้ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงแห่งเวลส์ ระหว่างปี พ.ศ. 2406 - พ.ศ. 2444 (ยาวนานกว่าผู้ใดที่เคยดำรงพระอิสริยยศนี้) หลังการเสด็จสวรรคตของพระสวามีในปี พ.ศ. 2453 ตราบจนถึงการเสด็จสวรรคตของพระองค์เอง ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระบรมราชชนนี ที่ทรงเป็นทั้งพระราชินีและพระราชชนนีของกษัตริย์ที่ทรงครองราชย์อยู่ คือ สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร แต่ไม่โปรดใช้พระอิสริยยศเช่นนี้ จึงได้มีพระอิสริยยศเป็น "สมเด็จพระราชินีอเล็กซานดรา" (Her Majesty Queen Alexandra) ตลอดการเป็นหม้ายของพระอง.

ใหม่!!: 14 มกราคมและอเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ฮัมฟรีย์ โบการ์ต

ัมฟรีย์ ดีฟอเรสต์ โบการ์ต (25 ธันวาคม ค.ศ. 1899 - 14 มกราคม ค.ศ. 1957) นักแสดงอเมริกัน ที่ได้รับการจัดอันดับจากสถาบันภาพยนตร์อเมริกัน (AFI) ให้เป็นนักแสดงอันดับ 1 ในรอบ 100 ปี ฮัมฟรีย์ โบการ์ต เกิดที่นิวยอร์ก บิดาเป็นศัลยแพทย์เชื้อสายดัตช์ อังกฤษและสเปน มารดาเป็นชาวอังกฤษเชื้อสายเวลช์ เขาเริ่มชีวิตการแสดงตั้งแต่อายุ 22 ปี โดยแสดงละครบรอดเวย์อยู่เป็นเวลาสิบปี และเริ่มแสดงภาพยนตร์ในช่วงทศวรรษ 1930 มักได้รับบทมาเฟีย ในภาพยนตร์เกรดบี ผลงานที่สร้างชื่อเสียงให้ คือเรื่อง The Maltese Falcon ในปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและฮัมฟรีย์ โบการ์ต · ดูเพิ่มเติม »

ฮิโระชิ ทะมะกิ

รชิ ทามากิ เกิดเมื่อวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1980 เป็นนักแสดง นักร้อง นายแบบชาวญี่ปุ่น เริ่มเข้าวงการจากการชักชวนของแมวมอง จนได้เริ่มมีผลงานการแสดง และเริ่มเป็นที่รู้จักจากการแสดงภาพยนตร์เรื่อง Water Boys ปี 2001 หลังจากนั้นมีผลงานการแสดง ถ่ายแบบนิตยสาร และออกผลงานเพลง จนโด่งดังจากละครเรื่อง Nodame Cantabile หรือในชื่อภาษาไทยว่า วุ่นรัก นักดนตรี กับบทบาทของนักเปียโนและวาทยากรผู้มีพรสวรร.

ใหม่!!: 14 มกราคมและฮิโระชิ ทะมะกิ · ดูเพิ่มเติม »

ผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศ

ผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 ประธานผู้ตรวจการแผ่นดินของประเทศไทย อดีตปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และอดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: 14 มกราคมและผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศ · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์

็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์ (Jean-Auguste-Dominique Ingres; 24 สิงหาคม ค.ศ. 1780 - 14 มกราคม ค.ศ. 1867) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูคลาสสิกชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนประวัติศาสตร์และภาพเหมือน แอ็งกร์เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1780 ในจังหวัดตาร์เนการอน ประเทศฝรั่งเศส และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1867 ที่ปารีส แอ็งกร์ถือว่าตนเองเป็นจิตรภาพประวัติศาสตร์ตามแบบนีกอลา ปูแซ็ง และฌัก-หลุยส์ ดาวิด (Jacques-Louis David) แต่ในบั้นปลายความสามารถในการเขียนภาพเหมือนภาพเหมือนทั้งภาพเขียนและการวาดเส้นเป็นสิ่งที่ทำให้แอ็งกร์เป็นที่รู้จัก แอ็งกร์เป็นผู้ที่นับถือชื่นชมประวัติศาสตร์และเป็นผู้ที่พยายามพิทักษ์ความรู้แบบสถาบันต่อขบวนการลัทธิจินตนิยมที่กำลังคืบคลานเข้ามาที่นำโดยเออแฌน เดอลาครัว แอ็งกร์กล่าวสรรเสริญจิตรกรรมของจิตรกรสำคัญ ๆ ที่ผ่านมาเช่นราฟาเอล และประกาศตนว่าเป็นผู้รักษากฎเกณฑ์การวาดภาพที่สูงส่งเช่นนั้นและไม่ใช่เป็นผู้ “คิดค้น” วิธีใหม่ แต่อย่างไรก็ตามในความเห็นสมัยใหม่เห็นว่าแอ็งกร์และศิลปินฟื้นฟูคลาสสิกเป็นผู้ที่โอบอุ้มปรัชญาจินตนิยมของสมัยนั้น นอกจากนั้นการแสดงความบิดเบือนของรูปทรงและช่องว่างของแอ็งกร์เป็นแนวโน้มของของศิลปะสมัยใหม่ที่จะมาถึง.

ใหม่!!: 14 มกราคมและฌ็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ บาร์กลีย์

อปจอร์จ บาร์กลีย์ จอร์จ เบิร์กลีย์ หรือ บิชอปเบิร์กลีย์ (George Berkeley); 12 มี.ค.,..

ใหม่!!: 14 มกราคมและจอร์จ บาร์กลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ ดับเบิลยู. บุช

รืออากาศโท จอร์จ วอล์กเกอร์ บุช (George Walker Bush) เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) เป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 43 บุชสังกัดพรรครีพับลิกัน และเกิดในตระกูลบุชซึ่งเป็นตระกูลนักการเมืองตระกูลใหญ่ของสหรัฐอเมริกา โดยพ่อของเขาคือ จอร์จ บุช ประธานาธิบดีคนที่ 41 และน้องชายเขา เจบ บุช เป็นอดีตผู้ว่าการมลรัฐฟลอริดา ก่อนเริ่มเล่นการเมือง จอร์จ ดับเบิลยู บุชเป็นนักธุรกิจบ่อน้ำมัน และเป็นเจ้าของทีมเบสบอล เทกซัส เรนเจอร์ (Texas Rangers) เขาเริ่มเล่นการเมืองระดับท้องถิ่นโดยเป็นผู้ว่าการรัฐเทกซัสคนที่ 46 ชนะการเสนอชื่อลงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีของพรรครีพับลิกัน และชนะการเลือกตั้งต่อรองประธานาธิบดี อัล กอร์ใน พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) และได้รับการเลือกตั้งสมัยที่สองเมื่อ พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) โดยเอาชนะวุฒิสมาชิก จอห์น เคร์รี ของ พรรคเดโมแครต.

ใหม่!!: 14 มกราคมและจอร์จ ดับเบิลยู. บุช · ดูเพิ่มเติม »

จิมมี คาร์เตอร์

รือเอก เจมส์ เอิร์ล "จิมมี" คาร์เตอร์ จูเนียร์ (James Earl "Jimmy" Carter, Jr) เกิดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 39 ของสหรัฐอเมริกาในช่วงปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและจิมมี คาร์เตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จงกล กิตติขจร

ท่านผู้หญิงจงกล กิตติขจร (สกุลเดิม ถนัดรบ; 14 มกราคม พ.ศ. 2457 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2555) เป็นภริยาของจอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของไท.

ใหม่!!: 14 มกราคมและจงกล กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมนูญ ทัศโน

รรมนูญ ทัศโน หรือ เปิ้ล ทีโบน เกิดในปี พ.ศ. 2510 เป็นนักร้องแนวเร็กเก้ และนักดนตรีชาวไทย มีผลงานในวงทีโบน มีเพลงร้องในนามวงทีโบนที่ฮิตอย่าง เธอเห็นท้องฟ้านั้นไหม เสียชีวิตเมื่อวันที่ 14 มกราคม ปี พ.ศ. 2539 จากอุบัติเหตุทางรถยนต์ ด้วยวัย 29 ปี.

ใหม่!!: 14 มกราคมและธรรมนูญ ทัศโน · ดูเพิ่มเติม »

ธีรัตถ์ รัตนเสวี

ีรัตถ์ รัตนเสวี ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายรายการและสื่อดิจิตอล สถานีโทรทัศน์ วอยซ์ทีวี ก่อนหน้านี้ดำรงตำแหน่งโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร, อดีตผู้ดำเนินรายการ รัฐบาลยิ่งลักษณ์พบประชาชน, อดีตบรรณาธิการบริหาร อดีตผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักโทรทัศน์ และอดีตผู้ประกาศข่าว องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย หรือ ไทยพีบีเอส, อดีตผู้อำนวยการผลิต (Producer) และอดีตผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์ไอทีวี และสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี.

ใหม่!!: 14 มกราคมและธีรัตถ์ รัตนเสวี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติจอร์เจีย

งชาติจอร์เจีย (საქართველოს სახელმწიფო დროშა., sakartvelos sakhelmtsipo drosha) ที่ใช้ในปัจจุบันได้แก่ธงที่มีชื่อเรียกว่า "ธงห้ากางเขน" หรือ "ธงห้ากากบาท" (The five-cross flag) ซึ่งได้นำมาใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2547 หลังธงนี้ได้เลิกใช้มานานถึง 500 ปี ในอดีตธงนี้เป็นธงของอาณาจักรจอร์เจียโบราณในยุคกลางของทวีปยุโรป และเคยใช้เป็นสัญลักษณ์ของพรรคการเมืองจอร์เจียที่มีชื่อว่า พรรคขบวนการเอกภาพแห่งชาติ หรือพรรค ENM (ย่อมาจาก Ertiani Natsionaluri Modzraoba).

ใหม่!!: 14 มกราคมและธงชาติจอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

ธนา ลิมปยารยะ

นา ลิมปยารยะ เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 มีส่วนสูง 180 เซนติเมตร มีน้ำหนัก 68 กิโลกรัม มีพี่ชาย 1 คน และพี่สาว 1 คน เป็นอดีตสมาชิกวงไนซ์ ทู มีท ยู แล้วมาเป็นศิลปินเดี่ยว ในค่ายอาร์เอส และหมดสัญญาแล้ว ปัจจุบันเป็น นักร้องเดี่ยวค่าย บีอีซี-เทโร มิวสิค และ นักธุรกิจเจ้าของแบรนด์ AMADO.

ใหม่!!: 14 มกราคมและธนา ลิมปยารยะ · ดูเพิ่มเติม »

ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี

ซอร์ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี ผู้คิดค้นและประดิษฐ์เวิลด์ไวด์เว็บ เซอร์ทิโมที จอห์น เบอร์เนิร์ส-ลี (Sir Timothy John Berners-Lee, OM, KBE, FRS, FREng, FRSA) (8 มิถุนายน พ.ศ. 2498) ผู้คิดค้นและประดิษฐ์ เวิลด์ไวด์เว็บ ผู้อำนวยการWorld Wide Web Consortium (ทำหน้าที่ดูแลการพัฒนาต่อเนื่องใหม่ ๆ เกี่ยวกับเว็บ) นักวิจัยอาวุโสและผู้นั่งในตำแหน่ง ทรีคอมฟาวน์เดอร์สแชร์ (3Com Founders Chair) ที่หอทดลองวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์แห่งเอ็มไอที (CSAIL).

ใหม่!!: 14 มกราคมและทิม เบอร์เนิร์ส-ลี · ดูเพิ่มเติม »

ทูมเรเดอร์ (วิดีโอเกมส์ปี 2539)

ทูมเรเดอร์ เป็นวิดิโอเกมส์แนวแอ็คชั่น-ผจญภัย ผลิตโดย Core Design วางจำหน่ายโดย Eidos Interactive ถูกวางจำหน่ายเมื่อปี 2539 สำหรับเครื่อง เซก้า แซทเทิร์น, ดอส และ เพลย์สเตชัน ทูม เรเดอร์ยังถูกวางจำหน่ายในตลาดเกมส์โทรศัพท์สำหรับ เอ็นเกจ ในปี 2546 ตัวเกมวางจำหน่ายในเครือ เพลย์สเตชัน เน็ตเวิร์ก ในอเมริกาเหนือเมื่อตุลาคม 2552 และในยุโรปเมื่อตุลาคม 2553 ในวิดิโอเกมทูมเรเดอร์ จะเป็นเนื้อเรื่องเกี่ยวกับลาร่า ครอฟต์นักโบราณคดีชาวอังกฤษที่ออกตามหาสมบัติโบราณ ตัวเกมได้รับการวิจารณ์ไปในทางที่ดี่ มียอดขาย 7.5 ล้านก็อปปี้ทั่วโลก อีกทั้งยังเป็นอิทธิพลต่อวงการเกมส์อย่างแพร่หลาย แและเป็นแม่แบบให้กับเกมส์แอ็คชั่นผจญภัยสามมิต.

ใหม่!!: 14 มกราคมและทูมเรเดอร์ (วิดีโอเกมส์ปี 2539) · ดูเพิ่มเติม »

ทีมเกิร์ล

#ทีมเกิร์ล (#TEAMGIRL) เป็นรายการสนุกกับทุกไลฟ์สไตล์ของสาวๆ ออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 13.00 - 14.00 น. และอัปโหลดวิดีโอลงยูทูบทางช่อง "GMMTV" ดำเนินรายการโดย มุก-วรนิษฐ์ ถาวรวงศ์, แจน-พลอยชมพู ศุภทรัพย์, เจน-รมิดา จีรนรภัทร, อ้าย-สรัลชนา อภิสมัยมงคล และ เจนนี่ ปาหนัน (วัชระ สุขชุม) ออกอากาศครั้งแรกวันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: 14 มกราคมและทีมเกิร์ล · ดูเพิ่มเติม »

ทงบังชินกี

ทงบังชินกี หรือชื่อจีนว่า ตงฟังเฉินฉี่ (Tong Vfang Xien Qi, ย่อว่า TVXQ!) และชื่อญี่ปุ่นว่า โทะโฮะชิงกิ เป็นบอยแบนด์จากเกาหลีใต้ ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: 14 มกราคมและทงบังชินกี · ดูเพิ่มเติม »

ทไวไลท์โชว์

ทไวไลท์โชว์ (7 มิถุนายน พ.ศ. 2557 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557) เป็นรายการโทรทัศน์ ประเภทวาไรตี้ทอล์กโชว์ ผลิตรายการโดย บริษัท บอร์น แอนด์ แอสโซซิเอทด์ จำกัด รายการทไวไลท์โชว์ กลับมาออกอากาศอีกครั้งทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 โดยออกอากาศทุกวันเสาร์เวลา 15.30 - 17.00 น. ตั้งแต่วันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2557 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: 14 มกราคมและทไวไลท์โชว์ · ดูเพิ่มเติม »

ดับเบิลยูซีดับเบิลยู ฮาร์ตคอร์ แชมเปี้ยนชิพ

ับเบิลยูซีดับเบิลยู ฮาร์ตคอร์ แชมเปี้ยนชิพ (WCW Hardcore Championship) เป็นตำแหน่งแชมป์เดี่ยวประเภทฮาร์ตคอร์ของ WCW ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1999 ถึง 21 มกราคม ค.ศ. 2001 ที่มีอยู่ในกฎระเบียบและข้อ จำกัด ไม่กี่และอาวุธที่ได้รับอนุญาต แต่กฎมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้การแข่งขันเริ่มต้นขึ้นในด้านหลังเวที แต่จะจบลงด้วยการกดนับบนเวที ต่อมาถูกเปลี่ยนกลับไปเป็น กดที่ไหนก็ได้ เข็มขัดถูกสร้างขึ้นในการตอบสนองต่อความนิยมเพิ่มขึ้นของมวยปล้ำฮาร์ตคอร์ในอเมริกาเหนือ โดยแชมป์คนแรก คือ Norman Smiley เอาชนะ Brian Knobs ในToronto, Ontario ในศึกเพย์-เพอร์-วิวของ WCW เมย์เฮม ในวันที่21 พฤศจิกายน ค.ศ. 1999 แชมป์คนสุดท้ายใน WCW คือ Meng เอาชนะ Crowbar และชิงจาก Terry Funk ในศึกดับเบิลยูซีดับเบิลยู ซิน ในวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 2001.

ใหม่!!: 14 มกราคมและดับเบิลยูซีดับเบิลยู ฮาร์ตคอร์ แชมเปี้ยนชิพ · ดูเพิ่มเติม »

ดับเบิลยูซีดับเบิลยู ซิน

ับเบิลยูซีดับเบิลยู ซิน เป็นศึกเปย์-เปอร์-วิวของ เวิลด์แชมเปี้ยนชิพเรสต์ลิง จัดในวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 2001 ณ Conseco Fieldhouse, Indianapolis, Indiana สหรัฐอเมริกา โดยมีจำนวนผู้เข้าชมในสนามทั้งสิ้น 6,617 คน ดับเบิลยูซีดับเบิลยู ซิน เป็นรายการเปย์-เปอร์-วิวสุดท้ายของ ดับเบิลยูซีดับเบิลยู ก่อนที่ World Wrestling Federation (WWF) จะเข้ามาซื้อกิจการของดับเบิลยูซีดับเบิลยู.

ใหม่!!: 14 มกราคมและดับเบิลยูซีดับเบิลยู ซิน · ดูเพิ่มเติม »

ดัม-มะ-ชา-ติ (อัลบั้ม)

ัม-มะ-ชา-ติ เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 6 ของวงร็อค บอดี้สแลม และเป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 4 ที่ออกกับค่ายจีนี่เรคอร์ดส ใต้สังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ อัลบั้มนี้มี พูนศักดิ์ จตุระบุล (อ๊อฟ บิ๊กแอส) เป็นโปรดิวเซอร.

ใหม่!!: 14 มกราคมและดัม-มะ-ชา-ติ (อัลบั้ม) · ดูเพิ่มเติม »

ดิจิมอนแอดเวนเจอร์

มอนแอดเวนเจอร์ เป็นภาพยนตร์การ์ตูนโทรทัศน์จากประเทศญี่ปุ่น ในชุดภาพยนตร์การ์ตูนโทรทัศน์ดิจิตอลมอนสเตอร์ ออกอากาศครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่นเมื่อเมื่อ มีนาคม พ.ศ. 2542 ดิจิมอนแอดเวนเจอร์เป็นภาคแรก ซึ่งมีภาคต่อมาคือ ดิจิมอนแอดเวนเจอร์ 02 ดิจิมอนเทมเมอร์ ดิจิมอนฟรอนเทียร์, ดิจิมอนเซฟเวอร์ส และ ดิจิมอนครอสวอร์ส แล้วในงานฉลองครบรอบ 15 ปี ดิจิมอน ในวันที่ 1 สิงหาคม 2557 ทางญี่ปุ่นได้ประกาศว่า ดิจิมอนแอดเวนเจอร์ ไทร จะฉายช่วงฤดูใบไม้ผลิ ปี 2558.

ใหม่!!: 14 มกราคมและดิจิมอนแอดเวนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดิเอโก อันดราเด

อโก อันดราเด (Diego Andrade) หรือ ดิเอโก อันดราเด เรนเตเรีย นักมวยสากลชาวเม็กซิโก เกิดเมื่อ 14 มกราคม..

ใหม่!!: 14 มกราคมและดิเอโก อันดราเด · ดูเพิ่มเติม »

ด้วยความปรารถนาดี

้วยความปรารถนาดี เป็นซิงเกิลของจิรากร สมพิทักษ์ ในปี พ.ศ. 2559 สังกัดค่ายเพลงแกรนด์มิวสิค ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ประพันธ์คำร้องโดย เผ่าพันธุ์ อมตะ แต่งทำนองและเรียบเรียงโดย สุวัธชัย สุทธิรัตน์ โดยเพลงนี้พูดถึงเพลงที่เปรียบเสมือนเป็นตัวแทนของคนที่ยอมเสียสละ ยอมเป็นฝ่ายเสียใจ เพื่อให้คนรักได้พบเจอกับสิ่งที่ได้วาดฝันเอาไว้ เพลงนี้ยังมีหนังสั้น 3 เรื่องภายใต้ชื่อ ด้วยความปรารถนาดี Short Film Project ที่ปล่อยออกมาเรียบร้อยแล้วนั้นก็ไม่ได้มีเพียงแค่มุมมองด้านความรักเพียงอย่างเดียว โดยเรื่องแรกจะสื่อสารถึงความปรารถนาดีของคนแปลกหน้า เรื่องราวของชายหนุ่มที่หลงรักเน็ตไอดอล (นำแสดงโดย อลิส – อริสรา กาพย์เดโช เน็ตไอดอลชื่อดัง) ต่อด้วยความปรารถนาดีเพื่อสังคม ซึ่งถ่ายทอดผ่านชีวิตจริงของแท็กซี่ใจดีซึ่งเป็นที่พูดถึงกันในวงกว้างในโลกโซเชียล และปิดท้ายด้วยเรื่องราวความปรารถนาดีของเพื่อนกับมิตรภาพที่ไม่อาจลบเลือนนั่นเอง.

ใหม่!!: 14 มกราคมและด้วยความปรารถนาดี · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1320

..

ใหม่!!: 14 มกราคมและคริสต์ทศวรรษ 1320 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1720

..

ใหม่!!: 14 มกราคมและคริสต์ทศวรรษ 1720 · ดูเพิ่มเติม »

ครูบ้านนอก บ้านหนองฮีใหญ่

รูบ้านนอก บ้านหนองฮีใหญ่ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2553 สร้างโดย สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล ผลิตภาพยนตร์โดย ครกไม้ไทยลาวม่วนซื่นโฮ กำกับโดย สุรสีห์ ผาธรรม นำแสดงโดย พิเชษฐ์ กองการ, ฟ้อนฟ้า ผาธรรม, หม่ำ จ๊กมก, อสงไขย ผาธรรม, คำปาณี วงทองคำ และ พันนา ฤทธิไกร เป็นภาพยนตร์ที่นำภาพยนตร์ ครูบ้านนอก ในปี พ.ศ. 2521 มาทำใหม่ ซึ่งมีโครงสร้างลักษณะใกล้เคียงกัน แต่แก่นเรื่องพลิกแพลงไปจากเดิม ภาพยนตร์ถ่ายทำที่เฮือนสวนดอนธรรม จังหวัดกาฬสินธุ์ เกือบทั้งเรื่อง ภาพยนตร์ทำรายได้ 3.52 ล้านบาท ภาพยนตร์ได้กระแสตอบรับที่ดีมากโดยเฉพาะภาคอีสานที่ให้การตอบรับเป็นอย่างดี.

ใหม่!!: 14 มกราคมและครูบ้านนอก บ้านหนองฮีใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ควีนม็อดแลนด์

วีนม็อดแลนด์ (Queen Maud Land) หรือ ดรอนนิงแมอุดลันด์ (Dronning Maud Land) เป็นส่วนหนึ่งของทวีปแอนตาร์กติกาที่นอร์เวย์อ้างกรรมสิทธิ์การครอบครองเมื่อวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นการอ้างที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากประชาคมนานาชาติและยังเป็นไปตามระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติกา ควีนม็อดแลนด์มีเนื้อที่ประมาณ 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร ส่วนใหญ่ปกคลุมด้วยน้ำแข็ง ตั้งชื่อตามพระนามของสมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์นอร์เวย์ หมวดหมู่:ทวีปแอนตาร์กติกา.

ใหม่!!: 14 มกราคมและควีนม็อดแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

คิงไซส์

งไซส์ (King Size) เป็นชื่ออัลบั้มเพลงชุดที่ห้าของวงดนตรี ซิลลี่ ฟูลส์ มีการวางแผงถึง 3 ครั้ง วางแผงครั้งแรกเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2547 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2547 และครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 โดยเป็นชุดที่ยังคงความเป็นเอกลักษณ์ของวงเอาไว้ แต่เนื่องจากมีวงดนตรีร็อคน้องใหม่ แจ้งเกิดในวงการ บวกกับระยะเวลาที่ห่างหายจากการออกอัลบั้ม ทำให้เพลงของพวกเขาลดระดับความนิยมลงไป แต่ก็ยังได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีไม่แพ้กับอัลบั้มก่อนๆ และยังคงรักษาอันดับ 1 ของประเทศไว้ได้อยู่ นอกจากนี้ ยังมีดนตรีเอกลักษณ์ชวนหลงใหลไม่เปลี่ยนแปลง โดยชุดนี้จะเน้นความเป็นตัวของตัวเอง ถ่ายทอดออกมาโดยใช้ภาษาพูดเป็นส่วนใหญ่ เพลงฮิตในอัลบั้มนี้ได้แก่เพลง น้ำลาย ไม่หวั่นแม้วันมามาก หนึ่งเดียวของฉัน และคนที่ฆ่าฉัน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและคิงไซส์ · ดูเพิ่มเติม »

คุจิกิ ลูเคีย

กิ ลูเคีย เป็นตัวละครเอกจากการ์ตูนเรื่องเทพมรณะ ปัจจุบันเป็นยมทูตหัวหน้าหน่วยที่ 13 แห่ง 13 หน่วยพิทักษ.

ใหม่!!: 14 มกราคมและคุจิกิ ลูเคีย · ดูเพิ่มเติม »

คุ้มนางครวญ

้มนางครวญ เป็นละครโทรทัศน์แนว พีเรียด-ดราม่า-ลึกลับ ผลิตโดยบริษัท เอ็กแซ็กท์-ซีเนริโอ และ ๙ แสน สตูดิโอ จำกัด สร้างจากบทประพันธ์ของ สรรัตน์ จิรบวรวิสุทธิ์ และบทโทรทัศน์โดย วิสุทธิชัย บุญยะกาญจนะ กำกับการแสดงโดย สถาพร นาควิไลโรจน์ และนำแสดงโดย สาวิกา ไชยเดช, ยุทธนา เปื้องกลาง, มนชนก แสงฉายเพียงเพ็ญ, พรรณวรท ด้วยเศียรเกล้า, อนุชิต สพันธุ์พงษ์, อิสริยะ ภัทรมานพ, ธนิดา ธนวัฒน์ ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 เวลา 20.25 - 21.40 น. เริ่มตอนแรกวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2557-31 มีนาคม พ.ศ. 2557 และยังเป็นละครโทรทัศน์เรื่องแรกของ เอ็กแซ็กท์ และ ซีเนริโอ ที่ออกอากาศในระบบภาพความละเอียดสูงทางช่อง ทท.

ใหม่!!: 14 มกราคมและคุ้มนางครวญ · ดูเพิ่มเติม »

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา (School of Nurse, University of Phayao) เป็นหน่วยงานวิชาการในกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัยพะเยา ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59

ณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 (20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554) มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายชัย ชิดชอบ ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ คณะรัฐมนตรีไทย คณะนี้ เป็นคณะที่ ประกาศใช้ พระราชกำหนดบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน..

ใหม่!!: 14 มกราคมและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา (School of Management and Information Science, University of Phayao) จัดตั้งขึ้นเป็นคณะวิชาลำดับที่ 12 ของมหาวิทยาลัยพะเยา เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2547 จัดการเรียนการสอนในกลุ่มวิชาทางด้านการจัดการและบริหารธุรกิจ รวมถึงด้านนิเทศศาสตร์ ทั้งในระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษ.

ใหม่!!: 14 มกราคมและคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา(School of Science, University of Phayao) เป็นหนึ่งในหน่วยงานด้านวิชาการ ระดับคณะวิชาในสังกัดมหาวิทยาลัยพะเยา เปิดทำการเรียนการสอนในหลักสูตรระดับอุดมศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ โดยแรกเริ่มอยู่ในฐานะกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเท.

ใหม่!!: 14 มกราคมและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยพะเยา (School of Medical Sciences, University of Phayao) เดิมคือ สำนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา ก่อตั้งเมื่อ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2550 เมื่อมหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา ได้รับการยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยพะเยา สำนักวิทยาศาสตร์การแพทย์จึงได้เปลี่ยนเป็นคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา (School of Liberal Arts, University of Phayao) เป็นคณะในสังกัดมหาวิทยาลัยพะเยา เปิดทำการสอนในด้านศิลปศาสตร์ เดิมเป็นสำนักวิชาในสังกัดมหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา ต่อมาได้รับการยกฐานะเป็นคณะในปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: 14 มกราคมและคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา (School of Pharmaceutical Sciences, University of Phayao) เปิดการเรียนการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2546 ในฐานะ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา และได้แยกตัวมาเป็น สำนักวิชาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา ในปี พ.ศ. 2548 ต่อมาในวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2550 ทางคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยได้ทำการเปลี่ยนชื่อเป็น สำนักวิชาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา ตั้งแต่ ปีการศึกษา 2550 เป็นต้นไป สำนักวิชาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยามีจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ ปี 1 - ปี 6 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา ทั้งหมด และต่อมาในวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ได้ยกฐานะขึ้นเป็น สำนักวิชาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ได้ยกฐานะขึ้นเป็น คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: 14 มกราคมและคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คนที่ฆ่าฉัน

นที่ฆ่าฉัน เป็นเพลงของวงซิลลี่ ฟูลส์ จากสตูดิโออัลบั้มที่ 5 คิงไซส์ ประพันธ์คำร้องโดย ณัฐพล พุทธภาวนา แต่งทำนองโดย ณัฐพล พุทธภาวนา และเรียบเรียงโดย ณัฐพล พุทธภาวนา ออกจำหน่ายในวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: 14 มกราคมและคนที่ฆ่าฉัน · ดูเพิ่มเติม »

ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554

ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 ตราสัญลักษณ์ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 ออกแบบโดย นายศิริ หนูแดง.

ใหม่!!: 14 มกราคมและตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 · ดูเพิ่มเติม »

ตอสกา

ตอสกา (Tosca) เป็นอุปรากรภาษาอิตาลีจำนวน 3 องก์ ประพันธ์ขึ้นโดยจาโกโม ปุชชีนี คำร้องโดยลุยจิ อิลลิกา (1857 – 1919) และจุยเซปเป จิอาโคซา (1847-1906) อุปรากรเรื่องนี้ดัดแปลงจากละครประโลมโลกเรื่อง La Tosca ของวิกตอเรียน ซาโด มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับเหตุการณ์ในช่วงเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1800 ในระหว่างสงครามปฏิวัติฝรั่งเศส (ค.ศ. 1792 - 1802) ซึ่งช่าวโรมถูกคุกคามจากการรุกรานของจักรพรรดินโปเลียน โดยเนื้อเรื่องจะแสดงออกถึงเรื่องราวการกดขี่ข่มเหง ปมฆาตกรรม และภาวะไม่สงบทางการเมือง การแสดงรอบปฐมทัศน์มีขึ้นเมื่อวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1900 ที่โรงอุปรากร Teatro Costanzi กรุงโรม ในช่วงปี 1889 ระหว่างที่ปุชชืนีออกเดินสายแสดงผลงานอยู่ที่อิตาลีก็มีโอกาสได้อ่านบทละครของซาโด และได้รับโอกาสดัดแปลงเนื้อเรื่องไปเป็นอุปรากรในปี 1895 ปุชชีนีใช้เวลากว่า 4 ปีเพื่อถ่ายทอดคำร้องต่าง ๆ จากภาษาฝรั่งเศสไปสู่ภาษาอิตาลีโดยได้รับแรงกดดันและการวิจารณ์มากมาย อีกทั้งการแสดงรอบปฐมทัศน์ก็ล่าช้าออกไปเพราะเนื่องจากภาวะบ้านเมืองไม่สงบ ระยะแรกของการออกแสดงนั้นไม่ได้รับคำชื่นชมจากนักวิจารณ์ ภายหลังกลับประสบความสำเร็จจากการบอกต่อของผู้ชม จนถึงปัจจุบัน อุปรากรเรื่องตอสกาได้กลายเป็นอุปรากรยอดนิยมที่สุดเรื่องหนึ่งของโลก.

ใหม่!!: 14 มกราคมและตอสกา · ดูเพิ่มเติม »

ซะยุมิ มิชิชิเงะ

ซะยุมิ มิชิชิเงะ (Michishige Sayumi.) (เกิดวันพฤหัสบดีที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2532) คือ นักร้องหญิงชาวญี่ปุ่นสังกัดค่าย "เฮลโล! โปรเจกต์" หนึ่งในสมาชิกรุ่นที่หกแห่งกลุ่มนักร้องหญิงเจ-ป็อป "มอร์นิงมุซุเมะ" ตำแหน่ง หัวหน้าวง ในวันที่ 29 เมษายน 2557 ได้ประกาศจบการศึกษาอย่างเป็นทางการ และจะจบการศึกษาในวันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 ซึ่ง ซายูมิ นั้น ถือว่าเป็นสมาชิกที่อยู่ในระยะเวลายาวนานที.

ใหม่!!: 14 มกราคมและซะยุมิ มิชิชิเงะ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทิน

ปฏิทินโบราณของฮินดู ปฏิทิน คือระบบที่ใช้ในการเรียกชื่อช่วงระยะเวลา เช่น วัน เป็นต้น วันจะขึ้นอยู่กับการเคลื่อนที่วัตถุทางดาราศาสตร์ เราสามารถแสดงปฏิทินได้ในหลายรูปแบบ ส่วนมากมักเป็นกระดาษ เช่น แบบฉีก แบบแขวน แบบตั้งโต๊ะ เป็นต้น.

ใหม่!!: 14 มกราคมและปฏิทิน · ดูเพิ่มเติม »

ปรสิตเดรัจฉาน

ปรสิตเดรัจฉาน เป็นเรื่อง แนววิทยาศาสตร์ วาดโดย Hitoshi Iwaakiตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์Kodansha ลงนิตยสารAfternoon ในปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและปรสิตเดรัจฉาน · ดูเพิ่มเติม »

ประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ

นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ รองหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย คนที่ 2 อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตประธาน..

ใหม่!!: 14 มกราคมและประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ · ดูเพิ่มเติม »

ประทิน สันติประภพ

ณะที่ พล.ต.อ.ประทิน ชกเข้าที่ใบหน้า นายอดุลย์ วันไชยธนวงศ์ พลตำรวจเอกประทิน สันติประภพ (19 มิถุนายน พ.ศ. 2477 ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นามสกุลเดิม "ก้อนแก้ว") อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร อดีตอธิบดีกรมตำรวจและเป็นบิดาของ วิรไท สันติประภพ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยคนที่ 20.

ใหม่!!: 14 มกราคมและประทิน สันติประภพ · ดูเพิ่มเติม »

ประทีป กีรติเรขา

นายกองเอก ประทีป กีรติเรขา (เกิด 14 มกราคม พ.ศ. 2501) อธิบดีกรมที่ดิน, รองปลัดกระทรวงมหาดไทย, อดีตผู้ว่าราชการ จังหวัดอุบลราชธานี และอดีตผู้ว่าราชการ จังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: 14 มกราคมและประทีป กีรติเรขา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถาน

อุซเบกิสถาน (Uzbekistan; O'zbekiston) หรือชื่ออย่างเป็นทางการก็คือ สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (Republic of Uzbekistan; O‘zbekiston Respublikasi) เป็นประเทศในทวีปเอเชียกลางที่ถูกล้อมรอบด้วยประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศอัฟกานิสถานในทวีปเอเชียใต้ ประเทศคาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลอารัล อุซเบกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: 14 มกราคมและประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศทาจิกิสถาน

ทาจิกิสถาน (Tajikistan; Тоҷикистон) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐทาจิกิสถาน (Republic of Tajikistan; Ҷумҳурии Тоҷикистон) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคเอเชียกลาง มีอาณาเขตติดต่อกับอัฟกานิสถาน จีน คีร์กีซสถาน และอุซเบกิสถาน ทาจิกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: 14 มกราคมและประเทศทาจิกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

ซอร์เบียและมอนเตเนโกร (Serbia and Montenegro, SCG) เป็นชื่อของอดีตสหพันธรัฐซึ่งเป็นการรวมอย่างหลวม ๆ ของเซอร์เบียและมอนเตเนโกร อดีตสาธารณรัฐของยูโกสลาเวีย ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 จนถึง พ.ศ. 2549 ตั้งอยู่บนคาบสมุทรบอลข่านตอนตะวันตกกลาง ซึ่งแต่เดิมมีชื่อประเทศว่า สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ต่อมาก็ได้เปลี่ยนชื่อประเทศในปี2003 ในชื่อ สหภาพรัฐเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เซอร์เบียและมอนเตเนโกรมีความร่วมมือกันเฉพาะบางด้านในการเมือง (เช่น ผ่านสหพันธ์การป้องกันประเทศ) ทั้ง 2 รัฐมีนโยบายเศรษฐกิจและหน่วยเงินของตนเอง และประเทศไม่มีเมืองหลวงรวมอีกต่อไป โดยที่แบ่งแยกสถาบันที่ใช้ร่วมกันระหว่างเมืองเบลเกรดในเซอร์เบียและเมืองพอดกอรีตซาในมอนเตเนโกร ทั้งสองรัฐแยกออกจากกันหลังจากมอนเตเนโกรจัดให้มีการลงประชามติเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 และประกาศเอกราชเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน ปีเดียวกัน ทำให้เกิดประเทศใหม่คือประเทศมอนเตเนโกร ส่วนประเทศเซอร์เบียก็กลายเป็นผู้สืบสิทธิ์ต่าง ๆ ของประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร.

ใหม่!!: 14 มกราคมและประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร · ดูเพิ่มเติม »

ปลิดปลิว

"ปลิดปลิว" เป็นเพลงจากอัลบั้มของวงบอดี้สแลม และมีเมธี อรุณ สมาชิกวงลาบานูน มาร่วมร้อง เพลงนี้เป็นซิงเกิลที่ 6 จากอัลบั้มชุดที่ 6 dharmajāti (ดัม-มะ-ชา-ติ) เพลง "ปลิดปลิว" ประพันธ์เนื้อร้องโดย สุรชัย พรพิมานแมน แต่งทำนองโดย โอม เปล่งขำ (โอม บอดี้สแลม) และเรียบเรียงโดย บอดี้สแลม, พูนศักดิ์ จตุระบุล (อ๊อฟ บิ๊กแอส) ออกจำหน่ายในวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: 14 มกราคมและปลิดปลิว · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะพงษ์ ผิวอ่อน

นาวาอากาศโท ปิยะพงษ์ ผิวอ่อน เกิดวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502 เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ซึ่งเล่นให้กับฟุตบอลทีมชาติไทยหลายนัด รวมถึงเป็นผู้ที่ทำประตูสูงสุดในประวัติศาสตร์ทีมชาติไทยรวมนัดที่ฟีฟ่าไม่ได้รับรอง ที่ 103 ประตู (สถิติที่ฟีฟ่ารับรองคือ 15 ประตู จากการลงสนามให้ทีมชาติ 33 นัด) นอกจากนี้ เขายังร่วมแสดงในภาพยนตร์เรื่อง "เกิดมาลุย" ใน..

ใหม่!!: 14 มกราคมและปิยะพงษ์ ผิวอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์

ปฏิทินสำหรับปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (เช่น พ.ศ. 2554 2548 2537 2526 2520 2509) อา | style.

ใหม่!!: 14 มกราคมและปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ · ดูเพิ่มเติม »

นัท มีเรีย

มีเรีย อเล็กซานดรา เบนเนเดดตี้ (Myria Benedetti; เกิดเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ นัท มีเรีย เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย จบการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ สาขานิเทศศาสตร์ จาก มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

ใหม่!!: 14 มกราคมและนัท มีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก (Charlotte, Grand Duchess of Luxembourg, พระนามเต็ม ชาร์ล็อต อเดลก็อนเด เอลิซ มารี วิลเฮลมีน; 23 มกราคม พ.ศ. 2439 - 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) เป็นพระธิดาพระองค์ที่สองในแกรนด์ดยุกวิลเล็มที่ 4 แห่งลักเซมเบิร์ก และ เจ้าหญิงมารี แอนน์แห่งโปรตุเกส โดยเป็นพระราชนัดดาในพระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกส และ เจ้าหญิงอเดลไฮด์แห่งเลอเว็นชไตน์-เวอร์ไธม์-โรเซ็นบอร์ก หากทรงครองราชสมบัติจนถึงวันสิ้นพระชนม์ พระองค์จะทรงราชย์เป็นเวลาทั้งสิ้น 66 ปี ซึ่งยาวนานกว่าผู้ปกครองลักเซมเบิร์กเท่าที่เคยมีมาทุกพระอง.

ใหม่!!: 14 มกราคมและแกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก (Maria Adelheid Theresia Hilda Antonia Wilhelmina vu Lëtzebuerg, Marie Adélaïde Thérèse Hilda Antonie Wilhelmine, พระนามเต็ม: มารี อเดเฮด เทเรซ ฮิลดา วิลเฮลมิเน ฟอน นัสเซา-ไวล์บวร์ก; 14 มิถุนายน พ.ศ. 2437 – 24 มกราคม พ.ศ. 2467) ทรงเป็นแกรนด์ดัสเชสลักเซมเบิร์กพระองค์แรกระหว่าง ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: 14 มกราคมและแกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แอลัน ริกแมน

แอลัน ซิดนีย์ แพทริก ริกแมน (Alan Sidney Patrick Rickman; 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1946 – 14 มกราคม ค.ศ. 2016) เป็นนักแสดงชาวอังกฤษ มีผลงานเด่นคือบท "ฮันส์ กรูเบอร์" ใน นรกระฟ้า และ "เซเวอร์รัส สเนป" ใน แฮร์รี่ พอตเตอร์ ริกแมนได้รับรางวัลลูกโลกทองคำ รางวัลเอ็มมีและรางวัลสมาคมนักแสดงภาพยนตร์และโทรทัศน์ จากเรื่อง Rasputin: Dark Servant of Destiny และได้รับรางวัลแบฟตาจากเรื่อง Robin Hood: Prince of Thieves แอลัน ริกแมนเกิดเมื่อวันที่ 21 กุมภาพัน..

ใหม่!!: 14 มกราคมและแอลัน ริกแมน · ดูเพิ่มเติม »

แอลแอล คูล เจ

มส์ ท็อดด์ สมิธ ที่ 3 เกิดเมื่อวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1968 หรือเป็นที่รู้จักในนาม แอลแอล คูล เจ เป็นแร็ปเปอร์ชาวอเมริกัน มีผลงานยอดขายกว่า 15 ล้านชุดในอเมริกา เป็นนักแสดงมีผลงานภาพยนตร์อยู่หลายเรื่อง เช่น Halloween H20 (1998), Deep Blue Sea (1999), Rollerball (2002), Deliver Us from Eva (2003), S.W.A.T. (2003).

ใหม่!!: 14 มกราคมและแอลแอล คูล เจ · ดูเพิ่มเติม »

แฮมทาโร่ แก๊งจิ๋วผจญภัย

แฮมทาโร่ แก๊งจิ๋วผจญภัย เป็น การ์ตูนญี่ปุ่น ที่วาดโดย ริสึโกะ คาวาอิ นักวาดการ์ตูนชาวญี่ปุ่น เรื่องราวเกี่ยวกับความน่ารักของเหล่าแฮมสเตอร์หลากหลายตัว โดยมีแฮมทาโร่เป็นตัวชูโรง ต่อมาได้สร้างเป็นอะนิเมะ ออกฉายในประเทศญี่ปุ่น และอีกกว่า 30 ประเทศทั่วโลก.

ใหม่!!: 14 มกราคมและแฮมทาโร่ แก๊งจิ๋วผจญภัย · ดูเพิ่มเติม »

แผนร้ายเกมรัก

แผนร้ายเกมรัก (ยังเป็นที่รู้จัก King of Ambition) เป็นละครโทรทัศน์ของเกาหลีใต้ในปี 2013 เริ่มตอนแรกในวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 ทุกวันจันทร์และวันอังคาร มีทั้งหมด 24 ตอน เวลา 20.55 น. (เวลาในเกาหลี).

ใหม่!!: 14 มกราคมและแผนร้ายเกมรัก · ดูเพิ่มเติม »

แดวู (รถราง)

รถดีเซลรางแดวู (Daewoo Diesel Railcar) เป็นรถดีเซลรางประเภทปรับอากาศของการรถไฟแห่งประเทศไทย และเป็นรถดีเซลรางที่มีความเร็วสูงสุดในประเทศไทย มีจำนวนรถรวมทุกรุ่นย่อยทั้งสิ้น 40 คัน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและแดวู (รถราง) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดจุกกะเฌอ (พินิจ เริ่มอำรุง)

รงเรียนวัดจุกกะเฌอ (พินิจ เริ่มอำรุง) - Wat Jukkacher School เป็นโรงเรียนในเขตชุมชนที่ตั้งอยู่ในเขตวัดจุกกะเฌอ ตำบลบึง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 เปิดการเรียนการสอนแบบสหศึกษา อ.1 ถึง ป.6 แต่เดิมอาศัยศาลาการเปรียญของวัดจุกกะเฌอ เป็นที่เรียนหนังสือของนักเรียน และย้ายตัวโรงเรียนไปสร้างใหม่ ด้านหลังวัดจุกกะเฌอในปัจจุบัน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและโรงเรียนวัดจุกกะเฌอ (พินิจ เริ่มอำรุง) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา

รงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา เป็นโรงเรียนในโครงการเฉลิมพระเกียรติ ในกลุ่มโรงเรียน 9 นวมินทราชินูทิศ และเป็นโรงเรียนในเครือบดินทรเดชา แห่งที่ 3 เมื่อวันที่ 12-13 ตุลาคม..

ใหม่!!: 14 มกราคมและโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเซชุน

รงเรียนเซชุน หรือที่นิยมเรียกในชื่อย่อว่า เซงากุ (โตเกียว) จากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง ปริ๊นซ์ ออฟ เทนน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและโรงเรียนเซชุน · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย

ทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: ทรท., ทีวีพูล; The Television Pool of Thailand - TPT., T.V.Pool) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2511 โดยสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย 4 ช่องคือ ไทยทีวีสีช่อง 3, ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี, ททบ.5 และช่อง 7 สี.

ใหม่!!: 14 มกราคมและโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

โค้ชคาร์เตอร์ ทุ่มแรงใจจุดไฟฝัน

้ชคาร์เตอร์ ทุ่มแรงใจจุดไฟฝัน (Coach Carter) เป็นภาพยนตร์อเมริกันแนวชีวประวัติ กีฬา ดราม่า กำกับโดย โทมัส คาร์เตอร์ เขียนบทภาพยนตร์โดย มาร์ค ชวานน์ และ จอห์น กาตินส์ นำแสดงโดย ซามูเอล แอล. แจ็กสัน, ร็อบ บราวน์, แชนนิง เททัม, ริค กอนซาเลซ และ อชานติ ภายใต้การควบคุมการผลิตของ เอ็มทีวี ฟิล์มส์ และ โทลลิน/ร็อบบินส์ โปรดักชั่น โดยภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างมาจากเรื่องจริงของ เคน คาร์เตอร์ โค้ชบาสเกตบอลในโรงเรียนมัธยมริชมอนด์ ผู้ที่ถูกข่าวพาดหัวใหญ่ของสหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและโค้ชคาร์เตอร์ ทุ่มแรงใจจุดไฟฝัน · ดูเพิ่มเติม »

โนะริกะซุ คะวะนะ

นะริกะซุ คะวะนะ นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อ 14 มกราคม..

ใหม่!!: 14 มกราคมและโนะริกะซุ คะวะนะ · ดูเพิ่มเติม »

ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์

นายไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ (14 มกราคม พ.ศ. 2474 - 2 มิถุนายน พ.ศ. 2539) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (3 สมัย) และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี 5 สมั.

ใหม่!!: 14 มกราคมและไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงผีบอก

ลงผีบอก เป็นละครโทรทัศน์แนว สยองขวัญ-โรแมนติก ผลิตโดยบริษัท เอ็กแซ็กท์ จำกัด และ บริษัท แกรมมี่ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) สร้างจากเค้าโครงเรื่องของ นิพนธ์ ผิวเณร, ฉัตรชัย สุรสิทธิ์, ศุภชัย สิทธิอำพรพรรณ เขียนบทโทรทัศน์โดย ศุภชัย สิทธิอำพรพรรณ กำกับการแสดงโดย ฉัตรชัย สุรสิทธิ์ นำแสดงโดย พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง, ชาคริต แย้มนาม, ชลิตา เฟื่องอารมย์ ออกอากาศทุกศุกร์-อาทิตย์ เวลา 20.25 - 21.25 น. เริ่มออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2543 – 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 และมีแผนงานที่จะสร้างละครเรื่องนี้อีกครั้งโดยออกอากาศทางช่องวัน ในปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและเพลงผีบอก · ดูเพิ่มเติม »

เพื่อนแท้ในป่าใหญ่

ื่อนแท้ในป่าใหญ่ (The Fox and the Hound) ออกฉายวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 กำกับโดย Ted Berman และ Richard Rich เป็นภาพยนตร์การ์ตูนคลาสสิกลำดับที่ 24 ของดิสนีย์ ภาพยนตร์เรื่องนี้มีโครงเรื่องมาจากหนังสือที่มีชื่อเดียวกัน ซึ่งผลงานการประพันธ์ของ Daniel P. Mannix นักเขียนชาวอเมริกัน แต่งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและเพื่อนแท้ในป่าใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เกมเศรษฐี (รายการโทรทัศน์)

กมเศรษฐี เป็นรายการเกมโชว์ประเภทควิซโชว์ ที่ได้รับลิขสิทธิ์จากรายการ Who Wants to Be a Millionaire? โดยได้เริ่มออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันเสาร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2543 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 โดยในสมัยแรกมีสโลแกนว่า เกมที่ทำให้คุณเป็นเศรษฐีได้ใน 16 คำถาม ต่อมาได้ย้ายไปออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไอทีวี ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2547 โดยมีผู้ดำเนินรายการคือ ไตรภพ ลิมปพัทธ์ ผลิตรายการโดยบริษัท บอร์น แอนด์ แอสโซซิเอทด์ จำกัด และใช้ชื่อรายการใหม่ว่า เกมเศรษฐีเด็ก The Team และ เกมเศรษฐี Super Team ต่อมาได้เปลี่ยนกลับมาสร้างเกมเศรษฐีในรูปแบบ 16 คำถาม 3 ตัวช่วยเหมือนเดิม เงินรางวัลสูงสุดคือ 100,000 บาท ปัจจุบันรายการนี้ได้ยุติการออกอากาศลงแล้วเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2551 เนื่องจากทางสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวีได้ยุติการแพร่ภาพลงเพื่อเปลี่ยนเป็นสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอ.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเกมเศรษฐี (รายการโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

เกราะกายสิทธิ์

กราะกายสิทธิ์ เป็นละครแนวพื้นบ้านไทย ของช่อง 7 ผลิตโดยบริษัท สามเศียร จำกัด และ บริษัท ดีด้าวีดีโอ จำกัด ออกอากาศเมื่อวันที่ 14 มกราคม - 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 ดารานักแสดง โดย รติพงษ์ ภู่มาลี เลอสรรค์ คงเจริญ สพล ชนวีร์ วรนันท์ พร้อมมูล ศิริวัฒนา เบญจมาธิกุล(ธมลพรรณ์ ภานุชิตพุทธิวงศ์) พัชรมัย สุขประเสริฐ ภูธฤทธิ์ พรหมบันดาล จำหน่ายโดย บริษัท สามเศียร จำกัด รูปแบบดัดแปลงมาจากเกราะเพชรเจ็ดสี(เดิม)ที่เคยออกอากาศทางช่อง 7 สี เมื่อประมาณปี 2538.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเกราะกายสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกลอรา บังการ์โน สเตเดียม

กลอรา บังการ์โน สเตเดียม หรือชื่ออย่างเป็นทางการ เกลอรา บังการ์โน เมนสเตเดียม (สตาดีโอน อูตามา เกลอรา บังการ์โน หรือ เกลอรา เสนายัน เมนสเตเดียม) เป็นสนามที่ใช้ได้หลายประเภท ตั้งอยู่ใน เกลอรา บังการ์โน สปอร์ตส คอมเพลกซ์ ในเขตเสนายัน ใจกลางเมืองจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย โดยเป็นชื่อหลังจาก ซูการ์โน เป็นประธานีธิบดีของอินโดนีเซีย โดยส่วนมากจะใช้ในการแข่งขันฟุตบอล โดยมีความจุอยู่ที่ประมาณ 80,000 ที่นั่ง.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเกลอรา บังการ์โน สเตเดียม · ดูเพิ่มเติม »

เกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร

นายเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พรรคชาติไทยพัฒนา และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

เมสเซนเจอร์ (ยานอวกาศ)

นเมสเซนเจอร์ (MESSENGER ย่อจาก MErcury Surface, Space ENvironment, GEochemistry and Ranging probe) เป็นยานอวกาศขององค์การนาซา ส่งขึ้นจากพื้นโลกเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2547 มีเป้าหมายเพื่อสำรวจพื้นผิวของดาวพุธ เป็นโครงการแรกในรอบ 30 ปีที่มีการส่งยานไปสำรวจดาวพุธ ยานเพียงลำเดียวก่อนหน้านี้คือ ยานมาริเนอร์ 10 ซึ่งสิ้นสุดภารกิจไปตั้งแต่เดือนมีนาคม..

ใหม่!!: 14 มกราคมและเมสเซนเจอร์ (ยานอวกาศ) · ดูเพิ่มเติม »

เรซซิ่ง สไตรพส์ ม้าลายหัวใจเร็วจี๊ดด...

รซซิ่ง สไตรพส์ ม้าลายหัวใจเร็วจี... เป็นภาพยนตร์แนวตลก ผจญภัย กำกับโดย Frederik Du Chau.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเรซซิ่ง สไตรพส์ ม้าลายหัวใจเร็วจี๊ดด... · ดูเพิ่มเติม »

เลโอนอร์ เจ้าหญิงแห่งอัสตูเรียส

ลโอนอร์ เจ้าหญิงแห่งอัสตูเรียส (Leonor, Princesa de Asturias; ประสูติ: 31 ตุลาคม พ.ศ. 2548) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลีเปที่ 6 แห่งสเปน และสมเด็จพระราชินีเลตีเซียแห่งสเปน ทรงอยู่ในอันดับแรกของลำดับการสืบราชบัลลังก์สเปน แรกประสูติมีพระอิสริยยศเป็นอินฟันตาแห่งสเปน (Infanta of Spain) ภายหลังพระราชบิดาขึ้นครองราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 ได้สถาปนาพระอิสริยยศขึ้นเป็น เจ้าหญิงแห่งอัสตูเรียส (Princess of Asturias).

ใหม่!!: 14 มกราคมและเลโอนอร์ เจ้าหญิงแห่งอัสตูเรียส · ดูเพิ่มเติม »

เหตุรถประสานงาในปาปัวนิวกินี พ.ศ. 2553

หตุรถประสานงาในปาปัวนิวกินี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและเหตุรถประสานงาในปาปัวนิวกินี พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุเหยียบกันเสียชีวิตในสัพริมลา พ.ศ. 2554

หตุเหยียบกันเสียชีวิตในสัพริมล..

ใหม่!!: 14 มกราคมและเหตุเหยียบกันเสียชีวิตในสัพริมลา พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

เอลินอร์แห่งพรอว็องส์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

“พระนางเอลินอร์แห่งพรอว็องส์” พระนางเอลินอร์แห่งพรอว็องส์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ (Eleanor of Provence) (ราว ค.ศ. 1223 – 26 มิถุนายน ค.ศ. 1291).

ใหม่!!: 14 มกราคมและเอลินอร์แห่งพรอว็องส์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดมันด์ แฮลลีย์

อ็ดมันด์ แฮลลีย์ ภาพวาดโดย โทมัส เมอร์เรย์ เอ็ดมันด์ แฮลลีย์ (Edmond Halley) (8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1656 - 14 มกราคม ค.ศ. 1742) เป็นนักดาราศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ นักวิชาการฝนดาวตก และนายแพทย์ชาวอังกฤษ เป็นผู้คำนวณและทำนายการปรากฏตัวของดาวหางแบบมีคาบโคจรได้สำเร็จเป็นครั้งแรก โดยเขาเสนอว่า ดาวหางที่ปรากฏในปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและเอ็ดมันด์ แฮลลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต

“เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต” มาเรีย คลีเม็นทินา โซบิเอสกา พระชายา หลุมศพของเจ้าชายเจมส์ เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต หรือ ผู้อ้างสิทธิ(ภาษาอังกฤษ: James Francis Edward Stuart หรือ The Old Pretender หรือ The Old Chevalier) (10 มิถุนายน ค.ศ. 1688 – 1 มกราคม ค.ศ. 1766) เจมส์ได้รับการขนานพระนามว่า The Old Pretender (ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์) เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษผู้ถูกปลดจากราชบัลลังก์อังกฤษ และ สมเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนา ในฐานะที่เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 เจมส์ ฟรานซิสจึงอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของราชอาณาจักรอังกฤษ และราชอาณาจักรสกอตแลนด์ในนาม เจมส์ที่ 3 แห่งอังกฤษ และ เจมส์ที่ 8 แห่งสกอตแลนด์ เมื่อพระราชบิดาเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1701 พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสทรงประกาศว่าเจมส์ ฟรานซิสเป็นพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษ สกอตแลนด์และไอร์แลน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์และเอวอนเดล

้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์และเอวอนเดล เจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์และเอวอนเดล หรือพระนามเต็ม อัลเบิร์ต วิกเตอร์ คริสเตียน เอ็ดเวิร์ด (ประสูติ 8 มกราคม พ.ศ. 2407 เสด็จสิ้นพระชนม์ 14 มกราคม พ.ศ. 2435) เป็นพระราชโอรสพระองค์โตในเจ้าฟ้าชายอัลเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายแห่งเวลส์ และเจ้าฟ้าหญิงอเล็กซานดรา เจ้าหญิงแห่งเวล.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์และเอวอนเดล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก

้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก (Frederik André Henrik Christian, Kronprins til Danmark; ประสูติ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2511, กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก) เป็นรัชทายาทแห่งราชบัลลังก์เดนมาร์ก เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 2 แห่งเดนมาร์ก กับเจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี พระองค์มีพระอนุชาคือ เจ้าชายโจอาคิมแห่งเดนมาร์ก.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี

้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี ในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (พระนามเต็ม: อ็องรี มารี ฌ็อง อ็องดร์ เดอ ลาบอร์ด เดอ มงเปอซา; 11 มิถุนายน พ.ศ. 2477 - 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561) สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก พระองค์ประสูติที่เมืองตาลงซ์ แคว้นกีรงด์ สาธารณรัฐฝรั่งเศส เป็นโอรสในเคาต์อ็องดร์ เดอ ลาบอร์ด เดอ มงเปอซา และเรอเน ดูร์เซโน อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงมาร์เกรเธอแห่งเดนมาร์ก เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ. 1967 ในขณะที่มีพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงผู้เป็นทายาทโดยสันนิษฐานแห่งราชบัลลังก์เดนมาร์ก.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต

้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต (Princess Margaret of Connaught; มาร์กาเร็ต วิกตอเรีย ชาร์ล็อต ออกัสตา นอร่าห์ ภายหลังคือ มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน; 15 มกราคม พ.ศ. 2425 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2463) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในเจ้าชายอาร์เธอร์ ดยุกแห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น พระราชโอรสพระองค์ที่สามในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรและ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี กับ เจ้าหญิงหลุยส์ มาร์กาเรเทแห่งปรัสเซีย พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเจ้าหญิงแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และมีพระนามลำลองในหมู่พระญาติสนิทและพระสหายว่า "เดซี่".

ใหม่!!: 14 มกราคมและเจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเบียทริซแห่งสเปน

้าหญิงเบียทริซแห่งสเปน (Infanta Beatriz of Spain; เบียทริซ อิซาเบล เฟเดริกา อัลฟอนซา เอวเคเนีย คริสตินา มาเรีย เทเรซา เบียนเบนิดา ลาดิสลา เด บอร์บอน อี บัตเต็นแบร์ก; Beatriz Isabel Federica Alfonsa Eugenia Cristina Maria Teresa Bienvenida Ladisla de Borbon y Battenberg; ประสูติ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2452 สิ้นพระชนม์ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545) เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าอัลฟองโซที่ 13 แห่งสเปน และ เจ้าหญิงวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งแบ็ตเต็นเบิร์ก และพระปิตุจฉาในสมเด็จพระราชาธิบดีฆวน คาร์ลอสที่ 1 แห่งสเปน อีกทั้งยังทรงเป็นหนึ่งในพระราชปนัดดาที่มีพระชนม์ชีพยืนยาวของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรี.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเจ้าหญิงเบียทริซแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

เจเควียรี

วียรี (jQuery) คือไลบรารีของโค้ดจาวาสคริปต์ ที่ใช้เป็นส่วนหนึ่งในการสร้างเว็บไซต์ช่วยในการเรียกใช้งานจาวาสคริปต์ให้ง่ายขึ้น เปิดตัวครั้งแรกในงานบาร์แคมป์นิวยอร์ก โดย จอห์น เรซิก (John Resig) เมื่อ 14 มกราคม พ.ศ. 2549 ตัวโค้ดของเจเควียรีมีลิขสิทธิ์และสัญญาอนุญาตแบบโอเพนซอร์ซ โดยใช้สัญญาอนุญาตของ GFDL และ MIT License ทางไมโครซอฟท์และโนเกียได้มีการประกาศตัวว่าจะมีการนำเจเควียรี มาใช้ในส่วนของแพลตฟอร์ม โดยเฉพาะ วิชวลสตูดิโอ และเฟรมเวิร์ก เอเอสพีดอตเน็ต เอแจ็กซ์ และ เอเอสพีดอตเน็ต เอ็มวีซี.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเจเควียรี · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลไทรน้อย

ทศบาลตำบลไทรน้อย เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบเทศบาลในเขตอำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี และเป็นเทศบาลตำบลหนึ่งในสิบเอ็ดแห่งของจังหวัดนนทบุรีในปัจจุบัน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเทศบาลตำบลไทรน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เขตสวนหลวง

ตสวนหลวง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อ.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเขตสวนหลวง · ดูเพิ่มเติม »

เขตดินแดง

ตดินแดง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเขตดินแดง · ดูเพิ่มเติม »

เดฟ โกรล

วิด เอริค "เดฟ" โกรล (David Eric "Dave" Grohl; 14 มกราคม พ.ศ. 2512 —) เป็นนักดนตรีร็อกและนักร้อง-นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน ซึ่งเป็นนักร้องนำ มือกีตาร์ นักแต่งเพลงหลักและผู้ก่อตั้งวงฟูไฟเตอร์ส โดยก่อนหน้านั้น เขาเป็นมือกลองในวงกรันจ์เนอร์วานา นอกจากนี้ โกรลยังเป็นมือกลองและผู้ร่วมก่อตั้งวงเดมครุควัลเจอร์ เป็นผู้แต่งและเล่นเพลงในไซต์โปรเจ็กต์ชื่อเลท! และโพรบอท และมีส่วนเกี่ยวข้องกับวงควีนส์ออฟเดอะสโตนเอจหลายครั้งในทศวรรษที่ 2000 โกรลยังเป็นมือกลองเฉพาะกิจให้กับนักดนตรีอีกหลายคน เช่น การ์เบจ คิลลิ่งโจ๊ก ไนน์อินช์เนลส์ เดอะโพรดิจี สแลช จูเลียต ลูวิส เทนาเชียสดี ทอม เพตตีแอนด์เดอะฮาร์ทเบรกเกอร์ส และเลมมี คิลมิสเตอร.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเดฟ โกรล · ดูเพิ่มเติม »

เดอะไรติงส์ออนเดอะวอลล์

อะไรติงส์ออนเดอะวอลล์ (The Writing's on the Wall) คือสตูดิโออัลบั้มลำดับที่สองของเดสทินีส์ไชลด์ วงดนตรีหญิงล้วนจากสหรัฐอเมริกา ออกวางจำหน่ายโดยโคลัมเบียเรเคิดส์ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 ในสหรัฐอเมริกา อัลบั้มนี้เปิดตัวอยู่ที่อันดับที่ 6 ในชาร์ต บิลบอร์ด 200 ซึ่งขึ้นไปในชาร์ตเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2542 ด้วยยอดจำหน่าย 132,000 หน่วยในสัปดาห์แรก ต่อมาได้ติดอันดับที่ 5 เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 และอัลบั้มนี้ได้รับการเสนอชื่อเข้ารับรางวัลแกรมมี 5 รางวัล นั่นคือ การร้องเพลงแนวอาร์แอนด์บีคู่หรือกลุ่มยอดเยี่ยม (สองรางวัล), เพลงแนวอาร์แอนด์บียอดเยี่ยม, อัลบั้มเพลงแนวอาร์แอนด์บียอดเยี่ยม, และเพลงแห่งปี เดอะไรติงส์ออนเดอะวอลได้มีระดับยอดขาย 9x แพลตินัม จัดโดยRIAA เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเดอะไรติงส์ออนเดอะวอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เดือน 11

ือน 11 คือเดือนที่ 11 ของปี อาจหมายถึงเดือนพฤศจิกายนตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือเดือนที่ 11 ตามปฏิทินจันทรคติ และเนื่องจากปฏิทินจันทรคติกำหนดตามดิถีจันทร์ เดือน 11 จึงไม่ตรงกันทุกปีเมื่อเทียบกับปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน แบ่งได้เป็น.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเดือน 11 · ดูเพิ่มเติม »

เดนมาร์ก–นอร์เวย์

นมาร์ก-นอร์เวย์ (Dänemark-Norwegen, Danmark-Norge, Denmark-Norway) เป็นรัฐร่วมประมุขที่เกิดจากการรวมตัวระหว่างประเทศเดนมาร์กและนอร์เวย์ และรวมทั้งดินแดนอิสระไอซ์แลนด์ของนอร์เวย์ หลังจากการล่มสลายของสหภาพคาลมาร์แล้ว สองราชอาณาจักรก็ทำการตกลงรวมกันเป็นราชอาณาจักรร่วมประมุขใหม่ในปี ค.ศ. 1536 และรุ่งเรืองมาจนถึง ค.ศ. 1814 บางครั้งคำว่า "ราชอาณาจักรเดนมาร์ก" ก็จะหมายถึงทั้งสองอาณาจักรระหว่างปี ค.ศ. 1536 จนถึง ค.ศ. 1814 เพราะอำนาจทางการเมืองและทางการเศรษฐกิจมีศูนย์กลางอยู่ที่โคเปนเฮเกนในเดนมาร์ก คำนี้ครอบคลุมส่วนที่เป็น "ราชอาณาจักร" โอลเดนบูร์กของปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและเดนมาร์ก–นอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เควิน ดูแรนด์

วิน เซิร์จ ดูแรนด์ (Kevin Serge Durand) เกิดเมื่อวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1974 เป็นนักแสดงชายชาวแคนาดา เป็นที่รู้จักจากบท โจชัว ใน Dark Angel, มาร์ติน คีมี ใน Lost.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเควิน ดูแรนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เคหาสน์ดาว

วันขึ้นบ้านใหม่ของจ๋อม ฉากจบของเรื่อง เคหาสน์ดาว เป็นละครโทรทัศน์ไทยของเอ็กแซ็กท์ ที่ออกอากาศในปี พ.ศ. 2535-2536 และเป็นการพบกันอีกครั้ง ของคู่พระนางจากละครเรื่อง รักในรอยแค้น คือ ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง และ นุสบา วานิชอังกูร โดยเป็นเรื่องราวของ "คุณเขียว" หนุ่มสถาปนิกที่มีบุคลิกซื่อๆ มองโลกในแง่ดี และไม่เป็นพิษเป็นภัยกับใคร กับ "คุณจ๋อม" อาจารย์มหาวิทยาลัยที่มีความตั้งใจแน่วแน่ที่จะสร้างบ้านของตนเองเพื่อแม่และน้องสาว จากความฝันของคุณจ๋อม ทำให้ได้มารู้จักกับ คุณเขียว และความสัมพันธ์ของคนทั้งคู่ได้ก่อตัวขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นความรัก ละครเรื่องนี้ มีเนื้อหาเบาๆ สนุกสนาน แต่แฝงไว้ด้วยแง่คิดเล็กๆ น้อยๆ เคหาสน์ดาว สร้างจากบทประพันธ์ของ วาณิช จรุงกิจอนันต์ บทโทรทัศน์ ทองขาว ทวีปรังษีนุกูล, สรรเสริญ สันติวงศ์ และ กำกับการแสดงโดย สุพล วิเชียรฉาย ก่อนหน้านี้เคยมีการสร้างเป็นภาพยนตร์ไทยโดย ศุภักษร ฉายในปี พ.ศ. 2530 นำแสดงโดย สมประสงค์ สิงหวนวัฒน์, อนุสรา จันทรังษี, อภิศักดิ์ เจตสมมา, ศริญญา บุญยงค์ และ สุริวิภา กุลตังค์วัฒนา และในปี พ.ศ. 2558 ได้นำกลับมาสร้างใหม่อีกครั้ง นำแสดงโดย ชัยพล จูเลี่ยน พูพาร์ต, จินตนัดดา ลัมะกานนท์, วรเวช ดานุวงศ์, อรจิรา กุลดิลก, พรรณวรท ด้วยเศียรเกล้.

ใหม่!!: 14 มกราคมและเคหาสน์ดาว · ดูเพิ่มเติม »

เซลดา II ดิแอดเวนเจอร์ออฟลิงก์

ซลดา II ดิแอดเวนเจอร์ออฟลิงก์ (Zelda II: The Adventure of Link, リンクの冒険) เป็นวิดีโอเกมที่ผลิตขึ้นในปี..

ใหม่!!: 14 มกราคมและเซลดา II ดิแอดเวนเจอร์ออฟลิงก์ · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์ไวเวอร์ ซาโมอา

ซอร์ไวเวอร์ ซาโมอา (Survivor: Samoa) เป็นฤดูกาลที่ 19 ของรายการเซอร์ไวเวอร์ เริ่มรับสมัครผู้เข้าแข่งขันตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2552 และเป็นครั้งแรกที่อนุญาตให้ผู้ที่มีอายุต่ำสุดคือ 18 ปี ลงสมัครได้ทั้งประเทศ ถ่ายทำที่ประเทศซามัว ซึ่งตามความเป็นจริงจะต้องใช้ชื่อรายการว่า เซอร์ไวเวอร์ ซามัว แต่ในการถ่ายทำได้ออกเสียงจากซามัวเป็นซาโมอา การออกอากาศตอนแรกสำหรับในประเทศไทยสามารถรับชมได้ทาง True Visions ซึ่งจะฉายหลังจากที่ทางซีบีเอสฉายจบแต่ละตอนไปแล้วเป็นเวลา 7 ชั่วโมงซึ่งตรงกับวันที่ 18 กันยายน..

ใหม่!!: 14 มกราคมและเซอร์ไวเวอร์ ซาโมอา · ดูเพิ่มเติม »

I Hate You, I Love You

I Hate You, I Love You หรือ HateLove เป็นละครชุดในโครงการพิเศษของแอปพลิเคชัน ไลน์ทีวี โดย บริษัท ไลน์ คอร์ปอเรชัน (ประเทศไทย) จำกัด ผลิตโดยนาดาวบางกอก สร้างเรื่องและเขียนบทโดยทรงยศ สุขมากอนันต์ โดยเป็นเรื่องราวความรักและการแตกหักของคน 5 คน ในเวลาเพียง 5 วัน ออกอากาศให้ชมทุกวันเสาร์เวลา 20.00 น. ทางแอปพลิเคชัน ไลน์ทีวี เริ่มตอนแรก วันเสาร์ที่ 17 กันยายน..

ใหม่!!: 14 มกราคมและI Hate You, I Love You · ดูเพิ่มเติม »

SOTUS The Series พี่ว้ากตัวร้ายกับนายปีหนึ่ง

SOTUS The Series พี่ว้ากตัวร้ายกับนายปีหนึ่ง เป็นซีรีส์ที่สร้างจากนิยาย SOTUS พี่ว้ากตัวร้ายกับนายปีหนึ่ง โดย BitterSweetซึ่งโด่งดังในเว็บ เด็กดี.คอม เป็นเรื่องราวของระบบการรับน้องที่เรียกว่าโซตัส เดิมทีนิยายเรื่องนี้ถูกซื้อลิขสิทธิ์โดย Felloww และกำกับโดย ณิชภูมิ ชัยอนันต์ แต่ต่อมาสร้างร่วมกับ จีเอ็มเอ็มทีวีและกำกับโดย ผดุง สมาจาร โดยมีนักแสดงชุดใหม่เกือบทั้งหมดยกเว้นนักแสดงนำทั้ง 2 ได้แก่พีรวัส แสงโพธิรัตน์ และปราชญา เรืองโรจน.

ใหม่!!: 14 มกราคมและSOTUS The Series พี่ว้ากตัวร้ายกับนายปีหนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 14 มกราคมและ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

12 มีนาคม

วันที่ 12 มีนาคม เป็นวันที่ 71 ของปี (วันที่ 72 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 294 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 14 มกราคมและ12 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 สิงหาคม

วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันที่ 224 ของปี (วันที่ 225 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 141 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 14 มกราคมและ12 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 กุมภาพันธ์

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: 14 มกราคมและ21 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

26 กันยายน

วันที่ 26 กันยายน เป็นวันที่ 269 ของปี (วันที่ 270 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 96 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 14 มกราคมและ26 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

29 เมษายน

วันที่ 29 เมษายน เป็นวันที่ 119 ของปี (วันที่ 120 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 246 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 14 มกราคมและ29 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

14 ม.ค.๑๔ มกราคม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »