โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

12 กุมภาพันธ์

ดัชนี 12 กุมภาพันธ์

วันที่ 12 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 43 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 322 วันในปีนั้น (323 วันในปีอธิกสุรทิน).

391 ความสัมพันธ์: บัลลังก์เลือดแห่งวังหลวงชาห์แห่งอิหร่านบาซูบิล รัสเซลบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2560บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561ช่องเวิร์คพอยท์ฟักทอง (อัลบั้ม)ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ค 2550/51พ.ศ. 1644พ.ศ. 2347พ.ศ. 2351พ.ศ. 2352พ.ศ. 2375พ.ศ. 2446พ.ศ. 2455พ.ศ. 2463พ.ศ. 2469พ.ศ. 2471พ.ศ. 2475พ.ศ. 2478พ.ศ. 2480พ.ศ. 2482พ.ศ. 2483พ.ศ. 2488พ.ศ. 2489พ.ศ. 2490พ.ศ. 2493พ.ศ. 2494พ.ศ. 2495พ.ศ. 2499พ.ศ. 2501พ.ศ. 2503พ.ศ. 2505พ.ศ. 2516พ.ศ. 2517พ.ศ. 2523พ.ศ. 2524พ.ศ. 2525พ.ศ. 2535พ.ศ. 2537พ.ศ. 2540พ.ศ. 2544พ.ศ. 2549พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2557...พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พ.ศ. 2564พ.ศ. 2568พยงค์ มุกดาพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)พระยาไชยยศสมบัติ (เสริม กฤษณามระ)พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีพระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์พระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวายพระเจ้าเฟลีเปที่ 1 แห่งคาสตีลกรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหมกวินพนธ์ พาณิชย์พงส์การลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ พ.ศ. 2518การสังหารหมู่ในนครชิคาโกด้วยยาไทลินอล พ.ศ. 2525การปรากฏตัวของมอร์นิงมุซุเมะการเคหะแห่งชาติ (ประเทศไทย)กุมภาพันธ์กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547กูกอลกีฬามวยปล้ำในโอลิมปิกฤดูร้อนกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาว 1978กีฬาใน พ.ศ. 2549ก่งจินโอวภาณุ อุทัยรัตน์มันถูกอยู่แล้วมาลา คำจันทร์มาสค์ไรเดอร์คิบะมาเรีย หลุยส์แห่งออร์เลอองส์ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนมนุษย์หมาป่า ราชันย์อำมหิตยัวร์บอยทีเจยุอิ อะระงะกิยุทธการปราบเมียน้อยรอยัลรัมเบิล (2012)ระเบิดเถิดเทิง ลั่นทุ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทยรัฐอิสราเอลในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994รัฐอิสราเอลในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ราชรัฐลิกเตนสไตน์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ราชรัฐลิกเตนสไตน์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ราชรัฐอันดอร์ราในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ราชรัฐอันดอร์ราในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ราชวงศ์ชิงราชอาณาจักรเนปาลในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010รายชื่อบทความวันนี้ในอดีตรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรายชื่อตอนในวัยซนคนการ์ตูน (อะนิเมะ)รายชื่อตอนในเบ็นเท็น: อัลติเมทเอเลี่ยนรายชื่อตอนในเนตรเพลิงชานะรายชื่อตัวละครในสามพลังป่วนพิทักษ์โลกรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษรายพระนามพระสันตะปาปารายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ชิงรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์กรายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวงรายนามนักมวยแชมป์โลกชาวไทยรายนามเลขาธิการคณะรัฐมนตรีของไทยวัดราษฎร์บูรณะ (จังหวัดปัตตานี)วันเอกราชวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนวินโดวส์โมบายวุฒิรัตน์ ธนสุคนธสิทธิ์ศรัณย์วุฒิ ศรัณย์เกตุศุภนาฎ จิตตลีลาสมศักดิ์ เจียมธีรสกุลสมเด็จพระราชาธิบดีคอลิด บิน อับดัลอะซีซ อาล ซะอูดสมเด็จพระราชินีคาปิโอลานิแห่งฮาวายสมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยาสมเด็จพระราชินีนาถเตรีอีมาเอวารูอาที่ 2 แห่งบอราบอราสมเด็จพระราชินีนาถเตรีอีมาเอวารูอาที่ 3 แห่งบอราบอราสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสหพันธรัฐรัสเซียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สหพันธรัฐรัสเซียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สหพันธ์เอเชียนเกมส์สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สามเหมียวยอดนินจาสาวน้อยเวทมนตร์ มาโดกะสาธารณรัฐมอลโดวาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐมอลโดวาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐมอนเตเนโกรในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐมาซิโดเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐลิทัวเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐลิทัวเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐสโลวักในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐสโลวักในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐสโลวีเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐสโลวีเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจานในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐอิสลามอิหร่านในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐอุซเบกิสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐอุซเบกิสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐทาจิกิสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐคีร์กีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐคีร์กีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐซานมารีโนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐซานมารีโนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐประชาชนจีนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐประชาชนจีนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐแอลเบเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐโครเอเชียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐโครเอเชียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐโคลอมเบียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐไซปรัสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐไซปรัสในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐเบลารุสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐเบลารุสในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐเช็กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐเช็กในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐเซอร์เบียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สาธารณรัฐเซเนกัลในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐเซเนกัลในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010สำนักงานพัฒนาพิงคนคร (องค์การมหาชน)สุรสีห์ อิทธิกุลสโมสรฟุตบอลชลบุรีในฤดูกาล 2560สโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสนในฤดูกาล 2559สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2013–14สโมสรฟุตบอลสิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2560สโมสรฟุตบอลจังหวัดนครราชสีมาในฤดูกาล 2560สโมสรฟุตบอลทรู แบงค็อก ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2560สโมสรฟุตบอลซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ ในฤดูกาล 2560สโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2559หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994หมู่เกาะเคย์แมนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010หม่อมหลวงนวลผ่อง เสนาณรงค์หลวงปู่ชอบ ฐานสโมหลานสาวนายพลหักลิ้นช้างหางเครื่อง (ละครโทรทัศน์)อภิชาติ ดำดีอยู่ดี ๆ ก็อริต์ตา รามณรงค์อะอิ คะโงะอับราฮัม ลินคอล์นอัจฉริยะข้ามคืนอาสนวิหารอ็อชอาเลมาเยฮู อะตอมซาอิมมานูเอล คานต์อิศรา อมันตกุลอินดอร์ สเตเดียม หัวหมากอุทยานแห่งชาติเฉลิมรัตนโกสินทร์อี บย็อง-ช็อลอดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์อนงค์ ตงศิริอโรคา ตลาดนัดสุขภาพฮุซเซน อนผมเป็นของคุณไปแล้วผู้ผนึกมารจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิจีนจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซาจักรราศีจารุณี สุขสวัสดิ์จงประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามทีธชตวัน ศรีปานธัญญ่า อาร์สยามธนิจจิญญา ธนันต์ชัยกานต์ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ทารา สตรองท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม ในรัชกาลที่ 5)ขบวนการสรรพสัตว์ กาโอเรนเจอร์ขบวนการอวกาศ คิวเรนเจอร์ขบวนการไดโนเสาร์ จูเรนเจอร์ณ ขณะรักดอกส้มสีทองดินแดนอเมริกันซามัวในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994คริสตินา ริชชีความคิด (เพลงอภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข)คุซาจิชิ ยาจิรุคู่กรรมคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6ฆวน การ์โลส เฟร์เรโรตราแผ่นดินของไอซ์แลนด์ซานเตียโกประพาศ ศกุนตนาคประยงค์ ชื่นเย็นประจวบ สุนทรางกูรประเสริฐ นาสกุลประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศชิลีประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศฟีจีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศกานาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศมองโกเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศมองโกเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศยูเครนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศยูเครนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศอาร์มีเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศอาร์มีเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศจอร์เจียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศจอร์เจียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศจีนไทเปในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศจีนไทเปในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศคาซัคสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศคาซัคสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศตรินิแดดและโตเบโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศปากีสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศโมร็อกโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศไทยใน พ.ศ. 2446ประเทศไทยใน ค.ศ. 2017ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศเบอร์มิวดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศเบอร์มิวดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศเกาหลีเหนือในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศเอธิโอเปียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศเปรูในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ปวยร์โตรีโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ปาเตรียนวยบาปิยะพงษ์ ผิวอ่อนปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์นลินี ทวีสินนาซีม ฮาเหม็ดแกะกล่องหนังไทยแกแล็กซี (เพลง)แต่ปางก่อนโมเดิร์นไนน์การ์ตูนโรงเรียนมัธยมวัดบึงทองหลางโรงเรียนมัธยมวัดเขาสุกิมโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัยโรงเรียนศาลาตึกวิทยาโรงเรียนทวีธาภิเศกโรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดาโรงเรียนป้อมนาคราชสวาทยานนท์โลแกน เลอร์แมนโอลิมปิกฤดูหนาว 2010โอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว 2016โผน กิ่งเพชรโซเฟีย มักดาลีนาแห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนไมโครซอฟท์ไลฟ์อินลาสเวกัส - อะนิวเดย์...ไลต์ไสว บุญมาเกวลิน ศรีวรรณาเกิลส์เจเนอเรชันทัวร์เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจเอกธนัช อินทร์รอดเอ็กซีคิวชั่นแนลเอเลี่ยน: โคโลเนียล มารีนส์เจมี สกอตต์เจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียมเจ้าหญิงมารีอา กาเบรียลลาแห่งซาวอยเจ้าหญิงมารีอา ตีเรซาแห่งโปรตุเกสเจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดนเจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์เจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์กเจ้าหญิงเฟาซียะห์-ลาติฟะฮ์แห่งอียิปต์เทียรี่ เมฆวัฒนาเขตบริหารพิเศษฮ่องกงในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010เดอะเฟมเคน นากาชิมาเค้าก่อนเซอร์ไวเวอร์ โทแคนตินเปรมศักดิ์ เพียยุระ12 มีนาคม15 เมษายน30 กำลังแจ๋ว The Series31 พฤษภาคม4 พฤษภาคม6 ตุลาคม7 กันยายน ขยายดัชนี (341 มากกว่า) »

บัลลังก์เลือดแห่งวังหลวง

ัลลังก์เลือดแห่งวังหลวง (Secret Door) ซีรีส์เกาหลีอิงประวัติศาสตร์จาก สถานีโทรทัศน์เอสบีเอส ออกอากาศตั้งแต่วันที่ 22 กันยายน - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ปี พ.ศ. 2559 ทาง ช่อง 3 แฟมิลี่ ได้นำซีรีส์เรื่องนี้มาออกอากาศโดยออกอากาศตอนแรกในวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2559.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และบัลลังก์เลือดแห่งวังหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ชาห์แห่งอิหร่าน

มเด็จพระเจ้าชาห์แห่งอิหร่าน หรือที่มักเรียกว่าพระเจ้าชาห์ เป็นตำแหน่งที่ปกครองราชวงศ์ซาฟาวิดจนถึงราชวงศ์ปาห์ลาวี โดยระบอบจักรวรรดินับตั้งแต่ ค.ศ. 1501 - ค.ศ. 1979 พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายคือ พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี โดยนับตั้งแต่การปฏิวัติอิสลามอิหร่านมีพระจักรพรรดิเป็นเชื้อพระวงศ์ในราชวงศ์กอญัร และ ราชวงศ์ปาห์ลาวี ที่สืบราชสกุล และ อ้างสิทธิในราชบัลลังก.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และชาห์แห่งอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

บาซู

ซู (อังกฤษ: Bazoo) เป็นวงดนตรีแนว ป็อป แดนซ์อันดับต้นๆของเมืองไทย ต้นแบบ T-POP ที่มีชื่อเสียงของทางค่าย อาร์เอส โปรโมชั่น มีผลงานอัลบั้มเต็มถึง 5 ชุด มีเพลงสร้างชื่อเสียง ได้แก่ โธ่เอ๊ย, ทำไมถึงทำกับฉันได้, รักน้องพร, ผีฟ้าปาร์ตี้, มันไม่จริง, HO-LE HO-LE, จดหมายผิดซอง, Cheer, ลำตัด 2001 เป็นต้น.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และบาซู · ดูเพิ่มเติม »

บิล รัสเซล

วิลเลียม เฟลตัน รัสเซล (William Felton Russell; 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1934 —) อดีตนักกีฬาบาสเกตบอลชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักและจดจำในฐานะผู้เล่นสำคัญ ในยุคเฟื่องฟูของทีมบอสตัน เซลติกส์ ซึ่งชนะเลิศ 11 ครั้งจากฤดูกาลแข่งขัน 13 ฤดูกาล เขาเป็นผู้เล่นที่ยกระดับการเล่นเกมรับของกีฬานี้ขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง เขาได้รับการยกย่องว่าเป็น ผู้เล่นตำแหน่งเซนเตอร์ ที่เป็นผู้เล่นเกมรับที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ในประวัติศาสตร์ของกีฬาบาสเกตบอล บิล รัสเซล เกิดที่เมืองมอนโร รัฐลุยเซียนา เติบโตที่เมืองโอคแลนด์ รัฐแคลิฟอร์เนีย ส่วนสูง 6 ฟุต 9 นิ้ว (2.06 เมตร) เล่นบาสเกตบอลระดับมหาวิทยาลัยให้กับ มหาวิทยาลัยแห่งเมืองซานฟรานซิสโก และนำทีมไปสู่ชัยชนะ ในการแข่งขันชิงชนะเลิศระดับมหาวิทยาลัย เอ็นซีดับเบิลเอ (NCAA) ในปี..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และบิล รัสเซล · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2560

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

ช่องเวิร์คพอยท์

องเวิร์คพอยท์ เป็นช่องโทรทัศน์ภาคพื้นดิน ระบบดิจิทัลในประเทศไทย ประเภทบริการธุรกิจระดับชาติ รูปแบบรายการทั่วไป ประเภทความคมชัดมาตรฐาน และออกอากาศคู่ขนานแบบไม่ใช้คลื่นความถี่ ผ่านเครือข่ายโทรทัศน์เคเบิล และระบบโทรทัศน์ดาวเทียม ปัจจุบันดำเนินการโดย บริษัท ไทย บรอดคาสติ้ง จำกัด ซึ่งอยู่ในเครือบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และช่องเวิร์คพอยท์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟักทอง (อัลบั้ม)

ฟักทอง เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 4 ของ อัสนี-วสันต์ วางแผงครั้งแรกในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2532 อัลบั้มชุดนี้เป็นชุดแรกที่มีจำนวน 10 เพลง โดยมีเพลง "ยินดี ไม่มีปัญหา" ที่มีเนื้อหาต่อจากเพลง บังอรเอาแต่นอน และ บังเอิญติดดิน เป็นเพลงเปิดอัลบั้ม และมีเพลง "กรุงเทพมหานคร" ซึ่งมีความพิเศษกว่าเพลงอื่นๆ ในอัลบั้มเนื่องจากเป็นการนำชื่อเต็มของกรุงเทพมหานครมาใส่ทำนองและเรียบเรียงเสียงประสานและถือเป็นอัลบั้มชุดแรกที่ขายได้เกินหนึ่งล้านตลับและเกือบทุกเพลงในอัลบั้มล้วนเป็นเพลงฮิตจนมีการนำไปร้องต่อโดยศิลปินนักร้องท่านอื่นๆ ในภายหลัง หน้าปกเทปเป็นภาพของ อัสนี และ วสันต์ ในห้องบันทึกเสียง ระบุชื่อศิลปิน ชื่ออัลบั้ม "ฟักทอง" พร้อมรูปฟักทอง และมีคำลงท้ายว่า "เสียดายมาก" ซึ่งเกี่ยวข้องกับเพลงเดียวกับชื่ออัลบั้ม ถ่ายภาพปกโดย Omnivisions.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และฟักทอง (อัลบั้ม) · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ค 2550/51

การแข่งขันฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ถ้วย ค ของประเทศไทย จัดขึ้นระหว่างวันที่ 12 ก.พ. - 18 มี.ค. 2551 โดยการแข่งขันทั้งหมด 24 ทีม แบ่งการแข่งขันเป็น 8 สายในรอบแรก โดยทีมที่ได้อันดับที่หนึ่งและสองของแต่ละสาย จะไปแข่งขันต่อในรอบแพ้คัดออก.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ค 2550/51 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1644

ทธศักราช 1644 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 1644 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2347

ทธศักราช 2347 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1804 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2347 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2351

ทธศักราช 2351 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2351 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2352

ทธศักราช 2352 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2352 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2375

ทธศักราช 2375 ตรงกับคริสต์ศักราช 1832 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2375 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2446

ทธศักราช 2446 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1903 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2446 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2455

ทธศักราช 2455 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1912 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2455 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2463

ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2463 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2469

ทธศักราช 2469 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1926 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2469 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2471

ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2471 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2478

ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2478 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2480 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2499 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2503

ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2503 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2564

ทธศักราช 2564 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2021 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2564 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2568

ทธศักราช 2568 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2025 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2568 · ดูเพิ่มเติม »

พยงค์ มุกดา

นาวาตรีพยงค์ มุกดาพันธ์ หรือ ครูพยงค์ มุกดา (4 พฤษภาคม พ.ศ. 2469—12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553) นักร้อง นักแสดง นักแต่งเพลง ที่มีชื่อเสียงจากการเป็นนักแต่งเพลงเป็นจำนวนมาก ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ ประจำปี..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพยงค์ มุกดา · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)

ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2485 ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เดิมชื่อว่า "พจน์ พหลโยธิน" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 2 เกิดวันที่ 29 มีนาคม..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาไชยยศสมบัติ (เสริม กฤษณามระ)

ตร์จารย์อุปการะคุณ พระยาไชยยศสมบัติ (เสริม กฤษณามระ) เป็น อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) และอดีตคณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคนแรก และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพระยาไชยยศสมบัติ (เสริม กฤษณามระ) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 เจ้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 (Descendants of King Christian IX) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 6 พระองค์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (8 เมษายน พ.ศ. 2361 - 29 มกราคม พ.ศ. 2449 เสวยราชสมบัติ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406) โดยมีพระราชนัดดา 39 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 84 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ของทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก โดยทรงเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์อังกฤษ นอร์เวย์ เบลเยียม กรีซ โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย สเปน และรัสเซีย จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า พระสัสสุระแห่งยุโรป (Father-in-Law of Europe) สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 ทรงครองราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์กเป็นเวลานานเกือบ 50 ปี ในระหว่างปี..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี

ระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย: محمدرضا شاه پهلوی, พระราชสมภพ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1919 ณ เตหะราน ประเทศอิหร่าน – สวรรคต 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 ณ ไคโร ประเทศอียิปต์) หรือ จักรพรรดิชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี พระองค์ทรงเป็นชาห์แห่งอิหร่านซึ่งเป็นชาห์องค์สุดท้ายที่ปกครองอิหร่าน โดยพระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ปาห์ลาวีซึ่งเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองประเทศอิหร่านก่อนการปฏิวัติอิสลาม พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ได้รับการขนานพระนามเป็น ชาฮันชาห์ (Shahanshah ราชันย์แห่งราชา เทียบเท่าตำแหน่งจักรพรรดิ), อัรยาเมหร์ (Aryamehr แสงแห่งอารยัน) และ บอซอร์ก อาร์เตสตาราน (Bozorg Arteshtārān จอมทัพ, เปอร์เซีย:بزرگ ارتشتاران).

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์

ระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ (الملك فؤاد الثاني) (พระราชสมภพ 16 มกราคม ค.ศ. 1952-) กษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดาน และองค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ แห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลีองค์สุดท้าย โดยได้รับการสถาปนาเป็นกษัตริย์ขณะที่พระองค์มีพระชันษาเพียง 7 เดือน เนื่องจากพระราชบิดา คือ พระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ทรงประกาศสละราชสมบัต.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย

ระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย (Kalākaua) หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีเดวิด ลาอาเมอา คามานาคาปูอู มาฮีนูลานี นาไลอาเอฮูโอกาลานี ลูมีอาลานี คาลาคาอัว (David Laamea Kamanakapuu Mahinulani Nalaiaehuokalani Lumialani Kalākaua) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 7 แห่งราชอาณาจักรฮาวาย ต่อจากพระเจ้าลูนาลิโลแห่งฮาวาย พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกในราชวงศ์คาลาคาอัวและถือได้ว่าพระองค์เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีพระองค์สุดท้ายของฮาวาย เนื่องจากรัชกาลต่อจากพระองค์ซึ่งเป็นรัชกาลสุดท้ายดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชินีนาถ พระเจ้าคาลาคาอัวทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 1874 จนถึง 20 มกราคม 1891 โดยในระหว่างครองราชย์พระองค์ทรงได้รับฉายาว่า The Merrie Monarch.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟลีเปที่ 1 แห่งคาสตีล

ระเจ้าเฟลิเปที่ 1 แห่งคาสตีล (Felipe el Hermoso; Philipp der Schöne; Philippe le Beau; Filips de Schone, Philip I of Castile หรือ Philip the Handsome หรือ Philip the Fair) (22 กรกฎาคม ค.ศ. 1478 - 25 กันยายน ค.ศ. 1506) ฟิลิปผู้ได้รับพระฉายาว่า "ฟิลิปผู้ทรงโฉม" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และ แมรีแห่งเบอร์กันดี พระองค์ทรงได้รับดินแดนส่วนใหญ่ของดัชชีแห่งเบอร์กันดี และเนเธอร์แลนด์ของเบอร์กันดี (ในพระนาม "ฟิลิปที่ 4 แห่งเบอร์กันดี") จากพระราชมารดา และทรงได้ครองราชอาณาจักรคาสตีลอยู่ชั่วระยะหนึ่งเมื่อทรงเสกสมรสกับโจแอนนาแห่งคาสตีล ฟิลิปทรงเป็นราชตระกูลฮับส์บวร์กพระองค์แรกที่ได้ครองสเปน และผู้ครองสเปนต่อมาทรงรู้จักพระองค์ในพระนามว่า "พระเจ้าเฟลิเปที่ 1 แห่งสเปน" แต่ฟิลิปไม่ทรงได้รับดินแดนอื่นๆ ของพระราชบิดาหรือได้เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์เพราะมาเสด็จสวรรคตเสียก่อนพระร.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และพระเจ้าเฟลีเปที่ 1 แห่งคาสตีล · ดูเพิ่มเติม »

กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม

กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม (Defence Science and Technology Department: DSTD)เป็นหน่วยงานหนึ่งของสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ขึ้นตรงกับสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ตั้งอยู่ที่ อาคารสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (ศรีสมาน) ชั้น 3 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และกรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม · ดูเพิ่มเติม »

กวินพนธ์ พาณิชย์พงส์

ีระพงศ์ วาณิชย์วงศ์ เป็นนักร้อง, นักแสดง และนายแบบชาวไทย เป็นหนึ่งในสมาชิกวงบาซู สังกัดอาร์เอ.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และกวินพนธ์ พาณิชย์พงส์ · ดูเพิ่มเติม »

การลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ พ.ศ. 2518

การลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญเกาหลีใต้..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และการลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ พ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

การสังหารหมู่ในนครชิคาโกด้วยยาไทลินอล พ.ศ. 2525

้วยยาไทลินอล |.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และการสังหารหมู่ในนครชิคาโกด้วยยาไทลินอล พ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

การปรากฏตัวของมอร์นิงมุซุเมะ

รรยากาศคอนเสิร์ต ''วันเดอร์ฟูลฮาร์ทส 2006'' ของมอร์นิงมุซุเมะ (พ.ศ. 2549) ในฐานะภาพตัวแทนของช่องทางการปรากฏตัวของมอร์นิงมุซุเมะช่องทางหนึ่ง การปรากฏตัวของมอร์นิงมุซุเมะ เป็นการแสดงข้อมูลเกี่ยวกับปรากฏตัวทางรายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ ภาพยนตร์ ภาพยนตร์โฆษณา ละครเพลง วิดีโอเกม และผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ของกลุ่มนักร้องหญิงญี่ปุ่นแนวเจ-ป็อปที่ชื่อมอร์นิงมุซุเม.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และการปรากฏตัวของมอร์นิงมุซุเมะ · ดูเพิ่มเติม »

การเคหะแห่งชาติ (ประเทศไทย)

การเคหะแห่งชาติ (National Housing Authority) เป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2516.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และการเคหะแห่งชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์

กุมภาพันธ์ เป็นเดือนที่ 2 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นเดือนที่มีจำนวนวัน 28 หรือ 29 วัน โดยปกติจะมี 28 วัน ยกเว้นปีอธิกสุรทินที่มี 29 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกุมภาพันธ์เริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกุมภ์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีมีน แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกุมภาพันธ์ดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวแพะทะเล และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำในปลายเดือน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และกุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

กูกอล

กูกอล (อังกฤษ: googol) หมายถึง จำนวนมหาศาล (large number) จำนวนหนึ่งซึ่งมีค่าเท่ากับ 10100 นั่นคือมีเลข 1 แล้วตามด้วยเลข 0 อีก 100 ตัวในเลขฐานสิบ หรือเท่ากับ 10,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000 คำนี้ถูกกำหนดขึ้นในปี ค.ศ. 1920 โดยเด็กอายุ 9 ขวบชื่อว่า มิลทัน ซิรอตทา (Milton Sirotta) หลานชายของนักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกัน เอดเวิร์ด แคสเนอร์ (Edward Kasner) ซึ่งแคสเนอร์เป็นคนเสนอแนวความคิดนี้ให้เป็นที่รู้จักในหนังสือ Mathematics and the Imagination (คณิตศาสตร์กับจินตนาการ) กูกอลมีอันดับของปริมาณ (order of magnitude) เท่ากับแฟกทอเรียลของ 70 (70! ≈ 1.198 กูกอล ≈ 10100.0784) และตัวประกอบเฉพาะของกูกอลก็มีเพียง 2 กับ 5 เป็นจำนวน 100 คู่ สำหรับเลขฐานสองต้องใช้ถึง 333 บิตในการบันทึกค่านี้ กูกอลมักไม่มีนัยสำคัญในทางคณิตศาสตร์โดยเฉพาะ แต่ก็อาจมีประโยชน์เมื่อใช้เปรียบเทียบกับปริมาณมหาศาลอื่นๆ เช่น จำนวนอนุภาคภายในอะตอมในเอกภพที่มองเห็น หรือจำนวนความน่าจะเป็นทั้งหมดของการเล่นหมากรุก แคสเนอร์สร้างขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างจำนวนมหาศาลกับอนันต์ กูเกิล (Google) ที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องมือค้นหาบนอินเทอร์เน็ต ได้รับแรงบันดาลใจจากชื่อของจำนวนนี้ แลร์รี เพจ (Larry Page) หนึ่งในผู้ก่อตั้งกูเกิลกล่าวว่า เขาหลงใหลในคณิตศาสตร์และจำนวนกูกอล แต่เขาก็ตั้งชื่อเว็บไซต์เป็น "กูเกิล" ด้วยเหตุที่ว่าเขาสะกดชื่อผ.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และกูกอล · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามวยปล้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬามวยปล้ำ (Wrestling) มีมาตั้งแต่โอลิมปิกสมัยโบราณ และถือว่าเป็นการแข่งขันที่เก่าแก่ที่สุดในบรรดากีฬาทั้งหลาย เมื่อโอลิมปิกสมัยโบราณเกิดขึ้นในปี 776 ก่อนคริสตกาล มวยปล้ำก็เป็นกีฬาชนิดหนึ่งที่รวมอยู่ด้วยและก็ยังเป็นกีฬาหลักสืบต่อมา เมื่อเข้าสู่โอลิมปิกยุคปัจจุบันที่เริ่มในปี ค.ศ. 1896 คณะกรรมการจัดการแข่งขันมีความคิดที่จะพยายามเชื่อมโยงไปถึงสมัยโบราณโดยเสาะหากีฬาที่นิยมกันในทุกหย่อมหญ้า สร้างความบันเทิงให้แก่ผู้คนในสมัยนั้น ไม่ว่าในกรีซ อาณาจักรอัสซีเรีย บาบีลอน ตลอดจนอินเดีย จีน และญี่ปุ่น แล้วในที่สุด พวกเขาก็ได้พลิกฟื้นกีฬามวยปล้ำแบบที่เชื่อว่าพวกกรีก กับโรมันนิยมในสมัยก่อน เรียกว่า มวยปล้ำสไตล์เกร๊กโก-โรมัน (Greco-Roman) ให้คืนชีพขึ้นมา สไตล์นี้นักมวยปล้ำจะใช้แต่แขนและส่วนที่อยู่เหนือเอวขึ้นไปในการต่อสู้ และการจับคู่ต่อสู้ก็ต้องจับที่บริเวณแขนหรือส่วนบนของลำตัวเท่านั้น มวยปล้ำเกร๊กโก-โรมันนั้นเป็นที่นิยมในทวีปยุโรป ต่อมาในโอลิมปิกครั้งที่ 3 ที่เซนต์หลุยส์ สหรัฐอเมริกา ปี 1904 ก็เกิดมวยปล้ำสไตล์ใหม่ขึ้นมา เรียกว่า แบบฟรีสไตล์ (Freestyle) ซึ่งอนุญาตให้ใช้ขาได้ โดยได้รับความนิยมจากทั่วโลกมากกว่าแบบแรก เพราะสามารถใช้ทุกส่วนของร่างกายได้ มวยปล้ำแบบฟรีสไตล์ถูกงดในโอลิมปิก 1912 ที่สวีเดน ให้มีแต่แบบเกร๊กโก-โรมัน ซึ่งก็เป็นเพียงครั้งเดียวเท่านั้น ซึ่งในสมัยนั้นยังไม่มีการกำหนดเวลาแบ่งเป็นยก ตลอดระยะเวลาหลายปีนักมวยปล้ำจากทวีปยุโรปครองความเป็นจ้าวในมวยปล้ำแบบเกร๊กโก-โรมัน ส่วนแบบฟรีสไตล์นั้นไม่มีชาติใดโดดเด่นแต่เพียงผู้เดียว และล่าสุด เมื่อวันที่ 12 กุมภาพัน..2013 ในการประชุมใหญ่สามัญประจำปีของคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ได้มีมติ ให้ถอดถอนการแข่งขันกีฬาชนิดนี้ ออกจากการเป็นหนึ่งในชนิดกีฬาของการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน โดยจะมีผล หลังจากจบการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 ซึ่งหมายความว่า นับจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2020เป็นต้นไป จะไม่มีการแข่งขันกีฬามวยปล้ำในโอลิมปิกต่อไป หมวดหมู่:ชนิดกีฬาในโอลิมปิกฤดูร้อน หมวดหมู่:มวยปล้ำ.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และกีฬามวยปล้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาว 1978

กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาว 1978 (1978 Winter Universiade) หรือการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาวครั้งที่ 9 เป็นการแข่งขันกีฬาของนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยทั่วโลกที่มีการแข่งขันกีฬาหลายชนิด จัดขึ้นที่ Špindlerův Mlýn เชคโกสโลวาเกีย ระหว่างวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ถึง 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาว 1978 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาใน พ.ศ. 2549

กีฬาใน พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และกีฬาใน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ก่งจินโอว

ก่งจินโอว เป็นชื่อของเพลงชาติเพลงแรกของประเทศจีน ซึ่งถือกำเนิดขึ้นในระยะสุดท้ายของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์ชิง เพลงนี้ได้ใช้เป็นเพลงชาติเพียงระยะเวลาไม่นาน เนื่องจากสาธารณรัฐจีนสามารถโค่นล้มรัฐบาลจีนราชวงศ์ชิงได้สำเร็จ ชื่อของเพลงก่งจินโอว หากแปลโดยศัพท์จะแปลได้ว่า "ถ้วยทองแกร่ง" แต่ถ้าแปลเอาความหมาย จะหมายความว่า "ขอให้จักรวรรดิของเราจงเข้มแข็ง" ทำนองเพลงประพันธ์โดย ผู่ ถง (溥侗) นายทหารระดับสูงในกรมทหารรักษาพระองค์ ส่วนเนื้อร้องซึ่งเขียนขึ้นด้วยอักษรจีนตัวเต็มนั้นประพันธ์โดย เหยียน ฟู่ (嚴復) ผู้บัญชาการทหารเรือแห่งจักรพรรดินาวีต้าชิง โดยมี กัว เฉิงซิน (郭曾炘) เสนาบดีกระทรวงราชพิธี เป็นผู้ปรับปรุงเล็กน้อยและเรียบเรียงดนตรี เพลงก่งจินโอวได้รับการรับรองให้เป็นเพลงชาติโดยรัฐบาลต้าชิง เมื่อวันที่ 13 เดือน 8 แห่งรัชกาลจักรพรรดิเซวียนถ่ง ปีที่ 3 (ตรงกับวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1911 ตามปฏิทินเกรกอเรียน) อย่างไรก็ตาม ในอีก 6 วันถัดมาได้เกิดการจลาจลที่เมืองอู่จาง (Wuchang Uprising) ซึ่งนำไปสู่การสิ้นสุดการปกครองของราชวงศ์ชิงด้วยการประกาศสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1912 และติดตามด้วยการสละราชสมบัติของจักรพรรดิเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ปีเดียวกัน ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าวทำให้เพลงนี้ไม่มีฐานะเกียรติยศใดๆ อีกต่อไป เนื่องจากเนื้อหาในเพลงนี้กล่าวสรรเสริญราชวงศ์ชิงโดยเฉพาะ จึงจัดได้ว่าเพลงนี้ควรนับเข้าเป็นเพลงสรรเสริญพระบารมี (Royal anthem) ได้เช่นกัน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และก่งจินโอว · ดูเพิ่มเติม »

ภาณุ อุทัยรัตน์

นายกองเอกภาณุ อุทัยรัตน์ ผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้อดีตเลขานุการผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กรรมการธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย อดีตเลขาธิการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) และอดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจำ (นักบริหารระดับสูง) อดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทยอดีตที่ปรึกษาด้านความมั่นคง(เจ้าหน้าที่นโยบายและแผน10 ชช) สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย และเป็นเลขาธิการคนแรกของ ศอ.บต.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และภาณุ อุทัยรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

มันถูกอยู่แล้ว

"มันถูกอยู่แล้ว" เป็นซิงเกิลในปี พ.ศ. 2559 ของนักร้องสิงโต นำโชค สังกัดค่ายวอทเดอะดัก ประพันธ์เนื้อร้องโดย สิงโต นำโชค,สถาปัตย์ ธีรนิตยภาพ (ตั้ม โมโนโทน) ทำนองโดย สิงโต นำโชค และเรียบเรียงโดย Kijjaz (กิจจาศักดิ์ ตริยานนท์), สิงโต นำโชค ออกจำหน่ายในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 เนื้อหาของเพลงพูดถึงมุมมองของคนโสด ที่บางครั้งอาจเคยเกิดคำถามขึ้นในใจว่า ทำไมเราถึงไม่มีใคร? ทำไมเราต้องอยู่คนเดียว? จนเกิดการตัดพ้อ น้อยใจกับชีวิต ซึ่งความเป็นจริงก็ไม่ต้องไปคิดแบบนั้นก็ได้ เพราะทุกสิ่งที่เกิดขึ้นมันถูกของมันตั้งแต่แรกอยู่แล้ว สิงโต จึงอยากให้เพลงนี้ ช่วยบรรเทาและเยียวยาจิตใจของเหล่าคนโสด ให้ผ่านพ้นช่วงเวลาเหล่านั้นไปให้ได้.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และมันถูกอยู่แล้ว · ดูเพิ่มเติม »

มาลา คำจันทร์

มาลา คำจันทร์ เป็นนามปากกาของ เจริญ มาลาโรจน์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และมาลา คำจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาสค์ไรเดอร์คิบะ

มาสค์ไรเดอร์คิบะ เป็นชื่อของ ภาพยนตร์ญี่ปุ่น แนว โทคุซัทสึ ในซีรีส์ มาสค์ไรเดอร์ ประจำปี 2008 เป็นลำดับที่18 โดย โตเอะ คัมปะนี และ อิชิโนะโมะริ โปรดักชั่นส์ เริ่มออกอากาศวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 2008 ต่อจากตอนสุดท้ายของ "มาสค์ไรเดอร์เดนโอ" โดยออกอากาศทางทีวีอาซาฮี ในช่วง ซูเปอร์ฮีโร่ ไทม์ ร่วมกับ "เอนจิน เซนไท โกออนเจอร์" โดยธีมหลักของซีรีส์นี้เป็นแนวสยองขวัญ โดยให้ภาพลักษณ์แก่คิบะเป็น แวมไพร์ สโลแกนประจำซีรีส์นี้คือ "จงตื่นขึ้น! ปลดปล่อยพันธนาการแห่งโชคชะตา" โดยตอนแรกที่ออกอากาศนั้นได้มีการระลึกวันคล้ายวันเกิดปีที่ 70 ของ อิชิโนะโมะริ โชทาโร่ ในซีรีส์อีกด้วย มาสค์ไรเดอร์คิบะออกอากาศเมื่อวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 2008 ถึงวันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 2009 โดยออกอากาศทั้งหมด 48 ตอนและมีภาพยนตร์ตอนพิเศษอีก 2 ตอนคือ มาสค์ไรเดอร์เดนโอ & คิบะ ไคลแม็กซ์เดกะ (劇場版 仮面ライダー電王&キバ クライマックス刑事) และ มาสค์ไรเดอร์คิบะ ราชาแห่งปราสาทนรก (劇場版 仮面ライダーキバ 魔界城の王) ในประเทศไทย ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์เริ่มวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2554- 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 โดยออกอากาศทุกวันเสาร์เวลา 7:35 น. และได้กลับมาออกอากาศที่ช่องการ์ตูนคลับอีกครั้งในปี 2556 ทางช่องการ์ตูนคลั.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และมาสค์ไรเดอร์คิบะ · ดูเพิ่มเติม »

มาเรีย หลุยส์แห่งออร์เลอองส์ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

มาเรีย หลุยส์แห่งออร์เลอองส์ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน (Princess Marie Louise of Orléans) (26 มีนาคม ค.ศ. 1662 - 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1689) มาเรีย หลุยส์แห่งออร์เลอองส์ประสูติเมื่อวันที่ 26 มีนาคม ค.ศ. 1662 ที่พระราชวังหลวงในกรุงปารีสในฝรั่งเศส เป็นพระธิดาในฟิลิปป์ที่ 1 ดยุคแห่งออร์เลอองส์และเฮนเรียตตา แอนน์ สจวตผู้เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ และ พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรีย มาเรีย หลุยส์เป็นพระอัครมเหสีองค์ที่แรกในพระเจ้าคาร์โลสที่ 2 แห่งสเปน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และมาเรีย หลุยส์แห่งออร์เลอองส์ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์หมาป่า ราชันย์อำมหิต

มนุษย์หมาป่า ราชันย์อำมหิต หรือ The Wolfman เป็นภาพยนตร์ฮอลลัสู้ดที่นำต้นฉบับภาพยนตร์เขย่าขวัญในชื่อเดียวกันเมื่อปี พ.ศ. 2484 กลับมาทำใหม่ โดยผู้กำกับโจ จอห์นสตัน นำแสดงโดย เบนิซิโอ เดล โทโร่, แอนโทนี ฮ็อปกินส์, เอมิลี่ บลันท์, ฮิวโก วีฟวิง และเจอราดีน แชปลิน แต่เดิมมีกำหนดฉายในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 แต่ได้เลื่อนมาเข้าฉายวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และมนุษย์หมาป่า ราชันย์อำมหิต · ดูเพิ่มเติม »

ยัวร์บอยทีเจ

รายุทธ ผโลประการ ชื่อเล่น เต๋า หรือรู้จักกันในนาม UrboyTJ (ยัวร์บอยทีเจ) เกิด 20 สิงหาคม พ.ศ. 2535 เป็นนักร้องและนักดนตรี อดีตสมาชิกวงทรี.ทู.วัน มีผลงานที่เป็นที่รู้จักที่ร่วมทำอย่าง "รักต้องเปิด (แน่นอก)" หลังหมดสัญญากับ อาร์เอส ได้มาผันตัวเป็นแร็ปเปอร์ในนาม UrboyTJ มีผลงานซิงเกิ้ลที่เป็นที่ติดหูอย่าง เค้าก่อน, วายร้าย,คิดดัง,รังเกียจกันไหม.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และยัวร์บอยทีเจ · ดูเพิ่มเติม »

ยุอิ อะระงะกิ

อิ อะระงะกิ (Yui Aragaki; 新垣結衣) เกิด 11 มิถุนายน พ.ศ. 2531 เป็นนักแสดง นักร้อง นางแบบ นักพากย์และโฮสรายการวิทยุ เกิดที่ เมืองนะฮะ, โอกินาวะ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเธอเป็นไอดอลที่เป็นที่ชื่นชอบของคนญี่ปุ่น การศึกษา เธอจบปริญญาตรีจาก Meiji University หรือมหาวิทยาลัยเมจิ ยุอิเป็นที่รู้จักในนาม "กั๊กกี้" (ガッキー) ซึ่งเป็นชื่อเล่นที่อายาโกะ เอโนโมโตะเป็นผู้ตั้งให้ในปี 2544 ด้วยความที่เธอเป็นผู้ที่มีรสนิยมในการแต่งตัวดีและมีบุคลิกมีเหตุมีผล เธอจึงได้รับความนิยมจากแฟน ๆ ในวงกว้าง อีกทั้งเธอยังได้รับเลือกให้เป็น 1 ในผู้ที่มีใบหน้าสวยงามอีกด้วย ในบรรดาไอดอลที่มีอายุน้อยกว่า 20 ปีอย่าง มากิ โฮริคิตะ ยุอิได้รับเลือกให้เป็นนักแสดงที่น่าจับตามองที่สุด กั๊กกี้ได้เข้าวงการจากการประกวดนางแบบในหนังสือแฟชั่นวัยรุ่น "นิโคลา" และเธอก็ได้รับรางวัลชนะเลิศในการประกวดครั้งนั้น หลังจากนั้นเธอได้เข้ามาเป็นนางแบบให้กับนิตยสารดังกล่าว หรือที่รู้จักในนาม "นิโคโม" ในปี พ.ศ. 2547 กั๊กกี้ได้ขยายสายงานของอาชีพนางแบบไปถ่ายชุดว่ายน้ำ ออกรายการวาไรตี้ต่าง ๆ และเริ่มงานด้านการแสดง พ.ศ. 2548 เธอได้ออกจากการเป็นนางแบบให้กับนิตยสารอย่างเป็นทางการ และในปีเดียวกันกั๊กกี้ได้มีผลงานการแสดงเรื่อง "นายซ่า ท้าเด็กแนว" (Dragon Zakura) ทางช่อง ทีบีเอส รวมกับโทโมฮิสะ ยามาชิตะ และมาซามิ นางาซาวะ ซึ่งละครเรื่องนี้เป็นจุดเริ่มต้นอาชีพทางการแสดงของเธอ หลังจากนั้นเธอได้มีไปออกรายการทางช่องต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น คาโนโจ โนะ โค่ยบุมิ, แกล เซอเคิล และ มาย บอส มาย ฮีโร่ ถึงแม้ว่าเธอจะออกจากการเป็นนางแบบให้กับทางนิตยสาร "นิโคลา" แล้ว แต่เธอก็ยังไปขึ้นปกให้กับทางนิตยสารเป็นบางครั้ง นอกจากนี้กั๊กกี้ยังเป็นพรีเซนเตอร์ให้กับโฆษณาต่าง ๆ มากมาย ซึ่งโฆษณาที่มีชื่อเสียงที่สุดชิ้นหนึ่งของเธอคือโฆษณา "ป๊อกกี้" เมื่อไม่นานมานี้กั๊กกี้ได้เริ่มต้นอาชีพนักร้องโดยร้องเพลง "เมมโมรี่ส์" (Memories) ซึ่งเป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง "โด่ยซุรุ มาโดริ" (Koisuru Madori) ที่เธอแสดงนำ อีกทั้งเธอยังได้ออกเพลงชื่อ "แฮฟเวนลี่ เดย์" (Heavenly Days) ซึ่งใช้ประกอบภาพยนตร์เรื่อง "รักเร...นิรันดร" (Sky of Love) ที่เธอได้แสดงนำเช่นกัน และในปีเดียวกันได้มีการคอนเฟิร์มว่าเธอจะออกอัลบั้มแรกในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 และมีการแสดงเปิดตัวที่ บุโดกัน ซึ่งถือว่าเป็นนักร้องคนที่ 3 ที่ได้แสดงเปิดตัวที่นี่ โดยการออกอัลบั้มครั้งนี้เป็นการออกก่อนซิงเกิลเปิดตัว ซึ่งถือว่าค่อนข้างแตกต่างจากไอดอลคนอื่น ๆ ที่จะออกซิงเกิลเปิดตัวก่อนแล้วจึงออกอัลบั้มเปิดตัว ปีพ.ศ. 2550 ถือว่าเป็นปีแห่งความเครียดของเธอเลยทีเดียวเพราะว่าเธอมีงานแสดง 4 งาน คือภาพยนตร์ 1 เรื่องและละคร 3 เรื่อง และการอัดเสียงอัลบั้มเดบิวในปีเดียวกันทั้งหมด จากการโหมงานหนักนี้เองทำให้เธอป่วยจากความเครียดและนอนไม่เพียงพอ แต่อาการป่วยทั้งหมดก็ไม่ได้หยุดเธอจากความรับผิดชอบในการทำงานทั้งหมด จากข้อความในบล็อกของเธอในเดือนพฤศจิกายน เธอได้เขียนไว้ว่าหายจากอาการป่วยแล้วและจะปิดบล็อกของเธอหลังจากวันเกิดครบ 20 ปี นอกจากงานถ่ายแบบ งานแสดง และร้องเพลงแล้ว กี๊กกี้ยังเป็นโฮสจักรายการวิทยุช่วงหนึ่งชื่อ "สคูล ออฟ ล็อกส์! เกิร์ล ล็อกส์!" (SCHOOL OF LOCKS!. GIRLS LOCKS!) โดยช่วงนี้ของรายการดังกล่าวจะนำไอดอลที่มีชื่อเสียงอย่างเช่น มากิ โฮริคิตะ, นานะ เออิคุระและ เอริกะ โทดะมาร่วมจัดรายการ โดยผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนไปเรื่อย ๆ กั๊กกี้ได้เปิดตัวในฐานะนักร้องจากการออกอัลบั้มชื่อ "โซระ" (Sora) ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ในอัลบั้มนี้ประกอบด้วย 2 เพลงที่เธอได้ร้องก่อนหน้านี้คือ "เมมโมรี่" (Memories) และ "แฮฟเวนลี่ เดย์" (Heavenly Days) และเธอได้มีการแสดงไลฟ์ครั้งแรกที่ นิปปอน บุโดกัน ในวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2550 แต่เธอไม่ได้เข้าร่วมร้องเพลงในงาน แดง-ขาว ครั้งที่ 58 (58th Annual Kōhaku Uta Gassen) โดยกั๊กกี้ได้รับเชิญให้เป็นแขกรับเชิญร่วมกับอาโออิ มิยาซากิ และอีก 9 คนที่มีงานในช่วงปีพ.ศ. 2550 วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 กั๊กกี้ได้รับรางวัลนักแสดงหน้าใหม่ในงาน บลู ริบบอน อวอร์ด ครั้งที่ 50 (50th Blue Ribbon Awards) ซึ่งก่อนหน้านี้เธอเคยได้รับรางวัลนักแสดงหน้าใหม่จากสถาบันอื่นมาแล้วถึง 4 ครั้ง จากบทแสดงนำในภาพยนตร์ 3 เรื่อง โค่ยซุรุ มาโดริ, วารุ โบโระ, และ รักเร...นิรันดร (Sky of Love) ในวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2551 เธอก็ได้รับรางวัล โกลเด้น แอร์โรว์ อวอร์ด ซึ่งรางวัลนี้เป็นรางวัลที่ 6 เธอได้รับจากการแสดงภาพยนตร์ 3 เรื่อง ในปีพ.ศ. 2551 เธอได้ออกซิงเกิลมา 2 ซิงเกิลคือ เมค มาย เดย์ และ อะไค อิโตะ เมื่อไม่นานมานี้กรรมการฝ่ายการตลาดของ วอร์นเนอร์มิวสิคสิงคโปร์ ได้ตั้งเป้าไว้ว่าจะดันให้เธอกลายเป็นทาคาโกะ มัตสึคนใหม.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และยุอิ อะระงะกิ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการปราบเมียน้อย

ทธการปราบเมียน้อย เป็นละครโทรทัศน์แนวดราม่า บทประพันธ์ของ ไพโรจน์ สังวริบุตร บทโทรทัศน์โดย ตุณย์, ปัทมาพร เคนผาพงษ์ กำกับการแสดงโดย สมดุลย์ จันทรบุตร ผลิตโดย บริษัท เอ็กแซ็กท์ จำกัด ออกอากาศทุกวัน เสาร์–อาทิตย์ เวลา 17.40 - 18.25 น. ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำแสดงโดย จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์, จันทร์จิรา จูแจ้ง และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย เริ่มตอนแรกวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2547–12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และยุทธการปราบเมียน้อย · ดูเพิ่มเติม »

รอยัลรัมเบิล (2012)

รอยัลรัมเบิล (2012) เป็นรายการมวยปล้ำอาชีพศึกใหญ่ หรือ เพย์-เพอร์-วิว ของ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี ในปี 2012 ซึ่งจะจัดเป็นปีที่ 25 แล้ว สถานที่จัดคือ สก๊อตเทรด เซ็นเตอร์ ใน เซนต์หลุยส์, รัฐมิสซูรี สหรัฐอเมริกา โดยจะจัดในวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2555 ซึ่งจัดหลังจากทีแอลซี: เทเบิล แลดเดอร์ แอนด์ แชร์ (2011) โดยจะมีแมตช์การปล้ำรอยัลรัมเบิล สำหรับประเทศไทย ศึกรอยัลรัมเบิลมีออกอากาศทางทรูวิชั่นส์ ช่องทรูสปอร์ต ในวันอาทิตย์ที่ 12 กุมภาพันธ์ 2012 ซึ่งช้ากว่าสหรัฐอเมริกาถึง 2 สัปดาห.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรอยัลรัมเบิล (2012) · ดูเพิ่มเติม »

ระเบิดเถิดเทิง ลั่นทุ่ง

ระเบิดเถิดเทิง ลั่นทุ่ง เป็นรายการซิทคอมควบคู่กับเกมโชว์ ซึ่งผลิตโดยบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ออกอากาศทางช่อง 5 ออกอากาศเวลา 13.55 - 15.20 น. เป็นประจำทุกวันอาทิตย์ โดยเริ่มออกอากาศในตอนแรก (ตอนที่ 747) ในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2553 และตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 รายการระเบิดเถิดเทิงลั่นทุ่งจะเลื่อนเวลาการออกอากาศเป็นเวลา 12.00 -13.25 น. คำว่า ลั่นทุ่ง ในชื่อ"ระเบิดเถิดเทิงลั่นทุ่ง" นั้น หมายถึง หมู่บ้านลั่นทุ่ง ซึ่งเป็นชื่อหมู่บ้านที่เกิดเรื่องราวความโกลาหลต่างๆในเรื่อง ระเบิดเถิดเทิง.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และระเบิดเถิดเทิง ลั่นทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณ.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย

รายนามเสนาบดีว่าการกรมพระคลังมหาสมบัติ, เสนาบดีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไท.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2435 ในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยในช่วงนั้น เรียกตำแหน่งนี้ว่า เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย จนกระทั่งหลังจากเหตุการณ์ การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 จึงได้เปลื่ยนชื่อตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีฐานะเป็นประธานกรรมการและผู้บัญชาการ กองอาสารักษาดินแดน โดยตำแหน่ง และมียศเป็นนายกองใหญ่ ซึ่งเป็นชั้นยศสูงสุดของกองอาสารักษาดินแดน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอิสราเอลในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รัฐอิสราเอล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรัฐอิสราเอลในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอิสราเอลในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รัฐอิสราเอล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรัฐอิสราเอลในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ราชรัฐลักเซมเบิร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐลิกเตนสไตน์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ราชรัฐลิกเตนสไตน์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และราชรัฐลิกเตนสไตน์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐลิกเตนสไตน์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ราชรัฐลิกเตนสไตน์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และราชรัฐลิกเตนสไตน์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐอันดอร์ราในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ราชรัฐอันดอร์รา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และราชรัฐอันดอร์ราในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐอันดอร์ราในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ราชรัฐอันดอร์รา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และราชรัฐอันดอร์ราในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ราชรัฐโมนาโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ราชรัฐโมนาโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเนปาลในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ราชอาณาจักรเนปาล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และราชอาณาจักรเนปาลในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบทความวันนี้ในอดีต

รายชื่อบทความวันนี้ในอดีต.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรายชื่อบทความวันนี้ในอดีต · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

งประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในวัยซนคนการ์ตูน (อะนิเมะ)

รายชื่อตอนของอะนิเมะเรื่อง วัยซนคนการ์ตูน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรายชื่อตอนในวัยซนคนการ์ตูน (อะนิเมะ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในเบ็นเท็น: อัลติเมทเอเลี่ยน

รายชื่อตอนของการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกาเรื่องเบ็นเท็น: อัลติเมทเอเลี่ยน ประกาศเตือน! ผู้ใดก็ตามที่เข้ามาทำการแก้ไขบทความนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต โดยทาง วิกิพีเดีย ได้ตรวจพบผู้ที่ไม่รู้ข้อมูลที่แท้จริงได้เข้ามาแก้ไขบทความอย่างผิดๆ ทางเราจะทำการบันทึกไอพีของผู้ที่แก้ไขไว้ กรุณาอย่าทำการแก้ไข;บทความนี้มีผู้รู้ข้อมูลที่แท้จริง ดูแลอยู่แล้ว กรุณาอย่าทำการแก้ไข-->.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรายชื่อตอนในเบ็นเท็น: อัลติเมทเอเลี่ยน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในเนตรเพลิงชานะ

ทความนี้เป็นรายชื่อตอนของอะนิเมะเรื่อง เนตรเพลิงชานะ ฉายครั้งแรกในญี่ปุ่นระหว่างวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2548 ถึงวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2549 โดยมีตอนพิเศษ 4 ตอน และโอวีเอ จำหน่ายเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรายชื่อตอนในเนตรเพลิงชานะ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในสามพลังป่วนพิทักษ์โลก

ตัวละครจากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง สามพลังป่วนพิทักษ์โลก.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรายชื่อตัวละครในสามพลังป่วนพิทักษ์โลก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ

ต่อไปนี้คือรายพระปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ซึ่งในปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และประเทศในเครือจักรภพ สำหรับรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะซึ่งประกอบกันเป็นสหราชอาณาจักรปัจจุบันดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระสันตะปาปา

รายพระนามสมเด็จพระสันตะปาปาแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก เรียงตามวันที่ได้รับแต่งตั้ง.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรายพระนามพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ชิง

* พระนามเดิม จักรพรรดิราชวงศ์ทรงอยู่ในราชสกุล อ้ายซินเจว๋หลัว (อักษรจีนตัวย่อ: 爱新觉罗; อักษรจีนตัวเต็ม: 愛新覺羅; พินอิน: àixīn juéluó) แต่ตามปฏิบัติของชาวแมนจู การเรียกชื่อไม่จำเป็นต้องรวมนามสกุล.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ประเทศลักเซมเบิร์กปกครองโดยเจ้าผู้ครองราชรัฐซึ่งมีฐานันดรศักดิ์เป็นเคานต์ ดยุก และแกรนด์ดยุก ตามลำดับ ในอดีตเป็นรัฐนี้ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเยอรมนีและจากนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งได้ปกครองตนเองในปี พ.ศ. 2358.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 1 ของไทย ประกอบด้วยกรรมการราษฎร จำนวน 14 คน และหัวหน้ารัฐบาลเรียกว่า "ประธานคณะกรรมการราษฎร" เทียบเท่าตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ต่อมาตั้งแต่คณะรัฐมนตรีคณะที่ 2 ได้เปลี่ยนชื่อตำแหน่งจาก "กรรมการราษฎร" เป็น "รัฐมนตรี" โดยมีทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง และ รัฐมนตรี (ช่วยราชการกระทรวงต่างๆ แต่ไม่ได้ระบุชื่อกระทรวงในชื่อตำแหน่ง หรือ "รัฐมนตรีลอย") คณะรัฐมนตรีคณะสุดท้ายที่มีตำแหน่งรัฐมนตรี ที่ไม่ได้ประจำกระทรวง คือ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 28 ของไทย เมื่อ..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนักมวยแชมป์โลกชาวไทย

ต.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรายนามนักมวยแชมป์โลกชาวไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามเลขาธิการคณะรัฐมนตรีของไทย

ลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ระดับ 11 (ประเภทบริหาร ระดับสูง) สังกัดสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ทำหน้าที่ปฏิบัติงานในส่วนของการประชุม และให้บริการคณะรัฐมนตรีทั้งคณะ การนำมติคณะรัฐมนตรีที่ไม่อยู่ภายใต้กระทรวงใดไปปฏิบัติ เช่น การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ การเปิดและปิดสมัยประชุมสภา เป็นต้น ตำแหน่งเลขาธิการคณะรัฐมนตรีนี้มักสับสนกับตำแหน่งเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ซึ่งปฏิบัติงานเฉพาะในส่วนของนายกรัฐมนตรี และรองนายกรัฐมนตรีเท่านั้น.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และรายนามเลขาธิการคณะรัฐมนตรีของไทย · ดูเพิ่มเติม »

วัดราษฎร์บูรณะ (จังหวัดปัตตานี)

วัดราษฎร์บูรณะ เดิมชื่อ วัดช้างให้ ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำบลควนโนรี อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ตามพระราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 74 ตอน 15 หน้า 451 - 252 เขตวิสุงคามสีมา ยาว 80 เมตร กว้าง 40 เมตร เนื้อที่จำนวน 12 ไร่ ทำพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันเสาร์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2501 ตรงกับวันขึ้น 13 ค่ำ.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และวัดราษฎร์บูรณะ (จังหวัดปัตตานี) · ดูเพิ่มเติม »

วันเอกราช

วันประกาศเอกราช หรือ วันได้รับเอกราช เป็นวันเฉลิมฉลองเพื่อระลึกถึงสถานภาพความเป็นรัฐของชาติ โดยทั่วไปเกิดขึ้นหลังจากรอดพ้นจากการตกเป็นอาณานิคมของรัฐอื่น ส่วนใหญ่กำหนดให้เป็นวันหยุดของชาต.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และวันเอกราช · ดูเพิ่มเติม »

วิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

้าหญิงวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก (Princess Victoria Eugenie of Battenberg; พระนามเต็ม วิกตอเรีย ยูจีนี จูเลีย เอนา; 24 ตุลาคม พ.ศ. 2430 - 15 เมษายน พ.ศ. 2512) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีในพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 13 แห่งสเปน และพระราชนัดดาพระองค์หนึ่งในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย นอกจากนี้สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน ยังเป็นพระราชนัดดาของพระองค์อีกด้ว.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

วินโดวส์โมบาย

วินโดวส์โมบาย (Windows mobile (ออกเสียงว่า วินโดวส์โมเบิล)) คือระบบปฏิบัติการที่เล็กกะทัดรัดประกอบด้วยชุดแอปฟลิเคชั่นพื้นฐาน สำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ บน Microsoft Win32 API อุปกรณ์ที่ใช้ระบบวินโดวส์โมบายมี พ็อกเก็ตพีซี,สมาทโฟน,พอร์เทเบิลมีเดียเซ็นเตอร์ ออนบอร์ดคอมพิวเตอร์ เพื่อจะเป็นอุปกรณ์เคลื่อนที่ทำงานอัตโนมัติอย่างแท้จริง มันถูกออกแบบให้มีระบบปฏิบัติการคล้ายวินโดวส์บนเครื่องพีซีทั่วไป เช่น จุดเด่น แบบอย่าง และความเกี่ยวข้องกัน ส่วนที่พัฒนาซอฟต์แวร์คือ ความพิเศษสำหรับวินโดวส์โมบาย ต้นกำเนิดของระบบปฏิบัติการวินโดวส์โมบายคือ ระบบปฏิบัติการ Pocket PC 2000 วินดดวส์โมเบิลได้มีการอับเดทในเวลาต่อมา ซึ่งแนวโน้วตอนนี้คาดว่าจะเป็นระบบปฏิบัติการวินโดวส์โมบาย6 เป็นเวอร์ชันใหม่สำหรับปี2008.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และวินโดวส์โมบาย · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิรัตน์ ธนสุคนธสิทธิ์

ปุณณรัตน์ กลิ่นสุคนธ์ เป็นนักฟุตบอลชาวไท่ยของสโมสรฟุตบอลอินทรีเพื่อนตำรวจ สวมเสื้อหมายเลข 28 เล่นในตำแหน่งกองหลัง.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และวุฒิรัตน์ ธนสุคนธสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณย์วุฒิ ศรัณย์เกตุ

นายศรัณย์วุฒิ ศรัณย์เกตุ (ชื่อเดิม ศรัณย์ ศรัณย์เกตุ) (เกิด 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอุตรดิตถ์ เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2548 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และศรัณย์วุฒิ ศรัณย์เกตุ · ดูเพิ่มเติม »

ศุภนาฎ จิตตลีลา

นาฎ จิตติลีลา (เกิด: 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ที่เทศบาลเมืองโพธาราม อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี) นักแสดงหญิงชาวไทยในรูปลักษณ์ของสาวหล่อ หรือทอมบอย หน้า 13 ต่อหน้า 1, พ่อแม่ตายคากองเพลิง 'ติ๊นา'ช็อก! ดาราสาวหล่อเศร้าสล.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และศุภนาฎ จิตตลีลา · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล

มศักดิ์ เจียมธีรสกุล เป็นนักประวัติศาสตร์ชาวไทยที่มีความสนใจด้านประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัยโดยเฉพาะประวัติศาสตร์ไทยยุคใกล้ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา สมศักดิ์ยังเคยดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นระยะเวลาหลายปีก่อนถูกไล่ออกจากเหตุละทิ้งราชการในช่วงของการลี้ภัยแม้ว่าสมศักด์ได้ยื่นใบลาออกก่อนหน้าก็ตาม ปัจจุบันคำสั่งไล่ออกจากราชการได้ถูกศาลปกครองยกฟ้อง สมศักดิ์มีผลงานการศึกษาค้นคว้าและการตีความประวัติศาสตร์จำนวนมาก โดยเฉพาะการศึกษาบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย์ ในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ตั้งแต่การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475, กรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8, เหตุการณ์ 14 ตุลาคม..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีคอลิด บิน อับดัลอะซีซ อาล ซะอูด

มเด็จพระราชาธิบดีคอลิด บิน อับดัลอะซีซ อาล ซะอูด (خالد بن عبد العزيز آل سعود‎ Khālid ibn ‘Abd al ‘Azīz Āl Su‘ūd) (พระราชสมภพ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456 - สวรรคต 13 มิถุนายน พ.ศ. 2525) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 4 แห่งซาอุดีอาระเบีย เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลอะซีซ อิบน์ ซะอูด พระองค์ทรงครองราชย์เป็นเวลา 7 ปี และสวรรคตด้วยพระชนมายุ 69 พรรษา สมเด็จพระราชาธิบดีฟะฮด์ บิน อับดัลอะซีซ อาล ซะอูด พระอนุชาธิราช จึงขึ้นครองราชย์สมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลต่อไป.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสมเด็จพระราชาธิบดีคอลิด บิน อับดัลอะซีซ อาล ซะอูด · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีคาปิโอลานิแห่งฮาวาย

มเด็จพระราชินีคาปิโอลานิแห่งฮาวาย (Queen Kapiolani of Hawaii) หรือพระนามเต็ม เอสเธอร์ คาปิโอลานี หรือ เอสเธอร์ คาปิโอลานี นาเปลาคาปูโอคาคาเอ (Esther Kapiʻolani or Esther Kapiʻolani Napelakapuokakaʻe) เป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย และเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งราชอาณาจักรฮาว.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสมเด็จพระราชินีคาปิโอลานิแห่งฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยา

มเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยา (Juana I de Castilla) หรือที่เรียกว่า ฆัวนาผู้บ้าคลั่ง (Juana la Loca) เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอน และ สมเด็จพระราชินีอิซาเบลลาที่ 1 แห่งกัสติยา เมื่อมีพระชนมายุ 16 พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายฟิลิปแห่งออสเตรีย พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และพระนางมารี เดอ บูร์กอญ การอภิเษกสมรสเป็นไปเพื่อการสร้างความมั่นคงทางการเมืองของสเปน สานความสัมพันธ์กับราชวงศ์ต่าง ๆ ในยุโรปเช่นเดียวกันกับการอภิเษกสมรสของพระโอรสธิดาองค์อื่น.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเตรีอีมาเอวารูอาที่ 2 แห่งบอราบอรา

มเด็จพระราชินีนาถเตรีอีมาเอวารูอาที่ 2 แห่งบอราบอรา (Queen Teriimaevarua II of Bora Bora) (23 พฤษภาคม 1841 - 12 กุมภาพันธ์ 1873) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรบอราบอรา ตั้งแต..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสมเด็จพระราชินีนาถเตรีอีมาเอวารูอาที่ 2 แห่งบอราบอรา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเตรีอีมาเอวารูอาที่ 3 แห่งบอราบอรา

มเด็จพระราชินีนาถเตรีอีมาเอวารูอาที่ 3 แห่งบอราบอรา (Queen Teriimaevarua III of Bora Bora) หรือ อารีอี โอตาเร เตอารีอีมาเอวารูอาที่ 3 (Ari'i-'Otare Teari'i-maeva-rua III; 28 พฤษภาคม ค.ศ. 1871 – 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1932) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรบอราบอรา ตั้งแต..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสมเด็จพระราชินีนาถเตรีอีมาเอวารูอาที่ 3 แห่งบอราบอรา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

อมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (3 มีนาคม พ.ศ. 2426-13 มิถุนายน พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุล "จักรพงษ์" เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 40 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนนายร้อยมหาดเล็กตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย หลังจากสำเร็จการศึกษา ทรงรับราชการทหารเป็นเสนาธิการทหารบก โดยทรงริเริ่มจัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการ ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบินในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่า "พระบิดาแห่งกองทัพอากาศไทย" และ "พระบิดาแห่งการบินไทย" ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งขึ้น มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยศจากนายพลเอกเป็นจอมพล และทรงเป็นผู้ที่จัดส่งทหารอาสาเขาทำการรบในสงครามครั้งนั้น ต่อมาสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เสด็จทิวงคตด้วยพระโรคพระปับผาสะ ขณะเสด็จไปประทับพักผ่อนพระวรกายที่สิงคโปร์ พระชนม์เพียง 37 พรรษา เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2463.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐรัสเซียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

หพันธรัฐรัสเซีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสหพันธรัฐรัสเซียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐรัสเซียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

หพันธรัฐรัสเซีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสหพันธรัฐรัสเซียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

หพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

หพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์เอเชียนเกมส์

หพันธ์กีฬาเอเชียนเกมส์ (The Asian Games Federation; ชื่อย่อ: AGF) เป็นองค์กรบริหารจัดการแข่งขันกีฬาระดับทวีปเอเชีย ระหว่างวันอาทิตย์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) ถึงวันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) ซึ่งแทนที่ด้วยสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย โดยทั้งก่อตั้งขึ้นและปิดตัวลงในกรุงนิวเดลีของอินเดียเช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสหพันธ์เอเชียนเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

หรัฐอเมริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

หรัฐอเมริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

หราชอาณาจักร เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

หราชอาณาจักร เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สามเหมียวยอดนินจา

มเหมียวยอดนินจา หรือ ขบวนการนินจาจิ๋ว (Samurai Pizza Cats) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นออกอากาศครั้งแรกทางสถานีโทรทัศน์โตเกียว เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2533 และได้นำมาฉายในเมืองไทยประมาณปี พ.ศ. 2534 - พ.ศ. 2535 โดยทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เป็นการ์ตูนยามเช้าประมาณ 7.00-7.30 และย้ายมาอยู่ตอนเย็นประมาณ 5 โมง - 5 โมงครึ่ง ในปีถัดมา ออกอากาศทุกวัน จันทร์ - อังคาร - พุธ โดยนาย อุเอซูดะ กินเซย์ เป็นผู้สร้างและวางรูปแบบตัวการ์ตูน การ์ตูนเรื่องนี้เป็นการ์ตูนแนว เคโมะ หรือ เคโมโนะKemono คือการ์ตูนที่ประดิษฐ์ให้เป็นครึ่งสัตว์ แต่สามารถยืน 2 ขาและพูดได้แบบมนุษย์ ทั้งยังเป็นแบบ SD อีกด้วย ลักษณะการ์ตูนเป็นการนำเสนอวัฒนธรรมญี่ปุ่นอย่างสุดขีด ซึ่งสังเกตได้จากฉากในเรื่อง และลักษณะการแต่งกายของตัวการ์ตูน รวมทั้งการดัดแปลงชุดเกราะ (ร่างสุดยอด) ของสามเหมียวนินจาที่คล้ายเกราะญี่ปุ่น ซึ่งเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว การ์ตูนเรื่องนี้ลิขสิทธิ์เป็นของ ทัตสึโนโกะโปรดักชั่น 1990.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสามเหมียวยอดนินจา · ดูเพิ่มเติม »

สาวน้อยเวทมนตร์ มาโดกะ

วน้อยเวทมนตร์ มาโดกะ (Puella Magi Madoka Magica) เป็นอะนิเมะโทรทัศน์แนวสาวน้อยเวทมนตร์ โดยShaftและ Aniplex กำกับโดย อะคิยูกิ ชินโบ ออกแบบตัวละครโดย อุเมะ อาโอกิ ดนตรีประกอบโดย ยูกิ คะจิอุระ โดยอะนิเมะสิบตอนแรกได้ออกอากาศทางช่อง TBS และ MBS ตั้งแต่วันที่ 7 มกราคม 2554 จนถึงวันที่ 11 มีนาคม 2554 ส่วนสองตอนสุดท้ายถูกเลื่อนฉายออกไปเป็นวันที่ 21 เมษายน 2554 ด้วยเหตุเนื่องมาจากแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 สำหรับวิดีโอเกมสำหรับเครื่องเล่น PSP จะวางจำหน่ายในเดือนมีนาคม 2555.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาวน้อยเวทมนตร์ มาโดกะ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐมอลโดวาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐมอลโดวา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐมอลโดวาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐมอลโดวาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐมอลโดวา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐมอลโดวาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐมอนเตเนโกรในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐมอนเตเนโกร เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐมอนเตเนโกรในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐมาซิโดเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐมาซิโดเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐมาซิโดเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐลัตเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐลัตเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐลิทัวเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐลิทัวเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐลิทัวเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐลิทัวเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐลิทัวเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐลิทัวเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสโลวักในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐสโลวัก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐสโลวักในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสโลวักในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐสโลวัก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐสโลวักในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสโลวีเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐสโลวีเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐสโลวีเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสโลวีเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐสโลวีเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐสโลวีเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจานในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐอาเซอร์ไบจาน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐอาเซอร์ไบจานในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐอิสลามอิหร่านในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐอิสลามอิหร่าน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐอิสลามอิหร่านในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐอุซเบกิสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐอุซเบกิสถาน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐอุซเบกิสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐอุซเบกิสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐอุซเบกิสถาน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐอุซเบกิสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐทาจิกิสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐทาจิกิสถาน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐทาจิกิสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐคีร์กีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐคีร์กีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐคีร์กีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐคีร์กีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐคีร์กีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐคีร์กีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐซานมารีโนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐซานมารีโน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐซานมารีโนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐซานมารีโนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐซานมารีโน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐซานมารีโนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาชนจีนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐประชาชนจีน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐประชาชนจีนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาชนจีนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐประชาชนจีน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐประชาชนจีนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐแอฟริกาใต้ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐแอฟริกาใต้ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐแอลเบเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐแอลเบเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐแอลเบเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโครเอเชียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐโครเอเชีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐโครเอเชียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโครเอเชียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐโครเอเชีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐโครเอเชียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโคลอมเบียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐโคลอมเบีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐโคลอมเบียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐโปรตุเกส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐโปรตุเกส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐไอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐไซปรัสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐไซปรัส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐไซปรัสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐไซปรัสในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐไซปรัส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐไซปรัสในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเบลารุสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐเบลารุส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐเบลารุสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเบลารุสในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐเบลารุส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐเบลารุสในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเช็กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐเช็ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐเช็กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเช็กในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐเช็ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐเช็กในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐเอสโตเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐเอสโตเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเซอร์เบียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐเซอร์เบีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐเซอร์เบียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเซเนกัลในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐเซเนกัล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐเซเนกัลในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเซเนกัลในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐเซเนกัล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสาธารณรัฐเซเนกัลในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานพัฒนาพิงคนคร (องค์การมหาชน)

ำนักงานพัฒนาพิงคนคร (องค์การมหาชน) (Pinkanakorn Development Agency (Public Organization)) เป็นองค์การมหาชนภายใต้การกำกับดูแลของนายกรัฐมนตรี ที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสำนักงานพิงคนคร (องค์การมหาชน)..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสำนักงานพัฒนาพิงคนคร (องค์การมหาชน) · ดูเพิ่มเติม »

สุรสีห์ อิทธิกุล

รสีห์ อิทธิกุล (ชื่อเล่น อ๋อง; เกิด 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494) เป็นหนึ่งในนักร้อง นักดนตรีชาวไทย ผู้พลิกยุคสมัยแห่งดนตรีของประเทศไทย มาสู่ดนตรีในแนวสากล มีผลงานทางดนตรีอัลบั้มเพลงส่วนตัวมาแล้ว 4 ชุด และเพลงประกอบภาพยนตร์ ละคร หรือ โฆษณาอีกมากม.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสุรสีห์ อิทธิกุล · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลชลบุรีในฤดูกาล 2560

ูกาล 2560 เป็นฤดูกาลที่ 12 ของสโมสรฟุตบอลชลบุรี ในไทยพรีเมียร์ลีก.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสโมสรฟุตบอลชลบุรีในฤดูกาล 2560 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสนในฤดูกาล 2559

ูกาล 2559 เป็นฤดูกาลที่ 20 ของสโมสรฟุตบอล บีอีซี เทโรศาสน ใน ไทยลีก.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสนในฤดูกาล 2559 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2013–14

ูกาล 2013-14 เป็นฤดูกาลที่ 122 ของสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล และเป็นฤดูกาลที่ 22 พรีเมียร์ลีก ลีกชั้นสูงสุดของฟุตบอลอังกฤษ โดยในครั้งนี้ลิเวอร์พูลได้มีสิทธิไปเล่นพรีเมียร์ลีก ผ่านเข้าไปเล่นในเอฟเอคัพและลีกคั.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2013–14 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลสิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2560

ูกาล 2560 เป็นฤดูกาลที่ 7 ของ เชียงราย ยูไนเต็ด ใน ไทยลีก ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสโมสรฟุตบอลสิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2560 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลจังหวัดนครราชสีมาในฤดูกาล 2560

การแข่งขันฟุตบอลของสโมสรฟุตบอลจังหวัดนครราชสีมา ประจำปี..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสโมสรฟุตบอลจังหวัดนครราชสีมาในฤดูกาล 2560 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลทรู แบงค็อก ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2560

ูกาล 2560 เป็นฤดูกาลที่ 7 ของ ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด ใน ไทยลีก ที่ได้ลงเล่นตั้งแต่ฤดูกาล 2552–2553 เป็นต้นมา และในฤดูกาล 2556, ได้มาใช้ในนามสโมสรว่า แบงค็อก ยูไนเต็.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสโมสรฟุตบอลทรู แบงค็อก ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2560 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ ในฤดูกาล 2560

การแข่งขันฟุตบอลของสโมสรฟุตบอลซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ ประจำปี..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสโมสรฟุตบอลซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ ในฤดูกาล 2560 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2559

การแข่งขันฟุตบอลของสโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ประจำปี..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และสโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2559 · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และหมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเคย์แมนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ีเปิดโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 ในส่วนของหมู่เกาะเคย์แมน หมู่เกาะเคย์แมน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และหมู่เกาะเคย์แมนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงนวลผ่อง เสนาณรงค์

ท่านผู้หญิงนวลผ่อง เสนาณรงค์ (12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2472 - 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540) (นามเดิม:หม่อมหลวงนวลผ่อง สนิทวงศ์) เป็นธิดาของ พลตรี หม่อมสนิทวงศ์เสนี (หม่อมราชวงศ์ตัน สนิทวงศ์) กับท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี นามเดิมของท่านผู้หญิง คือ หม่อมหลวงนวลผ่อง สนิทวงศ์ สมรสกับ พลเอกแสวง เสนาณรงค์ เมื่อปี..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และหม่อมหลวงนวลผ่อง เสนาณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่ชอบ ฐานสโม

หลวงปู่ชอบ ฐานสโม วัดป่าสัมมานุสรณ์ บ้านโคกมน ตำบลผาน้อย อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ท่านเป็นศิษย์ท่านพระอาจารย์มั่น โปรดปรานมากที่สุด และเป็นพระอริยสง.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และหลวงปู่ชอบ ฐานสโม · ดูเพิ่มเติม »

หลานสาวนายพล

หลานสาวนายพล เป็นละครของทางไทยทีวีสีช่อง 3 เป็นละครแนวคอมเมดี้ ดราม่า ออกอากาศทุกวันจันทร์ - ศุกร์ เริ่ม 12 กุมภาพันธ์ 2556 เป็นต้นไป เวลา 18.45 - 20.00 น. ก่อนข่าวในพระราชสำนัก นำแสดงโดย นัฐฐพนธ์ ลียะวณิช มิเชล เบอร์แมน สมชาย เข็มกลัด ธัญญาเรศ เองตระกูล จินตหรา สุขพัฒน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และหลานสาวนายพล · ดูเพิ่มเติม »

หักลิ้นช้าง

หักลิ้นช้าง เป็นละครโทรทัศน์ไทย แนว บู๊-แอ็กชั่น-โรแมนติก สร้างในปี..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และหักลิ้นช้าง · ดูเพิ่มเติม »

หางเครื่อง (ละครโทรทัศน์)

หางเครื่อง เป็นละครโทรทัศน์ไทย บทประพันธ์ของ นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ เขียนบทโทรทัศน์โดย พิง ลำพระเพลิง สร้างโดย บริษัท กันตนา กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) กำกับการแสดงโดย อินทนนท์ รัตนกาญจน์ นำแสดงโดย ธนพล นิ่มทัยสุข, อัษฎาพร สิริวัฒน์ธนกุล ออกอากาศ ทุกวันพุธ - พฤหัสบดี เวลา 20.20 - 22.30 น. ต่อจากละครเรื่องพรมแดนหัวใจ ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ก่อนหน้านั้นเคยสร้างเป็นละคร ในปี 2529 - 2530 ออกอากาศทางช่อง 5.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และหางเครื่อง (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาติ ดำดี

อภิชาติ ดำดี (เกิด 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503) เป็นนักพูด นักจัดรายการชาวไทย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดกระบี่ thumb.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และอภิชาติ ดำดี · ดูเพิ่มเติม »

อยู่ดี ๆ ก็

"อยู่ดีๆก็..." เป็นซิงเกิลของ WONDERFRAME ร่วมกับ YOUNGOHM ในปี พ.ศ. 2560 ประพันธ์เนื้อร้อง-แต่งทำนองโดย WONDERFRAME ร่วมกับ YOUNGOHM และเรียบเรียงโดย ธันวา เกตุสุวรรณ ออกจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2560 เนื้อหาของเพลงพูดถึง การบอกเล่าอารมณ์ของความเซ็งและสับสน ในความสัมพันธ์ที่ไม่แน่นอน จะรักจะเลิกก็ไม่รู้ อยู่ดีๆก็หายไลน์ไม่ตอ.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และอยู่ดี ๆ ก็ · ดูเพิ่มเติม »

อริต์ตา รามณรงค์

ริต์ตา รามณรงค์ เกิดวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 นักแสดงชาวไทย-อังกฤษ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคอินเตอร์ (เป็นลูกพี่ลูกน้อง ธัญญาเรศ รามณรงค์) ปัจจุบันคบหาดูใจอยู่กับ เลโอ โซสเซย์ เป็นดีเจอยู่ที่บริษัท Atime Media จำกัด คลื่น Chill 104.5 และเป็นพิธีกรสองภาษา ไทย-อังกฤษ.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และอริต์ตา รามณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

อะอิ คะโงะ

อะอิ คะโงะ (加護 亜依; Ai Kago) (เกิด 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531) คือ อดีตนักร้องหญิงชาวญี่ปุ่นของสังกัดเฮลโล! โปรเจกต์ คะโงะได้ก้าวเข้ามาสู่วงการเพลงครั้งแรกในฐานะของสมาชิกรุ่นที่ 4 ของกลุ่มนักร้อง มอร์นิงมุซุเมะ อันโด่งดัง ต่อมา เธอก็ได้เป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของกลุ่มนักร้องย่อย มินิโมนิ เป็นสมาชิกรุ่นที่ 2 ของกลุ่มนักร้องย่อย ทัมโปโปะ เคยเป็นสมาชิกของกลุ่มย่อยในมอร์นิงมุซุเมะที่ชื่อ มอร์นิงมุซุเมะ ซากูระกูมิ เคยมีส่วนร่วมในกลุ่มนักร้องผสมของต้นสังกัดเฮลโล! โปรเจกต์ อีก 3 กลุ่ม ได้แก่ 3 นิงมัตสึริ แฮปปีเซเวน และ ซอลต์ 5 และยังเคยเป็นสมาชิกของกลุ่มนักร้องคู่ที่ชื่อ ดับเบิลยู อีกด้วย ก่อนที่จะถูกยกเลิกสัญญากับทางต้นสังกัดไปเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 ปัจจุบันนี้ เธอได้เซ็นสัญญาทำงานกับบริษัทเอเจนซีอื่น ซึ่งอยู่ในเมืองนาระ บ้านเกิดของเธอเอง.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และอะอิ คะโงะ · ดูเพิ่มเติม »

อับราฮัม ลินคอล์น

อับราฮัม ลินคอล์น (Abraham Lincoln) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 16 ของสหรัฐอเมริกา ลินคอล์นเข้าดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาตั้งแต่เดือนมีนาคม..1861 จนกระทั่งถูกลอบสังหารเมื่อเดือนเมษายน..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และอับราฮัม ลินคอล์น · ดูเพิ่มเติม »

อัจฉริยะข้ามคืน

อัจฉริยะข้ามคืน หรือ "อัจฉริยะข้ามคืน ปี 1"(One Night Genius) สร้างสรรค์รูปแบบรายการและควบคุมการผลิตโดย รุ่งธรรม พุ่มสีนิล ออกอากาศทุกวันจันทร์ เวลา 22.30 - 24.00 น. ทางไทยทีวีสีช่อง 3 (3 กรกฎาคม 2549 - 7 มกราคม 2551) ดำเนินรายการโดย ปัญญา นิรันดร์กุล และ แทนคุณ จิตต์อิสระ โดยในแต่ละสัปดาห์จะมีผู้ร่วมแข่งขัน 8 คนจาก 8 สาขา โดยสถานที่ถ่ายทำจะเปลี่ยนแปลงไปทุกสัปดาห์ และรูปแบบของรายการในปีที่ 2 ดูได้ที่ อัจฉริยะข้ามคืน ปี 2.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และอัจฉริยะข้ามคืน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอ็อช

อาสนวิหารอ็อช (Cathédrale d'Auch) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญมารีย์แห่งอ็อช (Cathédrale Sainte-Marie d'Auch) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของอัครมุขนายกประจำอัครมุขมณฑลอ็อช ตั้งอยู่ที่เมืองอ็อช จังหวัดแฌร์ แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารี อาสนวิหารแห่งนี้ประกอบด้วยบริเวณกลางโบสถ์ถึง 3 ด้าน ด้วยความยาวถึง 102 เมตร และกว้าง 35 เมตร เริ่มการก่อสร้างในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1489 โดยการสนับสนุนของฟร็องซัว เดอ ซาวัว โดยสร้างบนซากปรักหักพังของอาสนวิหารโรมาเนสก์เก่าซึ่งเคยเป็นที่ตั้งของอาสนวิหารนักบุญอ็อสแต็งด์ และมีการเสกขึ้นเป็นอาสนวิหารเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1548 ในขณะที่งานก่อสร้างทั้งหมดยังไม่เสร็จสิ้น จนกระทั่งอีกราวสองร้อยกว่าปีต่อมา ลักษณะทางสถาปัตยกรรมเป็นแบบกอธิกวิจิตร (ฟล็องบัวย็อง) ที่ได้รับอิทธิพลมาจากสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ทั้งหมดสร้างเสร็จสมบูรณ์ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 ด้วยหน้าบันหลัก และมุขทางเข้าตกแต่งด้วยเสาแบบคอรินเทียน ภายในประกอบด้วยชาเปลกว่า 21 หลัง งานตกแต่งภายในมีความโดดเด่นด้วยงานกระจกสีถึง 18 ชิ้น โดยศิลปินอาร์โน เดอ มอล บริเวณร้องเพลงสวดได้รับการประดับประดาด้วยงานไม้ถึง 115 ชิ้น ซึ่งไม่ทราบผู้ออกแบบ ซึ่งต่อเป็นฉากในพระคัมภีร์ไบเบิลซึ่งเล่าเรื่องต่อมาจากงานกระจกสีโดยรอบ อาสนวิหารอ็อชได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906 รวมทั้งยังอยู่ในรายชื่อแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางซานเตียโกเดกอมโปสเตลาในประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และอาสนวิหารอ็อช · ดูเพิ่มเติม »

อาเลมาเยฮู อะตอมซา

อาเลมาเยฮู อะตอมซา (Alemayehu Atomsa; อัมฮารา: ว; 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1969 — 6 มีนาคม ค.ศ. 2014) เป็นนักการเมืองชาวเอธิโอเปีย ผู้ทำหน้าที่เป็นประธานภูมิภาคโอโรมาซึ่งเป็นภูมิภาคที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ ตั้งแต..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และอาเลมาเยฮู อะตอมซา · ดูเพิ่มเติม »

อิมมานูเอล คานต์

อิมมานูเอิล คานท์ อิมมานูเอล คานต์ (Immanuel Kant; 22 เมษายน ค.ศ. พ.ศ. 2267 - 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2347) เป็นนักปรัชญาชาวเยอรมัน จากแคว้นปรัสเซีย ได้รับการยกย่องโดยทั่วไปว่า เป็นนักคิดที่มีอิทธิพลมากที่สุดของยุโรป และเป็นนักปรัชญาคนสำคัญคนสุดท้ายของยุคแสงสว่าง เขาสร้างผลกระทบที่สำคัญไปถึงนักปรัชญาสายโรแมนติกและสายจิตนิยม ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 งานของเขาเป็นจุดเริ่มของเฮเกล คานต์เป็นที่รู้จักเนื่องจากแนวคิดของเขา ที่เรียกว่าจิตนิยมอุตรวิสัย (transcendental idealism) ที่กล่าวว่ามนุษย์ใช้แนวคิดบางอย่างที่ติดตัวมาแต่กำเนิด (innate idea) ในการรับรู้ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นรอบตัวในโลก เรารับรู้โลกโดยผ่านทางประสาทสัมผัสประกอบกับมโนภาพที่ติดตัวมานี้ ดังนั้นเราจึงไม่สามารถล่วงรู้หรือเข้าใจใน "สรรพสิ่งที่แท้" ได้ ความรู้ต่อสรรพสิ่งที่เรามีนั้นจึงเป็นได้แค่เพียงภาพปรากฏ ที่เรารับรู้ได้ผ่านทางประสาทสัมผัสเท่านั้น ญาณวิทยา (epistemology) หรือทฤษฎีความรู้ของคานต์นั้น เกิดขึ้นเพื่อแก้ความขัดแย้งระหว่างปรัชญาสายเหตุผลนิยมที่กล่าวว่า ความรู้สามารถสร้างขึ้นได้ไม่จำเป็นต้องใช้ประสบการณ์ กับปรัชญาสายประสบการณ์นิยมที่กล่าวว่า ทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารู้มีที่มาจากประสบการณ์ คานต์ได้เชื่อมแนวคิดที่ขัดแย้งกันทั้งสอง ดังคำกล่าวที่เขาเองเปรียบเปรยว่าเป็นการปฏิวัติแบบโคเปอร์นิคัส (Copernical Revolution) โดยสรุปคร่าวๆ ได้เป็นประโยคขึ้นต้นของหนังสือ บทวิพากษ์ของการใช้เหตุผล (Critique of Pure Reason) ว่า "แม้ว่าความรู้ทั้งหมดที่เรามีจะมีจุดเริ่มต้นจากประสบการณ์ แต่นั่นมิได้หมายความว่าความรู้ทั้งหมดนั้นเกิดขึ้นมาจากประสบการณ์" ใน Critique of Pure Reason ยังได้นำเสนอเนื้อหาของหลักทางศีลธรรม (จริยศาสตร์) ที่ยังคงมีอิทธิพลต่อแนวความคิดด้านจริยธรรมของโลกตะวันตกมาจนถึงปัจจุบัน ตลอดจนอาจกล่าวได้ว่าเขาเป็นบิดาแห่งแนวคิดเรื่องสหประชาชาติ ดังที่ปรากฏในความเรียงว่าด้วยเรื่องสันติภาพถาวรของเขาได้เสนอให้มีการจัดตั้งองค์กรระหว่างประเทศขึ้นเพื่อยุติความขัดแย้งและความโหดร้ายของสงคราม กระทั่งสันนิบาตชาติและตามด้วยสหประชาชาติได้เกิดขึ้นจริงในปัจจุบัน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และอิมมานูเอล คานต์ · ดูเพิ่มเติม »

อิศรา อมันตกุล

อิศรา อมันตกุล นายอิศรา อมันตกุล (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2464 - 14 มีนาคม พ.ศ. 2512) (ชื่อเดิม อิบรอฮีม อะมัน) นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ คนสำคัญของประเทศไทย และ นายกสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทยคนแรก.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และอิศรา อมันตกุล · ดูเพิ่มเติม »

อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก

อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก (Hua Mark Indoor Stadium) เป็นสนามกีฬาในร่ม โดยใช้เป็นสนามสำรอง ตั้งอยู่ภายในสนามกีฬาหัวหมาก สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการแข่งขันกีฬาต่าง ๆ ในระดับนานาชาติ เช่น มวยสากล, บาสเก็ตบอล, ฟุตซอล และ วอลเลย์บอล และใช้เป็นสนามสำหรับการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012 ที่ กรุงเทพมหานครเป็นเจ้.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และอินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติเฉลิมรัตนโกสินทร์

อุทยานแห่งชาติเฉลิมรัตนโกสินทร์ หรือที่เรียกว่า อุทยานแห่งชาติถ้ำธารลอด เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในที่ หมู่ที่ 4 บ้านท่าลำใย ตำบลเขาโจด อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี เขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติมีไม่มาก แต่มีสภาพป่าอุดมสมบูรณ์ มีจุดเด่นและธรรมชาติที่สวยงาม เช่น น้ำตก หน้าผา และถ้ำธารลอด ที่นับว่าเป็นสิ่งมหัศจรรย์ที่เกิดจากการยุบตัวของหินปูน ประกอบกับการกัดเซาะของน้ำทำให้เขาหินปูนกลายเป็นสะพานธรรมชาติขนาดมหึมา และมีหลักฐานแสดงถึงด้านประวัติ-ศาสตร์เป็นทางเดินทัพของพม่าและกองทัพญี่ปุ่น มีเนื้อที่ประมาณ 59 ตารางกิโลเมตร หรือ 36,875 ไร.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และอุทยานแห่งชาติเฉลิมรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

อี บย็อง-ช็อล

อี บย็อง-ช็อล (Lee Byung-chull;; 12 กุมภาพันธ์ 2453 —) เป็นผู้ก่อตั้งบริษัทซัมซุงบริษัทยักษ์ใหญ่ในประเทศเกาหลีใต้ อี บย็อง-ช็อล เกิดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2453 ในเมืองอึย-รย็อง มนฑลคยองซังนัม อี ได้ก่อตั้งบริษัทการค้าซัมซุงขึ้นในปี พ.ศ. 2481 ในเมืองแทกู หลังจากนั้นก็ได้ก่อตั้งบรัษัทซัมซุงโปรดักส์ บริษัทสิ่งทอ และ บริษัทเครื่องใช้ไฟฟ้า ตลอดระยะเวลาที่เค้าได้ทำคุณประโยชน์นานัปการให้กับประเทศเกาหลีใต้ เขาจึงกลายเป็นต้นแบบทีมีอิทธิพลอย่างยิ่งต่อแวดวงธุรกิจในยุคสมัยนั้น ในปี พ.ศ. 2504 เขาได้รับการเสนอชื่อและได้รับเลือกเป็นนายกสมาคมนักธุรกิจ ต่อมาในปี พ.ศ. 2508 เขาได้ก่อตั้งมูลนิธิวัฒนธรรมซัมซุงขึ้น ด้วยแนวคิดที่ต้องการจะอนุรักษ์และรับผิดชอบต่อสังคม ในปี พ.ศ. 2523 เขาได้รับการกล่าวขานในฐานะนักธุรกิจที่นำความเจริญมาสู่ประเทศและดำเนินธุรกิจด้วยความฉลาดรอบคอบนำพาธุรกิจด้วยความสามารถเฉพาะตัวที่มีตั้งความเป็นผู้นำ และแนวคิดก้าวหน้า ตลอดชีวิตของอี เขาอุทิศตัวให้กับการพัฒนาประเทศและเศรษฐกิจ พยายามทำให้พลเมืองเกาหลีมีความสุขขึ้น โดยในวันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และอี บย็อง-ช็อล · ดูเพิ่มเติม »

อดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์

อดอลฟัส แคมบริดจ์ อดีตเจ้าชายแห่งเท็ค อดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์ GCB, GCVO, CMG (Adolphus Cambridge, 1st Marquess of Cambridge; พระอิสริยยศเดิม เจ้าชายอดอลฟัสแห่งเท็ค (Prince Adolphus of Teck) ต่อมาคือ ดยุคแห่งเท็ค; อดอลฟัส ชาร์ลส์ อเล็กซานเดอร์ อัลเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด จอร์จ ฟิลิป หลุยส์ ลาดิสเลาส์; 13 สิงหาคม พ.ศ. 2411 - 24 ตุลาคม พ.ศ. 2470) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษและเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระราชินีแมรี พระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ในปี พ.ศ. 2443 พระองค์ทรงสืบทอดพระอิสริยยศต่อจากพระชนกเป็นดยุคแห่งเท็ค ภายในราชอาณาจักรเวือร์ทเท็มแบร์ก ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 พระองค์ได้ทรงสละฐานันดรศักดิ์เยอรมันทั้งหมดและทรงดำรงพระอิสริยยศใหม่เป็น มาร์ควิสแห่งแคมบร.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และอดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

อนงค์ ตงศิริ

อนงค์ ตงศิริ (12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 - 21 กันยายน พ.ศ. 2536) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร 3 สมั.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และอนงค์ ตงศิริ · ดูเพิ่มเติม »

อโรคา ตลาดนัดสุขภาพ

อโรคา ตลาดนัดสุขภาพ เป็นรายการวาไรตี้เกี่ยวกับสุขภาพ ซึ่งเป็นรายการนำเสนอเกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ, เกร็ดความรู้สุขภาพ รวมถึงการทำงานของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในแต่ละพื้นที่ ว่ามีบทบาทต่อชุมชนนั้นอย่างไรบ้าง บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ร่วมมือกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล, กระทรวงสาธารณสุข และ สำนักงานกองทุนการส่งเสริมสุขภาพ (สสส.) ออกอากาศในวันที่ 14 สิงหาคม 2553 เวลา 20.15 - 21.05 น. (ปัจจุบันขยับเวลาออกอากาศมาเป็น 20.30 - 21.20น.) ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก และปรับเปลี่ยนชื่อรายการเป็น อโรคา ตลาดนัดสุขภาพ แทน ปาร์ตี้วิทยาศาสตร์ ตอน อโรคา ซายส์ ปาร์ตี้.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และอโรคา ตลาดนัดสุขภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ฮุซเซน อน

ฮุซเซน บิน ดาโตะก์ อน (Hussein bin Dato' Onn) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 3 ของประเทศมาเลเซีย ฮุซเซน อน เป็นบุตรของดาโตะก์ อน จาอาฟาร์ (หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งพรรคอัมโน) กับดาติน ฮาลีมะฮ์ ฮุซเซน เขาได้รับการศึกษาเบื้องต้นจากประเทศสิงคโปร์ และจบการศึกษาจากโรงเรียนภาษาอังกฤษจากเมืองโจโฮร์บะฮ์รู หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐยะโฮร์.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และฮุซเซน อน · ดูเพิ่มเติม »

ผมเป็นของคุณไปแล้ว

"ผมเป็นของคุณไปแล้ว" เป็นซิงเกิลของสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว ในปี พ.ศ. 2558 ประพันธ์เนื้อร้อง-แต่งทำนองโดย อัจฉริยา ดุลยไพบูลย์ และเรียบเรียงโดย ภัทรกร ตั้งจิตการุญ ออกจำหน่ายในวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และผมเป็นของคุณไปแล้ว · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ผนึกมาร

ผู้ผนึกมาร เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น วาดโดย "เยลโล ทานาเบะ" ตีพิมพ์ในประเทศญี่ปุ่นในนิตยสารโชเน็งซันเดย์โดยสำนักพิมพ์โชงะกุกัง ตั้งแต่ พ.ศ. 2547 จนถึงปัจจุบัน และมีการนำมาสร้างเป็นอะนิเมะโดยบริษัทซันไร.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และผู้ผนึกมาร · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ฟรันซ์ โยเซฟ คาร์ล (Franz Joseph Karl) ทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2335 - พ.ศ. 2349 ภายหลังจากที่พระองค์ถูกรุกรานโดยจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 อันนำไปสู่สงครามประสานมิตรครั้งที่สาม ทำให้พระองค์ต้องยุบจักรวรรดิ และเปลี่ยนจักรวรรดิรวมทั้งเปลี่ยนแปลงการปกครองใหม่ โดยระหว่างปีพ.ศ. 2347 - พ.ศ. 2349 พระองค์ได้ทรงดำรงตำแหน่งจักรพรรดิ 2 จักรวรรดิเลยทีเดียว โดยหลังจากเปลี่ยนจักรวรรดิแล้ว พระองค์ได้ทรงดำรงตำแหน่งจักรพรรดิแห่งออสเตรีย พระนามว่า จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 แห่งออสเตรีย หลังจากนั้น พระองค์ได้ทรงนำกองทัพออสเตรีย ไปชำระแค้นกับจักรวรรดิฝรั่งเศส ในสงครามนโปเลียน แต่ก็ยังปราชัยอยู่ดี พระองค์จึงส่งพระราชธิดาองค์โต อาร์ชดัชเชสมารี หลุยส์ ให้ไปอภิเษกสมรสกับนโปเลียน เพื่อเป็นการถวายเครื่องราชบรรณาการ และเริ่มต้นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศระหว่างจักรวรรดิออสเตรียและจักรวรรดิฝรั่ง.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจีน

มเด็จพระเจ้ากรุงจีน หรือ จักรพรรดิจีน (หวงตี้; ฮกเกี้ยน:ฮ่องเต้; แต้จิ๋ว:อ้วงตี่) คือประมุขจักรวรรดิจีน โดยมีจิ๋นซีฮ่องเต้เป็นฮ่องเต้พระองค์แรก ก่อนสมัยราชวงศ์ฉิน ประเทศจีนได้ถูกแบ่งเป็นแว่นแคว้นต่าง ๆ มากมาย และแต่ละแคว้นจะมีผู้ปกครอง เรียกว่า อ๋อง (王; พินอิน:wáng) ซึ่งแปลว่า พระมหากษัตริย์ แต่ต่อมาหลังจากอ๋องแห่งแคว้นฉินได้รวบรวมแว่นแคว้นต่าง ๆ เป็นหนึ่งเดียวจึงสถาปนาแผ่นดินเป็นจักรวรรดิจีน และประกาศใช้เป็นพระนามคำนำหน้าว่าจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ คือฉินซือหวงตี้ หรือจิ๋นซีฮ่องเต้ ตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฉิน ฮ่องเต้ได้รับการเคารพในฐานะโอรสแห่งสวรรค์ คือเปรียบเสมือนได้รับอำนาจจากสวรรค์มาให้ปกครองประชาชน ตามหลักการ "สูงสุดโอรสสวรรค์ ล่างสุดนั้นประชาราษฎร" (最高的是天子,最低的是人民) การสืบทอดตำแหน่งฮ่องเต้มักอยู่ในรูปแบบจากบิดาไปยังบุตร โดยคำว่า ฮ่องเต้ หรือ หวงตี้ ถ้าแปลตรงตัวจะสามารถแปลได้ว่า "ผู้ปกครองที่ยิ่งใหญ่" (หวง 皇 - ผู้ทรงศักดิ์/Imperial, ตี้ 帝 - องค์อธิปัตย์/Sovereign) โดยนำมาจากพระนามฮ่องเต้องค์แรก คือ ฉินซือหวงตี้ (秦始皇帝) หลังจากนั้นตำแหน่งฮ่องเต้ก็ดำรงอยู่มานับพันปีซึ่งตั้งแต่ราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์จิ้น ราชวงศ์สุย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หมิง โดยมาสิ้นสุดที่ราชวงศ์ชิง เนื่องจากบริหารบ้านเมืองล้มเหลว และยังถูกประเทศต่างชาติรุกราน เป็นเหตุให้ประเทศจีนเกิดการปฏิรูปการปกครองจากระบอบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ตำแหน่งฮ่องเต้จึงสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1912 ฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายของประเทศจีนคือ จักรพรรดิฮงเซี่ยนหรือหยวน ซื่อไข่ แต่ไม่ได้รับการยอมรับจากประชาชน โดยฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายที่ได้รับการยอมรับจากประชาชนคือ สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋แห่งราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา

ักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา (Maria Theresia von Österreich, Maria Theresa of Austria; พระนามเต็ม: มาเรีย เทเรเซีย วาร์ลบูก้า อมาเลีย คริสติน่า ฟอน ฮับส์บูร์ก) หรือ สมเด็จพระราชินีนาถมาเรีย เทเรซา แห่งฮังการีและโบฮีเมีย เป็นจักรพรรดินีแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จากอภิเษกสมรส แต่พระราชอำนาจทั้งหมดอยู่ที่พระองค์เพียงผู้เดียว นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงเป็นประมุขแห่งออสเตรีย ฮังการี โบฮีเมีย โครเอเชีย และสลาโวเนีย ถือว่า พระองค์ทรงเป็นหนึ่งในพระประมุขผู้ทรงอำนาจที่สุดในทวีปยุโรปเลยทีเดียว.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา · ดูเพิ่มเติม »

จักรราศี

รื่องหมายจักรราศีของโหราศาสตร์สากลราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 แกะจากแม่พิมพ์ไม้ ภาพสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 ในจอร์เจียเป็นรูปจักรราศีที่มีพระเยซูอยู่ตรงกลาง เครื่องหมายจักรราศีที่ใช้ในโหราศาสตร์สากลในปัจจุบัน จักรราศี (zodiac มาจากภาษากรีก ζῳδιακός หมายถึง "สัตว์") เป็นแถบสมมติบนท้องฟ้าที่มีขอบเขตประมาณ 8 องศา ค่อนไปทางเหนือและใต้ของแนวเส้นทางที่ดวงอาทิตย์ปรากฏเคลื่อนผ่าน (สุริยวิถี) ซึ่งครอบคลุมแนวเส้นทางปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ในระบบสุริยจักรวาลอีก 7 ดวง คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ส่วนดาวพลูโตนั้น ความเอียงของวงโคจรมีค่ามาก ดาวพลูโตจึงมีเส้นทางปรากฏห่างจากสุริยวิถี.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และจักรราศี · ดูเพิ่มเติม »

จารุณี สุขสวัสดิ์

รุณี สุขสวัสดิ์ (ชื่อแคโรลีน เดส์แน็ช Caroline Desneiges.) นักแสดง ศิลปินและดาวค้างฟ้าตลอดกาล เจ้าของฉายา "ดาราทอง" "ราชินีจอเงิน" "ราชินีนักบู๊" หนึ่งในตำนานนางเอกหนังไทยขวัญใจมหาชน เกิดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2505 มีบิดาเป็นชาวฝรั่งเศส ชื่อแฟร์น็อง เดส์แน็ช (Fernand Desneiges) และมารดาเป็นชาวไทย ชื่อระเบียบ สุขสวั.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และจารุณี สุขสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จงประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามที

งประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามที (do justice and let the sky fall หรือ let justice be done though the heavens fall"Fiat justitia, ruat caelum"; 2009: Online.; fiat justitia ruat caelum, เฟอัตจูสติเทียรูอัตคีลุม \ˌfē-ˌät-yu̇s-ˈti-tē-ä ˌru̇-ˌät-ˈkī-ˌlu̇m\) เป็นภาษิตภาษาละตินทางกฎหมายซึ่งบ่งบอกถึงความเชื่อว่า ความยุติธรรมจักต้องมีอยู่ไม่ว่าในสถานการณ์รูปแบบใดก็ตาม โดยชาลส์ ซัมเมอร์ (Charles Summer) นักการเมืองผู้รณรงค์ให้เลิกทาสแห่งคริสต์ศตวรรษที่ 19 กล่าวว่าภาษิตนี้ไม่ได้มีที่มาจากสมัยคลาสสิกแต่อย่างใด แม้จะเชื่อกันว่าเป็นคำของ ลูเชิส คาลเพอร์นิเอิส พิโซ ซีโซนิเนิส (Lucius Calpurnius Piso Caesoninus) รัฐบุรุษในสมัยโรมันโบราณผู้เป็นสสุระของจูเลียส ซีซาร์ ก็ตาม.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และจงประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามที · ดูเพิ่มเติม »

ธชตวัน ศรีปาน

ตวัน ศรีปาน (ชื่อเล่น: แบน) หรือเดิม ตะวัน ศรีปาน เป็นอดีตนักฟุตบอลตำแหน่งกองกลางของทีมชาติไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนของสโมสรฟุตบอลโปลิศ เทโรในไทยลีก.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และธชตวัน ศรีปาน · ดูเพิ่มเติม »

ธัญญ่า อาร์สยาม

ัญญ่า อาร์สยาม (เกิด 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540) มีชื่อจริงว่า ดาราภัช ทวีนันท์ เป็นนักร้องที่เสียงร้องหวานใสไพเราะมีเสน่ห์ ชอบร้องเพลง ชอบการแสดง ไม่เคยเรียนร้องเพลง หรือการแสดงที่ไหน ฝึกฝนด้วยตัวเอง ฝึกคนเดียวหน้ากระจก มีแม่เป็นต้นแบบ แม่เป็นนักร้องหมอลำซิ่ง ตั้งแต่เด็กไปงานกับแม่ตลอด จ้างแม่แถมลูก ตอนอยู่ม.ปลาย หลังเลิกเรียนจะไปร้องเพลงที่ร้านอาหาร เพื่อช่วยเหลือครอบครัวและเป็นทุนการศึกษา ธัญญ่า เป็นเด็กรักเรียน เป็นจิตอาสาไม่ได้ค่าตัวก็ไปช่วยงานได้ เป็นเด็กกิจกรรม รำไทย ถ่ายรูป..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และธัญญ่า อาร์สยาม · ดูเพิ่มเติม »

ธนิจจิญญา ธนันต์ชัยกานต์

นิจจิญญา ธนันต์ชัยกานต์ (ชื่อเดิม: พลอยปภัส ธนันต์ชัยกานต์, กัญญาพัชญ์ ธนันต์ชัยกานต์, ชุติมา วงศ์โสภา; ชื่อเล่น: หญิง; เกิดเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ที่ดอยอ่างขาง ในพื้นที่อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่) นักแสดงและนางแบบชาวไทยที่มีชื่อเสียง ในวัยเด็กผู้เป็นพ่อเสียตั้งแต่เจ้าตัวยังเล็ก ๆ จึงมีพ่อเลี้ยงเป็นชาวญี่ปุ่น เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงจากการถ่ายโฆษณา ก่อนที่จะเข้าประกวดมิสทีนไทยแลนด์ ปี 2007 ได้รับรางวัลชนะเลิศ เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย ระดับการศึกษา ตั้งแต่ชั้นอนุบาล จนถึงระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย จากโรงเรียนวารีเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ และสำเร็จการศึกษาที่คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเท.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และธนิจจิญญา ธนันต์ชัยกานต์ · ดูเพิ่มเติม »

ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์

ล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (ซ้าย) ขณะเดินสนทนากับ พ.ต.ควง อภัยวงศ์ ในงานเปิดสมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2484 พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เดิมคือ หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) (21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 — 3 ธันวาคม พ.ศ. 2531) นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 ของประเทศไทยในช่วง..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทารา สตรอง

ทารา สตรอง ทารา สตรอง (Tara Strong) หรือชื่อเดิม "Tara Lyn Charendoff" เกิดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2516 ที่เมืองโทรอนโต รัฐออนตาริโอ ประเทศแคนาดา ปัจจุบันอายุ ปี เป็นนักพากย์ชาวอเมริกัน ที่เกิดในแคน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และทารา สตรอง · ดูเพิ่มเติม »

ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม ในรัชกาลที่ 5)

ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม มาลากุล) เป็นธิดาในพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม ในรัชกาลที่ 5) · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการสรรพสัตว์ กาโอเรนเจอร์

วนการสรรพสัตว์กาโอเรนเจอร์ เป็นขบวนการนักสู้ที่ 25 และมีการฉลองครบรอบวาระของ 25 ปีของ ขบวนการนักสู้ด้วย เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2001 ถึงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2002 ทางสถานีทีวีอาซาฮี จำนวนตอนฉายทั้งหมด 51 ตอน ตอนพิเศษอีก 3 ตอน ได้แก่ กาโอเรนเจอร์ the movie ฝ่ามิติเกาะมหาประลัย, กาโอเรนเจอร์ ปะทะ 25 ขบวนการ, ขบวนการพายุ เฮอร์ริเคนเจอร์ vs.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และขบวนการสรรพสัตว์ กาโอเรนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการอวกาศ คิวเรนเจอร์

วนการอวกาศ คิวเรนเจอร์ หรือ อูจูเซนไต คิวเรนเจอร์ (อังกฤษ: Uchu Sentai Kyuranger) เป็นภาพยนตร์โทคุซัทสึ จากภาพยนตร์ชุดขบวนการนักสู้ ลำดับที่ 41 ในช่วงแรกออกอากาศทุกวันอาทิตย์ เวลา 7:30 น. - 8:00 น. ในช่วงซูเปอร์ฮีโร่ไทม์ ทางสถานีโทรทัศน์ทีวีอาซาฮิ ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2017 ต่อมาวันที่ 1 ตุลาคมได้ย้ายเวลาเป็นทุกวันอาทิตย์ เวลา 9:30 น. - 10:00 น. และสิ้นสุดออกอากาศเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2018 มีจำนวนตอนทั้งหมด 48 ตอน สำหรับประเทศไทย ขบวนการอวกาศ คิวเรนเจอร์ ออกอากาศทางช่องทรูสปาร์ค จัมพ์ ทุกวันจันทร์ถึงศุกร์ เวลา 18.30 น. เริ่มวันศุกร์ที่ 20 เมษายน..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และขบวนการอวกาศ คิวเรนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการไดโนเสาร์ จูเรนเจอร์

ูเรนเจอร์ ขบวนการไดโนเสาร์จูเรนเจอร์ เป็นภาพยนตร์แนวขบวนการนักสู้ ลำดับที่ 16 ของประเทศญี่ปุ่น ออกอากาศทางสถานีทีวีอาซาฮี ทุกวันศุกร์ เวลา 17.30-17.55 น. ตามเวลาประเทศญี่ปุ่น โดยเริ่มออกอากาศตั้งแต่เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 ถึง 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 รวมความยาวทั้งสิ้น 50 ตอน ในประเทศไทย จูเรนเจอร์เคยออกอากาศทาง ช่อง 9 อ.ส.ม.ท.ในนาม ขบวนการไดโนเสาร์ จูเรนเจอร์ โดยผู้นำเข้ามาฉายคือ บริษัท ทูนทาวน์เอนเตอร์เทนเมนต์ ในปี พ.ศ. 2537 โดยออกอากาศทุกวันอาทิตย์ เวลา10.30 น. (ในขณะนั้น) และลิขสิทธิ์ในรูปแบบวิดีโอ คือ บริษัท วิดีโอสแควร์ในปัจจุบันได้ออกวางจำหน่ายในรูปแบบวีซีดีลิขสิทธิ์ โดยบริษัท การ์ตูนอินเตอร์ จำกัด โดยมีการเปลี่ยนชื่อเรื่องเป็น ขบวนการเทพนักสู้ จูเรนเจอร.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และขบวนการไดโนเสาร์ จูเรนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ณ ขณะรัก

ณ ขณะรัก หรือชื่ออื่นว่า อะโมเมนต์อินจูน (A Moment in June) เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายในประเทศไทยเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ผลงานกำกับของ ณัฐพล วงศ์ตรีเนตรกุล นำแสดงโดย ชาคริต แย้มนาม, กฤษดา สุโกศล แคลปป์, เดือนเต็ม สาลิตุล, สินิทธา บุญยศักดิ์, นภัสกร มิตรเอม, สุเชาว์ พงษ์วิไล, มยุริญ ผ่องผุดพันธ์ และ ฮิโระ ซะโนะ ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับเกียรติให้ฉายเปิดเทศกาลและฉายอย่างเป็นทางการครั้งแรกของโลกที่ “เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติปูซาน ครั้งที่ 13” ประเทศเกาหลีใต้ เมื่อเดือนตุลาคม 2551 เนื้อหาของเรื่องเป็นเรื่องราวความรักและความสัมพันธ์ที่เคยพลาดของคน 6 คนที่ผ่านบทเพลงที่ทำให้พวกเขามาพบกัน โดยเป็นเหตุการณ์ 2 ห้วงเวลาในปี 2515 และ 2542 มีเพลงประกอบภาพยนตร์คือ เพลง "ความคิด" เนื้อร้อง-ทำนอง-ขับร้อง อภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข ภาพยนตร์ทำรายได้ 5.62 ล้านบาท.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และณ ขณะรัก · ดูเพิ่มเติม »

ดอกส้มสีทอง

อกส้มสีทอง เป็นละครสะท้อนสังคมที่ออกฉายทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 โดยเป็นภาคต่อจากละครเรื่องมงกุฎดอกส้ม ละครพัฒนาจากบทประพันธ์ในชื่อเดียวกันเรื่อง ดอกส้มสีทอง บทประพันธ์ของ ถ่ายเถา สุจริตกุล สำหรับละครในตอนจบของเรื่อง เฉพาะในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล กลุ่มคนดูอายุ 15-44 ปี วัดเรตติ้งได้ 24.7.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และดอกส้มสีทอง · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนอเมริกันซามัวในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

นแดนอเมริกันซามัว เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และดินแดนอเมริกันซามัวในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

คริสตินา ริชชี

ริสตินา ริชชี (Christina Ricci) เกิดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1980 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงครั้งแรกจากบทเวดส์เดย์ แอดดัมส์ ในภาพยนตร์เรื่อง The Addams Family (1991) รวมถึงภาคต่อ Addams Family Values (1993) ภาพยนตร์ที่เธอแสดงมีตั้งแต่ภาพยนตร์แนวอาร์ต อย่างเช่น The Ice Storm (1997) หรือหนังดราม่า Monster (2004) หนังตลกนอกกระแสอย่าง The Opposite of Sex (1998) ที่ทำให้เธอได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลลูกโลกทองคำสาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม และยังมีผลงานภาพยนตร์บล็อกบัสเตอร์อย่าง Sleepy Hollow (1999) ีริชชีผันตัวจากนักแสดงเด็กไปเป็นนักแสดงขวัญใจวัยรุ่น จนถึงนักแสดงผู้ใหญ่ และเธอยังมีบริษัทผลิตงานของตัวเอง ที่ชื่อ Blaspheme Films ที่มีผลงานอย่าง Pumpkin และ Prozac Nation เธอยังแสดงภาพยนตร์เรื่อง Black Snake Moan (2007) และ Penelope (2008) และยังแสดงภาพยนตร์ดัดแปลงเรื่อง Speed Racer ในปี 2008.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และคริสตินา ริชชี · ดูเพิ่มเติม »

ความคิด (เพลงอภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข)

"ความคิด" เป็นซิงเกิลจากอีพีอัลบั้ม มิลเลียนเวส์ทูไรท์พาร์ต 1 ขับร้องและประพันธ์โดย อภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข (แสตมป์) นักร้อง นักแต่งเพลงและสถาปนิกชาวไทย ซึ่งเป็นอีพีอัลบั้มแรกของแสตมป์ สังกัดค่ายเลิฟอีส ดูแลการจัดจำหน่ายโดยโซนี่มิวสิค (ประเทศไทย) ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 เป็นเพลงที่ประสบความสำเร็จอย่างมาก เพลง "ความคิด" เป็นเพลงรักเศร้าๆ บรรยายถึงความรักที่ต้องลาจากกันไป ซึ่งได้นำไปใช้ประกอบภาพยนตร์เรื่อง ณ ขณะรัก (A Moment in June) อีกด้วย ส่วนเพลง "คนที่คุณก็รู้ว่าใคร" เป็นการร้องขอจากภาณุพล เอกเพชร (โจ้) ที่ขอให้แต่งคำร้องให้ แต่ทว่าไม่ได้นำไปใช้ จึงนำมารวมเข้ากับอัลบั้มนี้ เพลงนี้สามารถขึ้นสู่ชาร์ตอันดับหนึ่งในหลายคลื่นวิทยุของประเทศไทย อาทิ ซี้ดเอฟเอ็ม กรีนเวฟ แฟทเรดิโอ เป็นต้น ทำให้เขาได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัล "ซี้ดอะวอร์ดส์" ครั้งที่ 5 ใน 3 สาขา คือ "ศิลปินชายยอดเยี่ยม" จากอัลบั้ม มิลเลียนเวส์ทูไรท์พาร์ต 1 "เพลงยอดนิยมสุดซี้ดประจำปี" และ "เพลงยอดเยี่ยมประจำปี" จากเพลง "ความคิด".

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และความคิด (เพลงอภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข) · ดูเพิ่มเติม »

คุซาจิชิ ยาจิรุ

ซาจิชิ ยาจิรุ ตัวละครจากการ์ตูนเรื่องเทพมรณะ เป็นยมทูตรองหัวหน้าหน่วยที่ 11 แห่ง 13 หน่วยพิทักษ์ และประธานสมาคมยมทูตสตรี.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และคุซาจิชิ ยาจิรุ · ดูเพิ่มเติม »

คู่กรรม

ู่กรรม เป็นนวนิยายแนวโศกนาฏกรรมและวีรคติ ประพันธ์โดย ทมยันตี ดำเนินเรื่องที่มีฉากหลังในประเทศไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยผู้ประพันธ์ได้รับแรงบันดาลใจเมื่อราวปี..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และคู่กรรม · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6

ระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 (22 กันยายน พ.ศ. 2477 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2477 กรมพระนริศรานุวัตติวงศ์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เป็นผู้ลงนาม และนายพลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2477 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

ฆวน การ์โลส เฟร์เรโร

วน การ์โลส เฟร์เรโร โดนัต (Juan Carlos Ferrero Donat) เป็นนักเทนนิสอาชีพชาวสเปน เกิดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 ณ เมืองโอนติญเญ็นต์ (Ontinyent) ประเทศสเปน เฟร์เรโรเป็นอดีตนักเทนนิสมือวางอันดับ 1 ของโลก เขาชนะเลิศรายการเทนนิสแกรนด์สแลม เฟรนช์โอเพน เมื่อปี พ.ศ. 2546 เขาได้รับการขนานนามชื่อเล่นในวงการเทนนิสว่า "ยุง" (Mosquito) ซึ่งก็เป็นผลมาจากรูปแบบการเล่นเทนนิสของเขาที่มีความเร็ว ความคล่องแคล่ว และความแข็งแรง ปัจจุบัน ณ วันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2552 อันดับโลกของเขาตกลงมาอยู่ในอันดับที่ 75.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และฆวน การ์โลส เฟร์เรโร · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของไอซ์แลนด์

ตราแผ่นดินของไอซ์แลนด์ (Skjaldarmerki Íslands, Coat of arms of Iceland) เป็นตราอาร์มของประเทศไอซ์แลนด์เป็นตรากางเขนเงินบนพื้นตราสีน้ำเงินโดยมีกาเขนสีแดงเพลิงกลางกางเขนเงิน (เช่นเดียวกับที่ปรากฏบนธงชาติไอซ์แลนด์) รอบโล่เป็นเครื่องหมายผู้พิทักษ์สี่อย่างประคองตรา ยืนอยู่บนแผ่นหินลาวา (Pāhoehoe) ที่รวมทั้งวัว (Griðungur) ผู้พิทักษ์ไอซ์แลนด์ตะวันตกเฉียงใต้, เหยี่ยว หรือ กริฟฟิน (Gammur) ผู้พิทักษ์ไอซ์แลนด์ตะวันตกเฉียงเหนือ, มังกร (Dreki) ผู้พิทักษ์ตะวันออกเฉียงเหนือ และ ยักษ์ (Bergrisi) ผู้พิทักษ์ตะวันออกเฉียงใต้ ในอดีตไอซ์แลนด์ให้ความสำคัญกับผู้พิทักษ์ทั้งสี่จนถึงกับออกฎหมายระหว่างสมัยไวกิงห้ามมิให้เรือยาวไวกิง (Longship) ที่มีสัญลักษณ์หน้าตาดุร้าย (ส่วนใหญ่เป็นหัวมังกรบนหัวเรือ) เข้าใกล้ท่าเรือในไอซ์แลนด์ เพราะอาจจะเป็นสิ่งที่ทำให้ไม่เป็นที่พอใจของผู้พิทักษ.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และตราแผ่นดินของไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ซานเตียโก

ทือกเขาแอนดีสที่ถูกปกคลุมด้วยหิมะ เหนือย่านกลางกรุงซานเตียโก ซานเตียโกเดชีเล (Santiago de Chile) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศชิลี ตั้งอยู่ที่ระดับความสูง 520 เมตร (1,700 ฟุต) ในหุบเขาตอนกลางของประเทศ และเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นมหานครซานเตียโก แม้ว่าซานเตียโกจะเป็นเมืองหลวง แต่หน่วยงานราชการทางนิติบัญญัติกลับตั้งอยู่ใกล้กับเมืองบัลปาราอีโซ เกือบสามศตวรรษที่การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องได้เปลี่ยนให้ซานเตียโกเป็นเขตนครหลวงที่สมัยใหม่ที่สุดแห่งหนึ่งในลาตินอเมริกา พร้อม ๆ กับการพัฒนาเขตชานเมืองอย่างกว้างขวาง ศูนย์การค้าหลายสิบแห่ง และสถาปัตยกรรมที่น่าประทับใจ รวมทั้งมีระบบโครงสร้างพื้นฐานที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งของลาตินอเมริกาเป็นที่เชิดหน้าชูตา เช่น ซานเตียโกเมโทร (Santiago Metro) และระบบใหม่ "โกสตาเนรานอร์เต (Costanera Norte)" เป็นระบบขนส่งของย่านกลางกรุง เชื่อมระหว่างด้านตะวันออกสุดไปด้านตะวันตกสุดของเขตเมืองภายในเวลา 15 นาที นอกจากนี้ ซานเตียโกยังเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของบริษัทสำคัญหลายแห่งและเป็นศูนย์กลางทางการเงินที่สำคัญของภูมิภาคอีกด้ว.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และซานเตียโก · ดูเพิ่มเติม »

ประพาศ ศกุนตนาค

19 กันยายน พ.ศ. 2549 พลตรี ประพาศ ศกุนตนาค เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2478 เป็นบุตรชายของ ขุนเหมสมาหาร(ประพงศ์ ศกุนตนาค) อดีตนายอำเภอที่มีส่วนเกี่ยวข้องในกรณีกบฏบวรเดชและ นางเหมสมาหาร(พริ้ง ศรีเพ็ญ)เป็นหลานปู่ หลวงสรรพกิจโกศล(ปาน ศกุนตนาค) ในปี พ.ศ. 2476 พล.ต.ประพาศ จบโรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นเดียวกับ พล.ต.อ.ชลอ เกิดเทศ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.) รุ่นที่ 10 รุ่นเดียวกับ พล.อ.ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รับราชการอยู่ในกรมการทหารสื่อสารมาโดยตลอด เป็นผู้ประกาศข่าวของช่อง 7 ยุคก่อตั้งสถานีที่ยังคงอยู่ในความดูแลของช่อง 5 และยังออกอากาศเป็นภาพขาวดำอยู่ จากนั้นในปี พ.ศ. 2515 จึงได้มีโอกาสแสดงละครเวทีเฉพาะพระพักตร์ และละครโทรทัศน์หลายเรื่องด้วยกัน โดยเรื่องที่สร้างชื่อเสียงได้แก่ สี่แผ่นดิน ในปี พ.ศ. 2517 โดยรับบทเป็นคุณเปรมตัวเอกของเรื่องด้วย ภายหลังได้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเสนาธิการทหารบก และได้เข้ารับราชการเป็นอาจารย์ในโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ซึ่งทั้งนี้ยังถือเป็นอาจารย์ผู้สอนของนายทหารผู้มีบทบาทสำคัญในประเทศอีกหลายท่านด้วยกัน อาทิเช่น พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา พลเอกอุดมเดช สีตบุตร เป็นต้น นอกจากนี้ยังเป็นนักดนตรีที่เล่นดนตรีไทยได้หลายชิ้น สามารถร้องเพลงไทย และขับเสภาได้ไพเราะ จนได้รับคำชมจากหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ในหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ได้มีโอกาสแสดงดนตรีและขับเสภาในงานสำคัญต่าง ๆ หลายต่อหลายครั้ง อีกทั้งยังเป็นเจ้าของเสียงขับเสภาในละครโทรทัศน์แนวจักร ๆ วงศ์ ๆ หลายเรื่องด้วย หน้าที่สุดท้ายคือเป็นที่ปรึกษาผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 แต่ยังได้รับโอกาสให้เป็นผู้บรรยายงานพระราชพิธีและรัฐพิธีหลายต่อหลายครั้ง โดยงานที่ภูมิใจที่สุดคือได้เป็นหัวหน้าผู้บรรยายในงานพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ในปี พ.ศ. 2549 และต่อมาได้เป็นหัวหน้าคณะผู้บรรยายในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2551 และล่าสุดยังได้เป็นหัวหน้าคณะผู้บรรยายในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 พล.ต.ประพาศ ศกุนตนาค ได้รับฉายาว่าเป็น "โฆษกคณะปฏิวัติ" เช่นเดียวกับนายอาคม มกรานนท์ เนื่องจากมักเป็นผู้ที่อ่านประกาศของคณะรัฐประหารหรือคณะปฏิรูปหรือเหตุการณ์สำคัญ ๆ ที่เกี่ยวกับสถานการณ์ความมั่นคงของชาติหลายครั้ง เช่น เป็นผู้อ่านประกาศของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ในเหตุการณ์รัฐประหาร เมื่อปี พ.ศ. 2534 หรือ อ่านประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ปี พ.ศ. 2535 และ อ่านประกาศของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (คปค.) ในการรัฐประหารเมื่อปี พ.ศ. 2549 เป็นต้น ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาต..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประพาศ ศกุนตนาค · ดูเพิ่มเติม »

ประยงค์ ชื่นเย็น

ประยงค์ ชื่นเย็น เป็นนักเรียบเรียงเสียงประสานเพลงลูกทุ่งชื่อดัง ที่อยู่ในวงการมานานหลายสิบปี โดยมีผลงานการเรียบเรียงเพลงไว้มากมาย และเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประจำปี พ.ศ. 2552 ประยงค์ เกิดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 ที่จังหวัดพระตะบอง จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนการช่างบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ (ปัจจุบันคือวิทยาลัยเทคนิคบุรีรัมย์) เข้าสู่วงการเพลงโดยเป็นนักดนตรีตำแหน่งทรัมเป็ต ของวงรวมดาวกระจาย ต่อมาจึงอยู่กับวงดนตรีสุรพัฒน์ ของชลธี ธารทอง วงดนตรีของผ่องศรี วรนุช และ เพลิน พรหมแดน ตามลำดับ ประยงค์เริ่มทำงานด้านการเรียบเรียงเสียงประสานในปี พ.ศ. 2516 โดยเป็นผู้เรียบเรียงเพลงทุกรูปแบบ และควบคุมการบรรเลงเพลงให้กับวงดนตรีไทยลูกทุ่งและไทยสากล ผลงานบันทึกเสียงเพลงแรกในฐานะผู้เรียบเรียงเสียงประสาน คือเพลง ทนหนาวอีกปี ขับร้องโดย เด่น บุรีรัมย์ ต่อมาได้เรียบเรียงเสียงประสานเพลงมากมายนับพันเพลง บทเพลงที่สร้างชื่อเสียงได้แก่ เพลง จดหมายจากแนวหน้า ทหารเรือมาแล้ว อเวจีใจ ล่องเรือหารัก ของยอดรัก สลักใจ เพลง หนุ่มนารอนาง ของ ไวพจน์ เพชรสุพรรณ เพลง อกหักซ้ำสอง ของสายัณห์ สัญญา เพลง เทพธิดาผ้าซิ่น ของเสรี รุ่งสว่าง เพลง อีสาวทรานซิสเตอร์ ของอ้อยทิพย์ ปัญญาธรณ์ เพลง ท้ารัก ของบุษบา อธิษฐาน เพลง รักจริงให้ติงนัง ของรุ่ง สุริยา เพลง ขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก ของธานินทร์ อินทรเทพ เพลง ส่วนเกิน ของดาวใจ ไพจิตร รวมถึงเพลงของพุ่มพวง ดวงจันทร์ เช่น หัวใจถวายวัด ผู้ชายในฝัน ห่างหน่อยถอยนิด เป็นต้น อีกทั้งยังได้เรียบเรียงเสียงประสานเพลงพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพลงที่รู้จักกันดีคือ เพลงส้มตำ ฉบับที่ขับร้องโดย พุ่มพวง ดวงจันทร์ และ สุนารี ราชสีมา ประยงค์ ชื่นเย็น ยังเป็นผู้สร้างปรากฏการณ์ให้กับวงการเพลงลูกทุ่ง โดยการประสมประสานระหว่างดนตรีพื้นบ้านของไทยกับดนตรีตะวันตก ได้เริ่มนำเครื่องดนตรีไทยหลายชนิดมาบรรเลงผสมกับเครื่องดนตรีสากล จนเป็นเอกลักษณ์ของเพลงลูกทุ่ง ประยงค์ได้รับรางวัลเกียรติยศมากมาย เช่น รางวัลเสาอากาศทองคำพระราชทาน จากการเรียบเรียงเสียงประสานเพลง แม่ยก อาลัยนักรบ และหนุ่มนารอนาง รางวัลแผ่นเสียงทองคำพระราชทาน ประเภทเพลงไทยลูกทุ่ง จากเพลง อีสาวทรานซิสเตอร์ ข้อยเว้าแม่นบ่ รางวัลนักรบ ประเภทเพลงไทยสากล จากเพลง ปั้นดินให้เป็นดาว เป็นต้น นอกจากนี้ยังเป็นวิทยากร และอาจารย์พิเศษสอนดนตรีของมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ และยังเป็นกรรมการตัดสินทางด้านดนตรีและขับร้องรายการต่างๆ โดยยังคงมีผลงานการเรียบเรียงเสียงประสานเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2552 ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ดนตรีไทยลูกทุ่ง-ผู้เรียบเรียงเสียงประสาน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประยงค์ ชื่นเย็น · ดูเพิ่มเติม »

ประจวบ สุนทรางกูร

ลเอก พลตำรวจเอก ประจวบ สุนทรางกูร อดีตอธิบดีกรมตำรวจ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประจวบ สุนทรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ นาสกุล

นายประเสริฐ นาสกุล อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เกิดเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2474 ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเสริฐ นาสกุล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศบราซิล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศบราซิล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศบัลแกเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศบัลแกเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชิลี

ลี (Chile ชีเล) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐชิลี (Republic of Chile; República de Chile) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาใต้ มีเนื้อที่ติดชายฝั่งทะเลยาวระหว่างเทือกเขาแอนดีสกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีอาณาเขตจรดประเทศอาร์เจนตินาทางทิศตะวันออก จรดโบลิเวียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และจรดเปรูทางทิศเหนือ ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันตกของประเทศมีความยาว 6,435 กิโลเมตร ซีไอเอ ชิลีมีดินแดนในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยครอบครองหมู่เกาะควนเฟร์นันเดซ เกาะซาลาอีโกเมซ หมู่เกาะเดสเบนตูราดัส และเกาะอีสเตอร์ในโพลินีเซีย ชิลียังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนในแอนตาร์กติกาด้ว.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศชิลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศชิลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ีเปิดโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 ในส่วนของประเทศชิลี ประเทศชิลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศฟินแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศฟินแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟีจีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศฟีจี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศฟีจีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศกรีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศกรีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกานาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐกานา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศกานาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศญี่ปุ่น เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศญี่ปุ่น เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศฝรั่งเศส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศฝรั่งเศส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมองโกเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐมองโกเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศมองโกเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมองโกเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐมองโกเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศมองโกเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศยูเครนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศยูเครน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศยูเครนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศยูเครนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศยูเครน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศยูเครนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศสวีเดน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศสวีเดน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศสเปน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศสเปน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศออสเตรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศออสเตรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศออสเตรเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ทีมนักกีฬาออสเตรเลียในพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 ประเทศออสเตรเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์มีเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศอาร์มีเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศอาร์มีเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์มีเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ีเปิดโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 ในส่วนของประเทศอาร์มีเนีย ประเทศอาร์มีเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศอาร์มีเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศอาร์เจนตินา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศอาร์เจนตินา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศอิตาลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศอิตาลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศอินเดีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศฮังการี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศฮังการี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจอร์เจียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศจอร์เจีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศจอร์เจียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจอร์เจียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศจอร์เจีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศจอร์เจียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศจาเมกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศจาเมกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีนไทเปในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศจีนไทเป เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศจีนไทเปในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีนไทเปในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศจีนไทเป เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศจีนไทเปในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคาซัคสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศคาซัคสถาน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศคาซัคสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคาซัคสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศคาซัคสถาน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศคาซัคสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตรินิแดดและโตเบโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศตรินิแดดและโตเบโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศตรินิแดดและโตเบโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศตุรกี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศตุรกี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปากีสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศปากีสถาน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศปากีสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศนอร์เวย์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศนอร์เวย์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศนิวซีแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศนิวซีแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศแคนาดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศแคนาดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโมร็อกโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศโมร็อกโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศโมร็อกโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศโรมาเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศโรมาเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศโปแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศโปแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศไอซ์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศไอซ์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2446

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2446 ในประเทศไท.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศไทยใน พ.ศ. 2446 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน ค.ศ. 2017

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2017 (พ.ศ. 2560) ในประเทศไท.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศไทยใน ค.ศ. 2017 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน ค.ศ. 2018

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2018 (พ.ศ. 2561) ในประเทศไท.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศไทยใน ค.ศ. 2018 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศเบลเยียม เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศเบลเยียม เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบอร์มิวดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศเบอร์มิวดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศเบอร์มิวดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบอร์มิวดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศเบอร์มิวดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศเบอร์มิวดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศเกาหลีใต้ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศเกาหลีใต้ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีเหนือในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชน เกาหลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศเกาหลีเหนือในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศเม็กซิโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศเม็กซิโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศเลบานอน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอธิโอเปียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศเอธิโอเปีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศเอธิโอเปียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศเดนมาร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศเดนมาร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเปรูในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศเปรู เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศเปรูในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศเนเธอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศเนเธอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ปวยร์โตรีโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ปวยร์โตรีโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และปวยร์โตรีโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ปาเตรียนวยบา

ปาเตรียนวยบา (Patria Nueva, ปิตุภูมิใหม่) เป็นช่วงหนึ่งในประวัติศาสตร์ของประเทศชิลีซึ่งเริ่มต้นจากชัยชนะของกองทัพแอนดีสในยุทธการที่เมืองชากาบูโกเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1817 และสิ้นสุดลงหลังจากการลาออกจากตำแหน่งของผู้นำเบร์นาโด โอคีกินส์ ในปี ค.ศ. 1823.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และปาเตรียนวยบา · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะพงษ์ ผิวอ่อน

นาวาอากาศโท ปิยะพงษ์ ผิวอ่อน เกิดวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502 เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ซึ่งเล่นให้กับฟุตบอลทีมชาติไทยหลายนัด รวมถึงเป็นผู้ที่ทำประตูสูงสุดในประวัติศาสตร์ทีมชาติไทยรวมนัดที่ฟีฟ่าไม่ได้รับรอง ที่ 103 ประตู (สถิติที่ฟีฟ่ารับรองคือ 15 ประตู จากการลงสนามให้ทีมชาติ 33 นัด) นอกจากนี้ เขายังร่วมแสดงในภาพยนตร์เรื่อง "เกิดมาลุย" ใน..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และปิยะพงษ์ ผิวอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์

ปฏิทินสำหรับปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (เช่น พ.ศ. 2554 2548 2537 2526 2520 2509) อา | style.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ · ดูเพิ่มเติม »

นลินี ทวีสิน

ร.นลินี ทวีสิน (สกุลเดิม มิสรา, 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 —) ผู้แทนการค้าไทย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตผู้แทนการค้าไทย ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และนลินี ทวีสิน · ดูเพิ่มเติม »

นาซีม ฮาเหม็ด

นาซีม ฮาเหม็ด (อังกฤษ: Naseem Hamed; อาหรับ: نسيم حميد) อดีตนักมวยแชมป์โลกรุ่นเฟเธอร์เวทหลายสถาบัน ฮาเหม็ดเกิดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1974 ที่เมืองเชฟฟิลด์ ประเทศอังกฤษ เป็นชาวอังกฤษเชื้อสายเยเมน และนับถือศาสนาอิสลาม เนื่องจากปู่และพ่อของฮาเหม็ดได้อพยพมาอยู่ที่อังกฤษตั้งแต่ฮาเหม็ดยังไม่เกิด ฮาเหม็ดเริ่มต้นการชกมวยตั้งแต่อายุได้เพียง 18 ปี ในรุ่นฟลายเวท เนื่องจากฐานะทางบ้านยากจนมาก จนกระทั่ง 3 ปีผ๋านไป ฮาเหม็ดก็ได้แชมป์โลกครั้งแรกในรุ่นเฟเธอร์เวท ขององค์กรมวยโลก (WBO) ด้วยการเอาชนะน็อก สตีฟ โรบินสัน ในยกที่ 8 จากนั้นชื่อเสียงของฮาเหม็ดก็ได้เพิ่มพูนขึ้น จากสไตล์การชกที่ไม่มีสไตล์ และท่าทีที่ยียวนคู่ชกอยู่ตลอดเวลา กระนั้นฮาเหม็ดก้นับได้ว่าเป็นนักมวยที่มีหมัดหนักมาก เพราะสามารถเอาชนะน็อกคู่ชกได้อย่างเด็ดขาดอยู่เสมอ ๆ ทั้ง ๆ ที่สไตล์การชกของฮาเหม็ดนั้นแทบไม่มีเค้าว่าจะเอาชนะคู่ชกด้วยการน็อกเอ้าท์ได้เลย ซึ่งทั้งหมดนี้ได้กลายเป็นจุดขายให้แก่ฮาเหม็ด ผ่านการโปรโมตของโปรโมเตอร์ชาวอังกฤษ แฟรงก์ วอร์เรน และทำให้ฮาเหม็ดกลายเป็นซูเปอร์สตาร์ในวงการมวยโลกในระยะเวลาไม่นาน นาซีม ฮาเหม็ด ได้ปะทะกับนักมวยฝีมือดีหลายต่อหลายคนในรุ่นเดียวกันและใกล้เคียง ซึ่งสามารถเอาชนะได้ทุกคน ไม่ว่าจะเป็น เวย์น แมคคัลลัฟ อดีตแชมป์โลกรุ่นแบนตั้มเวทของสภามวยโลก (WBC) ชาวไอร์แลนด์, มานูเอล เมดินา อดีตแชมป์โลก 2 สมัยใมนรุ่นเฟเธอร์เวทของสภามวยโลก ชาวเม็กซิกัน, เดเนี่ยล อลิเซีย นักมวยดาวรุ่งที่ไม่เคยแพ้ใครชาวเปอร์โตริโก, วิลเฟรโด วาสเควซ อดีตแชมป์โลกรุ่นแบนตั้มเวท, จูเนียร์เฟเธอร์เวท และเฟเธอร์เวท ของสมาคมมวยโลก (WBA) ชาวเปอร์โตริโก รวมทั้งการชกรวบแชมป์โลกในรุ่นเฟเธอร์เวทนี้ ด้วยการเอาชนะน็อกในยกที่ 8 ทอม "บูม บูม" จอห์นสัน นักมวยชาวอเมริกัน ซึ่งเป็นแชมป์ของสหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) และรวบแชมป์ของสภามวยโลกด้วยการเอาชนะคะแนน ซีซาร์ โซโต นักมวยชาวเม็กซิกันอีกราย ฮาเหม็ด แพ้ครั้งแรกและครั้งเดียวในชีวิตการชกมวยของตัวเอง ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2001 ให้แก่ มาร์โก อันโตนิโอ บาร์เรร่า นักมวยชาวเม็กซิกัน อดีตแชมป์โลกในรุ่นจูเนียร์เฟเธอร์เวท ขององค์กรมวยโลก โดยเป็นการแพ้คะแนนไปอย่างเอกฉันท์ โดยไม่มีใครคาดคิด ในการชกทั้ง 12 ยก ฮาเหม็ดไม่สามารถยียวนบาร์เรร่าให้เข้าทางของตนได้เหมือนนักมวยรายอื่น ๆ จึงไม่สามารถเข้าชกบาร์เรร่าได้อย่างถนัดถนี่ในสไตล์ของตนเอง หลังจากแพ้ครั้งแรกไปแล้ว ฮาเหม็ดก็ยังได้ขึ้นชกเคลื่อนไหวอีกครั้งเดียว และตัดสินใจแขวนนวมไปในที่สุด เมื่อปี ค.ศ. 2002 แต่ในปี ค.ศ. 2006 ฮาเหม็ดก็ปรากฏเป็นข่าวอีกครั้ง เมื่อถูกตำรวจจับเข้าห้องขังนานถึง 4 เดือนในข้อหาขับรถเร็วเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ นาซีม ฮาเหม็ด มีฉายาที่ตั้งให้กับตนเองว่า "Prince" อันหมายถึง "เจ้าชาย" มีชื่อเรียกสั้น ๆ ว่า "นาซ" (Naz) เป็นนักมวยที่มีสีสัน มีจุดขายมากมาย ทุกครั้งที่ขึ้นชกจะสวมกางเกงลายเสือดาวที่มีรูปทรงแปลกตา รองเท้าสีดำของอาดิดาส และจะกระโดดตีลังกาข้ามเชือกเมื่อขึ้นเวทีทุกครั้ง อีกทั้งก่อนชกและหลังชก หลังจากเอาชนะได้แล้วจะสวดมนต์ขอพรพระอัลเลาะห์ทุกครั้ง เมื่อครั้งมีชื่อเสียง ฮาเหม็ดยังถือได้ว่าเป็นต้นแบบให้กับนักมวยหลายคนเอาเป็นแบบอย่าง เช่น เคจิ ยามากูชิ นักมวยชาวญี่ปุ่นที่เคยเป็นแชมป์โลกรุ่นจูเนียร์ฟลายเวทของสมาคมมวยโลก เป็นต้น.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และนาซีม ฮาเหม็ด · ดูเพิ่มเติม »

แกะกล่องหนังไทย

แกะกล่องหนังไทย (Golden Film; ในอดีตถ้าหากอยู่ในช่วงฉายภาพยนตร์ต่างประเทศจะใช้ชื่อรายการว่า แกะกล่องหนังเทศ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกการฉายหนังต่างประเทศไปแล้ว) เป็นรายการภาพยนตร์ที่ออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 22.05 - 23.45 น.ทาง สถานีโทรทัศน์ทีวีไทย เป็นรายการโทรทัศน์ที่มีจุดมุ่งหมายในการนำเอาภาพยนตร์ไทยที่มีคุณค่าทั้งเก่าและใหม่ นำมาเสนอฉายทางโทรทัศน์ โดยไม่หวังผลในการแสวงหากำไร เพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้รับรู้ถึงคุณค่าของภาพยนตร์ไทยทั้งเก่าและใหม่ อันเป็นรากเหง้าที่สะท้อนให้เห็นถึง ภูมิปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการอันวิจิตรของคนรุ่นก่อน เพื่อสืบทอดมายังคนรุ่นปัจจุบัน และอนุรักษ์คุณค่าของภาพยนตร์ไทยสู่คนรุ่นหลังสืบต่อไป แกะกล่องหนังไทย เริ่มออกอากาศครั้งแรก ในวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ในช่วงแรกของรายการแกะกล่องหนังไทยนั้น จะฉายภาพยนตร์ไทยสลับกับภาพยนตร์ต่างประเทศ โดยในส่วนของภาพยนตร์ต่างประเทศนั้น จะใช้ชื่อรายการว่า "แกะกล่องหนังเทศ" แต่เนื่องจากว่ามีความซ้ำซ้อนกับรายการ บิ๊กซินีม่าของช่อง 7 ที่ฉายหนังต่างประเทศอยู่เช่นเดียวกัน ตั้งแต่วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2551 จึงได้มีการฉายหนังไทยมาอย่างต่อเนื่องโดยไม่กลับไปฉายหนังต่างประเทศอีก รายการแกะกล่องหนังไทยได้ยุติการออกอากาศไปใน..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และแกะกล่องหนังไทย · ดูเพิ่มเติม »

แกแล็กซี (เพลง)

"GALAXY" เป็นซิงเกิลของ D GERRARD ร่วมกับ กบ The X Factor ผู้เข้าแข่งขันในรายการ ดิ เอ็กซ์ แฟกเตอร์ ไทยแลนด์ (The X Factor Thailand) ในปี พ.ศ. 2560 ประพันธ์เนื้อร้อง-แต่งทำนอง และเรียบเรียงโดย D GERRARD ออกจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 เนื้อหาเพลงพูดถึง เรื่องราวความรักที่ไม่ได้สวยงามอย่างที่คิดฝัน แต่ในความฝันความรักสวยงามเสมอ และยังทำให้รู้สึกอยากมอบความรักให้กับคนรักแบบสุดๆ ไม่ว่าจะเป็น ‘ยามรัก’ หรือ ‘ยามลา’.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และแกแล็กซี (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

แต่ปางก่อน

แต่ปางก่อน เป็นนวนิยายไทยแนวย้อนยุค-ข้ามเวลา ที่สร้างจากบทประพันธ์ของ แก้วเก้า (นามปากกาของ คุณหญิงวินิตา ดิถียนต์) มีการสร้างเป็นละครโทรทัศน์มาแล้วถึงสองครั้ง คือ ในปี พ.ศ. 2530 และ พ.ศ. 2548 โดยออกอากาศทางไทยทีวีสีช่อง 3 ส่วนในปี พ.ศ. 2560 ได้มีการนำมาสร้างใหม่อีกครั้ง โดยออกอากาศทาง ช่องวัน และมีเพลงนำละครที่แต่งโดย วิรัช อยู่ถาวร จนกลายเป็นเพลงฮิตตลอดกาล.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และแต่ปางก่อน · ดูเพิ่มเติม »

โมเดิร์นไนน์การ์ตูน

อง 9 การ์ตูน (เดิมใช้ชื่อว่า โมเดิร์นไนน์การ์ตูน) เป็นรายการโทรทัศน์การ์ตูนเช้าวันหยุดสำหรับเด็กที่ออกอากาศทาง ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี ทุกวันเสาร์ตั้งแต่เวลา 08.30-10.30 น. และวันอาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 08.00-10.30 น. โดยเริ่มออกอากาศเมื่อปี พ.ศ. 2523 จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และโมเดิร์นไนน์การ์ตูน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมวัดบึงทองหลาง

รงเรียนมัธยมวัดบึงทองหลางตั้งอยู่ที่ ซอยลาดพร้าว101 แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2522 เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร ประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และโรงเรียนมัธยมวัดบึงทองหลาง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมวัดเขาสุกิม

รงเรียนมัธยมวัดเขาสุกิม เป็นโรงเรียนในจังหวัดจันทบุรี.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และโรงเรียนมัธยมวัดเขาสุกิม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย

รงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย (อังกฤษ: Montfort College, 130px) เป็นโรงเรียนเอกชน ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ปัจจุบันโรงเรียนมงฟอร์ตได้แยกที่ตั้งในแผนกประถม และมัธยมคือ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย ก่อตั้งเมื่อ 16 มีนาคม พ.ศ. 2475 แผนกประถม ตั้งอยู่ที.เจริญประเทศ ต.ช้างคลาน อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ และ แผนกมัธยมตั้งอยู่ที่ ถนนมงฟอร์ต หมู่บ้านมงฟอร์ตวิลลา ตำบลท่าศาลา อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ในปี..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนศาลาตึกวิทยา

รงเรียนศาลาตึกวิทยา (อังกฤษ: Salatuekwittaya School) (อักษรย่อ:ศ.ต.ว.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษาและเป็นโรงเรียนขนาดกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่ 35 ไร่ ประกอบด้วยอาคารเรียน 8 หลัง ตั้งอยู่ที่ ตำบลทุ่งลูกนก อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และโรงเรียนศาลาตึกวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนทวีธาภิเศก

รงเรียนทวีธาภิเศก (Taweethapisek School) (อักษรย่อ: ท.ภ. / T.P.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทชายล้วน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 505/5 ซอยอิสรภาพ 42 ถนนอิสรภาพ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร 10600 มีพื้นที่ 13 ไร่ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และโรงเรียนทวีธาภิเศก · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา

ณกร จาตุรจินดา ได้บริจาคที่ดิน จำนวน 35 ไร่ พร้อมเงินสด 200,000 บาท เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และโรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนป้อมนาคราชสวาทยานนท์

รงเรียป้อมนาคราชสวาทยานนท์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 (ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต 1) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บริเวณตำบลปากคลองบางปลากด อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษ.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และโรงเรียนป้อมนาคราชสวาทยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

โลแกน เลอร์แมน

ลแกน เวด เลอร์แมน (Logan Wade Lerman) หรือโลแกน เลอร์แมน (เกิดเมื่อวันที่ 19 มกราคม ค.ศ. 1992) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน จากแคลิฟอร์เนีย เขาเริ่มมีผลงานครั้งแรกจากโฆษณาทางโทรทัศน์ในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษที่ 1990 และได้เริ่มมีผลงานทางภาพยนตร์และโทรทัศน์ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษที่ 2000 ในซีรีส์เรื่อง Jack & Bobby (2004-2005) และในภาพยนตร์เรื่อง The Butterfly Effect (2004) และ Hoot (2006) เลอร์แมนเป็นที่รู้จักมากขึ้นจากภาพยนตร์ที่เขาแสดงในปี 2007 เรื่อง 3:10 to Yuma รวมถึงผลงานของเขาในปี 2009 เรื่อง Gamer และ My One and Only ภาพยนตร์เรื่องล่าสุดของเขา Percy Jackson & the Olympians: The Lightning Thief ได้เข้าฉายในโรงภาพยนตร์เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และโลแกน เลอร์แมน · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 2010

กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21 (XXI Olympic Winter Games) เป็นการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21 จัดขึ้น ณ เมืองแวนคูเวอร์ แคนาดา ระหว่างวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ถึง 28 กุมภาพัน..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว 2016

กีฬาโอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว 2016 (2016 Winter Youth Olympic Games; Vinter-OL for ungdom 2016) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า กีฬาโอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาวครั้งที่ 2 (II Winter Youth Olympic Games; YOG) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างประเทศสำหรับเยาวชนซึ่งจัดขึ้นในเมืองลิลเลฮัมเมร์ ประเทศนอร์เวย์ ระหว่างวันที่ 12 - 21 กุมภาพัน..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และโอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว 2016 · ดูเพิ่มเติม »

โผน กิ่งเพชร

ผน กิ่งเพชร (12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2478 — 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2525) แชมป์โลกชาวไทยคนแรกในประวัติศาสตร์ โผนเป็นนักมวยรูปร่างผอมบาง มีช่วงขาที่ยาว ถนัดขวา และเป็นแชมป์โลกชาวไทยคนแรกที่ได้ครองแชมป์โลกถึง 3 สมัย แต่ด้วยปัญหาส่วนตัว ทำให้โผนติดสุราจนการชกตกต่ำลง จนเสียแชมป์ไปและไม่มีโอกาสชิงแชมป์คืนได้อีก โผนถือเป็นตำนานของวงการมวยสากลคนหนึ่งของไทย วันที่โผนชิงแชมป์โลกได้ถูกกำหนดให้เป็นวันนักกีฬาไทย และมีการสร้างอนุสรณ์สถานของโผนที่หัวหินหลังจากที่โผนเสียชีวิตไปแล้ว 10 ปี.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และโผน กิ่งเพชร · ดูเพิ่มเติม »

โซเฟีย มักดาลีนาแห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน

ซเฟีย มักดาลีนาแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน (ภาษาเดนมาร์ก:Sophie Magdalene ภาษาสวีเดน:Sofia Magdalena) (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2289 - 21 สิงหาคม พ.ศ. 2356) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน โดยเป็นพระมเหสีในสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 3 แห่งสวีเดน พระนางเป็นพระราชธิดาพระองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 5 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงหลุยส์แห่งบริเตนใหญ่ และเป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์ก.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และโซเฟีย มักดาลีนาแห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครซอฟท์

มโครซอฟท์ (Microsoft) เป็นหนึ่งในบริษัทผู้ผลิตและพัฒนาซอฟต์แวร์รายใหญ่ของโลก มีฐานการผลิตอยู่ที่เมืองเรดมอนด์ รัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา โดยผลิตภัณฑ์ของไมโครซอฟท์ที่มีกำลังการตลาดมากที่สุดคือ ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และ ไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ จุดเริ่มต้นของบริษัทคือการพัฒนาและออกจำหน่ายตัวแปลภาษาเบสิก สำหรับเครื่องแอทแอร์ 8800 หลังจากนี้น ไมโครซอฟท์เริ่มมีอิทธิพลต่อผู้ใช้คอมพิวเตอร์ภายในบ้าน โดยการออกระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ดอสเมื่อช่วงกลางยุค 1980 ในสายการผลิตของไมโครซอฟท์ วินโดวส์ โดยได้รับความนิยมจากผู้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี นักวิจารณ์ผู้หนึ่งกล่าวถึงเป้าหมายแรกของไมโครซอฟท์ว่า ไมโครซอฟท์ได้เริ่มครอบงำตลาดซอฟต์แวร์อื่นๆ โดยไมโครซอฟท์มีกิจการอื่นๆ ของตัวเองเช่น MSNBC (ดำเนินธุรกิจเคเบิลทีวี), เอ็มเอสเอ็น (ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต),และเอ็นคาร์ทาร์ (ดำเนินธุรกิจสารานุกรมออนไลน์) บริษัทยังดำเนินกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์อีกด้วย เช่น เมาส์ และอุปกรณ์ความบันเทิงต่าง ๆ เช่น Xbox, Xbox 360, Xbox One, ซูน และ เอ็มเอสเอ็น ทีวี.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และไมโครซอฟท์ · ดูเพิ่มเติม »

ไลฟ์อินลาสเวกัส - อะนิวเดย์...

ำหรับมหรสพที่ลาส เวกัส ดูบทความที่ อะนิวเดย์... สำหรับอัลบั้มบันทึกการแสดง ดูบทความที่ อะนิวเดย์... ไลฟ์อินลาสเวกัส ไลฟ์อินลาสเวกัส - อะนิว... (Live in Las Vegas - A New Day...) คือผลงานสื่อวิดิทัศน์ที่ออกจำหน่ายในรูปแบบดีวีดีของเซลีน ดิออนที่ 8 ออกจำหน่ายในวันที่ 7 - 10 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ในยุโรป วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2550ในฮ่องกง.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และไลฟ์อินลาสเวกัส - อะนิวเดย์... · ดูเพิ่มเติม »

ไลต์

"Light" เป็นซิงเกิลในปี พ.ศ. 2557 ของวงดนตรีอินสติงต์ และมีWEAVER วงดนตรีในประเทศญี่ปุ่น ร่วมร้อง ประพันธ์เนื้อร้องโดย โป โปษยะนุกูล, ปรียวิศว์ นิลจุลกะ, TORU KAWABE ทำนองโดย ปรียวิศว์ นิลจุลกะ,อนุกานต์ จันทร์อุไร และเรียบเรียงโดย อินสติงต์ ออกจำหน่ายครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 มิวสิกวีดิโอนี้กำกับโดย Sadust Staygold เพลง "Light" เป็น 1 ในโปรเจกต์พิเศษการทำงานเพลงร่วมกันระหว่างศิล­ปินจาก 2 ฟากฝั่งร็อก คือ WEAVER จากอะมิวส์ ประเทศญี่ปุ่น และอินสติงต์ จากจีนี่เรคอร์ดส ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จากไทย 2 วงร็อกที่สอดประสานการทำงานโดยใช้เปียโน เป็นตัวเชื่อม มีการแต่งเนื้อร้องร่วมกันทั้งภาษาไทย, ญี่ปุ่น และอังกฤษ 4 เดือนเต็มกับการทำงานเพลงข้ามประเทศ ในเนื้อหาของเพลง "Light" หมายถึงแสงสว่าง โดยเปรียบเทียบแสง เสมือนดาวดวงเล็กๆ หากในเวลาที่ฟ้ามืดลงมากเท่าใด แสงนี้ก็จะค่อยๆสว่างมากขึ้นเท่านั้น เสมือนเวลาที่คนเราหมดกำลังใจ แสงเล็กๆนี้จะคอยนำทางอยู่เคียงข้างให้กำล­ังใจคนที่เรารักตลอดไป.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และไลต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไสว บุญมา

ร. ไสว บุญมา ไสว บุญมา (12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488) อดีตเศรษฐกรอาวุโส (Senior Country Economist) ธนาคารโลก (World Bank) ปัจจุบันเป็นนักเขียนอิสร.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และไสว บุญมา · ดูเพิ่มเติม »

เกวลิน ศรีวรรณา

กวลิน ศรีวรรณา ชื่อเล่น ยีนส์ (เกิด 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535) เป็นนักแสดงและนางงามชาวไทย ลูกสาวผู้กำกับภาพยนตร์ชื่อดัง ชลัท ศรีวรรณา และ แม่เล็ก - อณัญญา ศรีวรรณา จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนพระมารดานิจจานุเคราะห์ เคยศึกษาปริญญาตรี จากคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร และได้ย้ายที่เรียนมาศึกษาที่ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต สาขาวิชาสื่อสารการตลาด จนสำเร็จการศึกษา ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 1 เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิง จากการประกวด มิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ 2555 โดยได้ตำแหน่ง รองชนะเลิศอันดับ 2 เพราะก่อนที่เธอจะได้รางวัลนั้น เธอเคยคว้ามงกุฎเพชร รางวัลมิสแคนนอนยูลีก 2010 ประจำปี..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเกวลิน ศรีวรรณา · ดูเพิ่มเติม »

เกิลส์เจเนอเรชันทัวร์

กิลส์เจเนอเรชันทัวร์ (Girls' Generation Tour) เป็นเอเชียทัวร์คอนเสิร์ตครั้งที่ 2 ของกลุ่มศิลปินหญิงจากเกาหลีใต้ เกิลส์เจเนอเรชัน หรือ โซนยอชิแด โดยคอนเสิร์ตนี้เริ่มการแสดงที่โซล เกาหลีใต้ ก่อนจะทำการทัวร์ไปตามเมืองต่างๆในเอเชียอีก 4 เมืองคือ กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน, ประเทศสิงคโปร์, เกาะฮ่องกง ประเทศจีน และปิดท้ายที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไท.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเกิลส์เจเนอเรชันทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ

ลเอก เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 - 3 เมษายน พ.ศ. 2513) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในสมัยรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ · ดูเพิ่มเติม »

เอกธนัช อินทร์รอด

นายเอกธนัช อินทร์รอด (ชื่อเดิม: คมสัน ชื่อเล่น: คม) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ นายทะเบียนพรรคเพื่อไทย อดีตเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเอกธนัช อินทร์รอด · ดูเพิ่มเติม »

เอ็กซีคิวชั่นแนล

อ็กซีคิวชั่นแนล มหาสงครามออนไลน์ถล่มจักรวาล (EXEcutional) เป็นการ์ตูนไทยรูปแบบคอมิกส์ ผลงานของ ภานุวัฒน์ วัฒนนุกูล ผู้เขียน ตำนานป่วนก๊วนนางฟ้า ตีพิมพ์ในนิตยสารการ์ตูนรายสัปดาห์ซีคิดส์ของสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์คอมิกส์ ลงต่อเนื่องฉบับเว้นฉบับ โดยเริ่มตีพิมพ์ตั้งแต..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเอ็กซีคิวชั่นแนล · ดูเพิ่มเติม »

เอเลี่ยน: โคโลเนียล มารีนส์

อเลี่ยน: โคโลเนียล มารีนส์ (Aliens: Colonial Marines) เป็นวิดีโอเกมประเภทยิงมุมมองบุคคลที่หนึ่ง พัฒนาโดย Gearbox Software และจัดจำหน่ายโดย เซก้า ออกจำหน่ายในรูปแบบ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์,เพลย์สเตชัน 3 และเอกซ์บอกซ์ 360 ในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2013.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเอเลี่ยน: โคโลเนียล มารีนส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมี สกอตต์

มี สกอตต์ (Jamie Scott) เกิดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1982 เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงชาวอังกฤษ เขาเริ่มเล่นกีตาร์ตั้งแต่อายุ 7 ขวบ และหัดเล่นเองมาตั้งแต่ตอนนั้น เจมี สกอตต์เติบโตมาในครอบครัวที่รักเสียงเพลง โดยมีแม่ที่ชื่นชอบเพลงของศิลปินอย่าง เจมส์ เทย์เลอร์,แคต สตีเวนส์ และ คาโรล์ คิง ส่วนด้านคุณพ่อที่หลงใหลเพลงโซ ไม่ว่าจะเป็นงานของวิลสัน พิกเก็ตต์,ดอนนี่ ฮาร์ธะเวย์ และ เดอะ ฟลามิงโกส์ เจมีหัดเล่นกีตาร์ด้วยตัวเองโดยการเล่นไปกับอัลบั้ม Blue ของ โจนิ มิดเชลล์ แบบผิดๆถูกๆ แล้วหันไปหัดเปียโนหลายปีต่อมาที่บ้านเพื่อน และได้ใช้เวลาส่วนใหญ่หลังเลิกเรียนที่นั่น จนความสามารถของเขาค่อยๆฉายแวว ต่อมาการสูญเสียน้าสาวได้สร้างแรงขับดันให้กับเขาอย่างมาก เพราะเธอได้ซื้อเปียโนไว้ให้เขาหลังจากที่เสียชีวิต เขาใช้เวลากับการเขียนและเล่นเพลงมากมาย เมื่ออายุได้ 19 ปี เจมี สกอตต์ ได้เซ็นต์สัญญาทำเพลงกับค่ายใหญ่ทั้งที่อายุยังน้อย แต่คนที่เขาเซ็นต์สัญญาด้วย 2 คนได้ลาออกจากค่ายนั้น ทำให้เขาโดนทิ้งไปด้วย เมื่อเจมี่รู้ว่าเขาคงจะไม่ได้โอกาสไปแสดงที่ไหนแล้ว เขาจึงหันมาแต่งเพลงประกอบหนัง และในปี 2006 เขาได้แสดงภาพยนตร์เรื่อง สเต็ปโดนใจ หัวใจโดนเธอ และได้ร้องเพลงประกอบในนั้นด้วย และแล้วในวัย 25 ปี เจมีได้โอกาสครั้งที่ 2 เขาได้เซ็นต์สัญญากับค่ายใหม่ ภายใต้ชื่อ Jamie Scott and The Town เขาเล่าว่าอัลบั้มนี้เป็นส่วนผสมระหว่าง เจฟฟ์ บักเลย์ และ สตีวี วันเดอร์ ส่วนตัวอัลบั้ม Park Bench Theories นั้นได้บอกเล่าเรื่องราวในชีวิตที่เต็มไปด้วยความเจ็บปวดเมื่อทุกอย่างเริ่มไม่เป็นแบบที่คิด เรื่องราวของการเชื่อใจ ความรัก การตัดสินใจที่ยากเย็นและสุดท้ายทั้งหมดมันก็วนเวียนอยู่ในทุกๆ เพลงในอัลบั้มนี้.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเจมี สกอตต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา หรือพระนามเต็ม เลโอโพลด์ ชาร์ลส์ เอ็ดเวิร์ด จอร์จ อัลเบิร์ต (Charles Edward, Duke of Saxe-Coburg and Gotha; Carl Eduard, Herzog von Sachsen-Coburg und Gotha; 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2427 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2497) ทรงเป็นดยุคแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา ในประเทศเยอรมนี พระองค์ที่สี่และสุดท้าย (30 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2461) และในฐานะพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ผ่านทางสายพระราชโอรส พระองค์ทรงเป็นเจ้าชายแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นดยุคแห่งอัลบานีอีกด้วย เจ้าชายชาร์ลส์ เอ็ดเวิร์ดทรงเป็นบุคคลที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในประเทศอังกฤษ เนื่องจากการมีสถานภาพเป็นศัตรูในฐานะที่ทรงเป็นดยุคครองรัฐแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา อันเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 พระองค์ทรงถูกถอดถอนบรรดาศักดิ์ขุนนางและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างๆ ของอังกฤษเมื่อปี พ.ศ. 2462 ในปี พ.ศ. 2461 พระองค์ทรงถูกบังคับให้สละราชสมบัติ และต่อมาได้ทรงเข้าร่วมพรรคนาซีเยอรมัน ยังความเสื่อมเสียที่ใหญ่หลวงมาให้แก่เจ้าหญิงอลิซ เค้านท์เตสแห่งแอธโลน ซึ่งเป็นพระภคินีเพียงพระองค์เดียว สมเด็จพระราชินีแมรี่ พระภคินีในพระเชษฐภรรดา รวมถึงสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ซึ่งเป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งด้ว.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียม

้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียม (HRH Princess Marie-José of Belgium; มารี-โจเซ ชาร์ล็อต โซฟี อาเมลี อ็องเรียต กาเบรียลล์; 4 สิงหาคม พ.ศ. 2449 — 27 มกราคม พ.ศ. 2544) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีพระองค์สุดท้ายของประเทศอิตาลี ในช่วงการดำรงพระอิสริยยศสมเด็จพระราชินีมเหสีเป็นเวลาสามสิบห้าวันในเดือนพฤษภาคม ทำให้มีพระสมัญญาว่า "ราชินีแห่งเดือนพฤษภาคม" (The May Queen) เจ้าหญิงมารี-โจเซประสูติ ณ เมืองออสเตนด์ ประเทศเบลเยียม โดยเป็นพระราชธิดาพระองค์เล็กและพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบรต์ที่ 1 แห่งเบลเยียม กับ เจ้าหญิงเอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย พระมเหสี เมื่อแรกประสูติพระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเจ้าหญิงแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา และดัชเชสแห่งแซ็กโซนี จนกระทั่งการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่ 1.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเจ้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารีอา กาเบรียลลาแห่งซาวอย

้าหญิงมารีอา กาเบรียลลาแห่งซาวอย (อิตาลี:Maria Gabriella di Savoia) (24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1940-) พระราชธิดาพระองค์กลางในสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลีกับเจ้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียม กษัตริย์และราชินีองค์สุดท้ายแห่งราชบัลลังก์อิตาลี.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเจ้าหญิงมารีอา กาเบรียลลาแห่งซาวอย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารีอา ตีเรซาแห่งโปรตุเกส

้าหญิงมาเรีย เทเรซ่าแห่งโปรตุเกส เจ้าหญิงมาเรีย เทเรซ่าแห่งโปรตุเกส หรือพระนามเต็ม มาเรีย เทเรซ่า เดอ อิมมาคูเลด้า คอนเซคาว เฟอร์นันด้า ยูลาเลีย ลีโอโพลดีน่า อาเดลเลด อิสซาเบล แคโรลิน่า มิคาเอลล่า ราฟาเอลล่า กาบริเอลล่า ฟรานซิสก้า เดอ แอสซิส เอ เดอ เปาลา กอนซาก้า ไอเนส โซฟี บาร์โทโลเมีย โดส แอนโจส (Maria Teresa de Portugal, arquiduquesa da Áustria; Princess Maria Theresa of Portugal; Prinzessin Maria Theresa von Portugal; พระนามเต็ม Maria Teresa de Imaculada Conceição Fernanda Eulália Leopoldina Adelaide Isabel Carolina Micaela Rafaela Gabriela Francisca de Assis e de Paula Gonzaga Inès Sofie Bartolomea dos Anjos von Habsburg-Lothringen (ราชสกุลเดิม de Bragança)) ทรงเป็นเจ้าฟ้าหญิงแห่งโปรตุเกส และอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย หลังจากทรงอภิเษกสมรส และเป็นพระชายาองค์ที่ 3 ในอาร์คดยุคคาร์ล ลุดวิกแห่งออสเตรียด้ว.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเจ้าหญิงมารีอา ตีเรซาแห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน

้าฟ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน (Princess Märtha of Sweden, มาร์ธา โซเฟีย โลวิซา แด็กมาร์ ไธรา; 28 มีนาคม พ.ศ. 2444 - 5 เมษายน พ.ศ. 2497) ทรงเป็นมกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์พระองค์แรกในยุคปัจจุบัน ซึ่งมิได้ทรงเป็นมกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดนหรือเดนมาร์ก อีกทั้งยังทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งนอร์เวย์มาตั้งแต่แรกประสูติจนกระทั่งถึงการแยกออกตัวออกจากการรวมตัวกันระหว่างประเทศสวีเดนและนอร์เวย์ในปี พ.ศ. 2448 พระองค์เป็นพระชายาและพระญาติชั้นที่สองในสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ เมื่อสมัยที่ยังทรงเป็นมกุฎราชกุมาร เนื่องจากพระชนกและพระชนนีของทั้งสองพระองค์เป็นพี่น้องกัน และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน โดยทรงเกี่ยวข้องเป็นพระอัยยิกาอยู่ทางฝ่ายพระชนกของสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน เนื่องจากทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่สองในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุคแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และเป็นพระชนนีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ เจ้าหญิงประสูติเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2444 ณ กรุงสต็อกโฮล์ม โดยเป็นพระธิดาพระองค์รองในเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ และ เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระอัยกาทางฝ่ายพระชนกคือ สมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ส่วนพระอัยกาฝ่ายพระชนนีคือ สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 8 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงมาร์กาเรธา พระภคินีองค์ใหญ่ทรงอภิเษกกับเจ้าชายแอ็กเซลแห่งเดนมาร์ก พระญาติชั้นที่หนึ่งทางฝ่ายพระชนนี ส่วนเจ้าหญิงแอสตริดแห่งสวีเดน พระขนิษฐาองค์เล็กทรงอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโพลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม ในขณะที่พระอนุชาพระองค์เล็กคือ เจ้าชายคาร์ลแห่งสวีเดน ดยุคแห่งออสเตอเกิตลานด์ ทรงอภิเษกสมรสต่างฐานันดรศักดิ์กับหญิงสาวสามัญชน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์

้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์ หรือพระนามแบบเต็ม แมรี อเดเลด วิลเฮลมินา เอลิซาเบธ (Princess Mary Adelaide of Cambridge; 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2376 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2440) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 ต่อมาพระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น ดัชเชสแห่งเท็ค (Duchess of Teck) จากการอภิเษกสมรส พระองค์เป็นพระชนนีของสมเด็จพระราชินีแมรี พระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 นอกจากนั้นยังเป็นหนึ่งในบรรดาพระบรมวงศ์พระองค์แรกๆ ที่ทรงอุปถัมภ์การกุศลต่างๆ มากม.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก

้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก (Princess Katherine of Greece and Denmark) หรือว่า เลดี้ แคทเธอรีน แบรนด์แรม (Lady Katherine Brandram; 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2456 - 2 ตุลาคม พ.ศ. 2550) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สามและองค์เล็กในสมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ (พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2466) และ เจ้าหญิงโซฟีแห่งปรัสเซีย (พ.ศ. 2413 - พ.ศ. 2475) และเป็นพระราชปนัดดาหญิงซึ่งทรงพระชนม์ชีพอยู่พระองค์สุดท้ายในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (โดยพระราชปนัดดาชายพระองค์สุดท้ายที่ยังทรงพระชนม์ชีพอยู่ขณะนี้คือ เค้านท์ คาร์ล โยฮัน เบอร์นาด็อต (พระชนมายุ 91 ชันษา).

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเฟาซียะห์-ลาติฟะฮ์แห่งอียิปต์

้าหญิงเฟาซียะห์-ลาติฟา แห่งอียิปต์ (12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525-) พระราชธิดาพระองค์เดียวของพระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ กับฟาดิลา ฟรองซ์ ปิการ์ สตรีชาวฝรั่งเศส พระองค์ประสูติเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 ในเขตมอนเตการ์โล ประเทศโมนาโก โดยพระองค์ถือสัญชาติโมนาโก พระองค์มีพระเชษฐา 1 พระองค์ และพระอนุชา 1 พระองค์ คือ เจ้าชายมูฮัมหมัด อาลี เจ้าชายแห่งซาอิด และเจ้าชายฟากูรุดดินแห่งอียิปต.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเจ้าหญิงเฟาซียะห์-ลาติฟะฮ์แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เทียรี่ เมฆวัฒนา

ทียรี่ เมฆวัฒนา นักร้องและนักดนตรีชาวไทย สมาชิกวงคาราบาว มีชื่อจริงว่า เทียรี่ สุทธิยงค์ เมฆวัฒนา เกิดเมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2501 ที่ประเทศลาว โดยมีพ่อเป็นชาวไทยเชื้อสายจีนชื่อ เอนก เมฆวัฒนา แม่เป็นชาวสวิตเซอร์แลนด์ จากผู้จัดการออนไลน.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเทียรี่ เมฆวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

เขตบริหารพิเศษฮ่องกงในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ตบริหารพิเศษฮ่องกง เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเขตบริหารพิเศษฮ่องกงในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

เดอะเฟม

อะเฟม (The Fame) คือสตูดิโออัลบั้มแรกของเลดี้ กาก้า นักร้องหญิงชาวอเมริกัน ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2552 โดยค่ายอินเตอร์สโคปเรเคิดส์ ก่อนหน้านี้กาก้าเคยทำงานด้านการประพันธ์เพลงให้กับศิลปินมากมายจนกระทั่งการออกอัลบั้มเป็นของตนเองครั้งแรก ธีมหลักของเพลงในอัลบั้มมีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้สึกอย่างคนที่มีชื่อเสียง ในอัลบั้มนี้ กาก้าได้ทำงานร่วมกับโปรดิวเซอร์หลายคน อาทิ เรดวัน, Martin Kierszenbaum, และ Rob Fusari เพลงต่างๆได้แรงบันดาลใจมาจากความรักของกาก้าในการเป็นที่รู้จักมีชื่อเสียงโดยพื้นฐาน ผสานกับแบบชีวิตที่ฟุ้งเฟ้อและสลับซับซ้อนของเธอ ดนตรีในอัลบั้มได้แรงบันดาลใจมาจากแนวดนตรีซินธ์ป็อปช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 (80s) ผสมผสานกับเพลงแดนส์และฮูก อัลบั้มนี้ได้รับการวิจารณ์เชิงบวกโดยส่วนมาก ด้วยกาก้าสามารถค้นพบเมโลดีฮูกและมีการเปรียบเทียบความสามารถของเธอกับเกวน สเตฟานี อัลบั้มนี้ขึ้นชาร์ตอันดับหนึ่งในหลายประเทศ อาทิ สหราชอาณาจักร, แคนากา และไอร์แลนด์ ในสหรัฐอเมริกาอัลบั้มนี้ขึ้นชาร์ต ''บิลบอร์ด'' 200 สูงสุดในอับดับที่ 4 และขึ้นอันดับสูงสุดในชาร์ต บิลบอร์ด ทอปอิเล็กทรอนิกอัลบั้ม มียอดจำหน่ายอัลบั้มทั่วโลกกว่า 4 ล้านชุด สองซิงเกิลแรกจากอัลบั้ม เดอะเฟม อันได้แก่ "จัสแดนส์" และ "โปเกอร์เฟส" ได้รับความนิยมทั่วโลก ทั้งสองขึ้นชาร์ตอันดับหนึ่งกว่า 6 ประเทศ รวมทั้ง ''บิลบอร์ด'' ฮอต 100 ในสหรัฐอเมริกา เพลง "โปเกอร์เฟส" ขึ้นชาร์ตอันดับหนึ่งในตลาดดนตรีใหญ่ๆ ในส่วนซิงเกิลอื่นๆ ได้แก่ "เอ, เอ (นอตติงเอลส์ไอแคนเซย์)", "เลิฟเกม" และ "ปาปารัสซี่" กาก้าประชาสัมพันธ์อัลบั้มดังกล่าวด้วยการขับร้องเพลงในการแสดงสดของเธอ รวมทั้งใน คอนเสิร์ตทัวร์เดอะเฟมบอล คอนเสิร์ตทัวร์ครั้งแรกของเธอ อัลบั้มนี้ยังบรรจุเป็นซีดีแผ่นพิเศษในอัลบั้ม เดอะเฟมมอนสเตอร์ ฉบับดีลักซ์ ในวันที่ 22 ธันวาคม..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเดอะเฟม · ดูเพิ่มเติม »

เคน นากาชิมา

น นากาจิม่า (Ken Nakajima) นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521 ที่ ฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่น สถิติการชก 21 ครั้ง ชนะ 16 (น็อค 10) แพ้ 5.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเคน นากาชิมา · ดูเพิ่มเติม »

เค้าก่อน

"เค้าก่อน (Rebound)" เป็นซิงเกิลในปี พ.ศ. 2559 ของนักร้องจิรายุทธ ผโลประการ หรือที่รู้จักกันดีในนามของ UrboyTJ ประพันธ์เนื้อร้อง-ทำนอง และเรียบเรียงโดย UrboyTJ ออกจำหน่ายในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 โดยเป็นซิงเกิลแรกหลังจากที่แยกวงจากทรี.ทู.วัน เนื้อหาของเพลงนี้ เป็นเรื่องราวของผู้ชายคนหนึ่งที่ไปชอบผู้หญิงที่มีเจ้าของ จึงอยากให้เธอไปทำอะไรกับเค้าก่อน แล้วค่อยมาคุยกับเราก็ได้.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเค้าก่อน · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์ไวเวอร์ โทแคนติน

ซอร์ไวเวอร์ โทแคนติน - ที่ราบสูงแห่งบราซิล (Survivor: Tocantins — The Brazilian Highlands) เป็นฤดูกาลที่ 18 ของรายการเซอร์ไวเวอร์ เริ่มรับสมัครผู้เข้าแข่งขันตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 และคัดผู้เข้าแข่งขันครั้งสุดท้ายประมาณเดือนตุลาคม-ธันวาคม พ.ศ. 2551 โดยเป็นครั้งแรกที่อนุญาตให้ผู้ที่มีอายุต่ำสุดคือ 18 ปี ลงสมัครได้ทั้งประเทศยกเว้น รัฐมิสซิสซิปปีและวอชิงตัน ดี.ซี. และภายในการผลิตได้มีการเรียกชื่อสถานที่ต่างออกไปโดยปกติแล้วจะใช้ชื่อ เซอร์ไวเวอร์ โทแคนติน แต่ในการผลิตได้เปลี่ยนการเรียกเป็น โทเค็นชิน อย่างไรก็ตามอาจจะเกิดการเรียกชื่อผิดไปจากนี้บ้าง ขึ้นอยู่กับการออกเสียงที่แตกต่างกันของคนแต่ละเชื้อชาติ การออกอากาศตอนแรกสำหรับในประเทศไทยสามารถรับชมได้ทาง True Visions ซึ่งจะฉายหลังจากที่ทางซีบีเอสฉายจบแต่ละตอนไปแล้วเป็นเวลา 7 ชั่วโมงซึ่งตรงกับวันที่ 13 กุมภาพัน..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเซอร์ไวเวอร์ โทแคนติน · ดูเพิ่มเติม »

เปรมศักดิ์ เพียยุระ

ร.นายแพทย์เปรมศักดิ์ เพียยุระ หรืออดีต พระเปรมศักดิ์ เปมสกฺโก อดีตนายกเทศมนตรีเมืองบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดขอนแก่น เกิดที่อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น เมื่อ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2508 ปัจจุบันสมรสกับ ดร.อรทัย เพียยุระ ดุษฎีบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยลอนดอนประเทศอังกฤษ ขณะศึกษาในระดับปริญญาตรี ได้รับเลือกตั้งเป็นนายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และเปรมศักดิ์ เพียยุระ · ดูเพิ่มเติม »

12 มีนาคม

วันที่ 12 มีนาคม เป็นวันที่ 71 ของปี (วันที่ 72 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 294 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และ12 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 เมษายน

วันที่ 15 เมษายน เป็นวันที่ 105 ของปี (วันที่ 106 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 260 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และ15 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

30 กำลังแจ๋ว The Series

30 กำลังแจ๋ว The Series เป็นรายการโทรทัศน์ ประเภทละครชุด แนว โรแมนติก, คอมเมดี้ ที่ได้นำเค้าโครงเรื่องจากภาพยนตร์ไทยเรื่องดังอย่าง 30 กำลังแจ๋ว ของ สมจริง ศรีสุภาพ มาสร้างเป็นละครชุดเรื่องดังกล่าว ผลิตโดย จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และจีเอ็มเอ็มทีวี ออกอากาศทุกวันจันทร์เวลา 22:00 - 23:00 น. เริ่มออกฉายครั้งแรก วันที่ 20 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และ30 กำลังแจ๋ว The Series · ดูเพิ่มเติม »

31 พฤษภาคม

วันที่ 31 พฤษภาคม เป็นวันที่ 151 ของปี (วันที่ 152 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 214 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และ31 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 พฤษภาคม

วันที่ 4 พฤษภาคม เป็นวันที่ 124 ของปี (วันที่ 125 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 241 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และ4 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 ตุลาคม

วันที่ 6 ตุลาคม เป็นวันที่ 279 ของปี (วันที่ 280 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 86 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และ6 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 กันยายน

วันที่ 7 กันยายน เป็นวันที่ 250 ของปี (วันที่ 251 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 115 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 12 กุมภาพันธ์และ7 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

12 ก.พ.๑๒ กุมภาพันธ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »