โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี III

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี III

ไฟนอลแฟนตาซี vs. ไฟนอลแฟนตาซี III

ฟนอลแฟนตาซี (Final Fantasy) เป็นเกมชุดของเกมอาร์พีจี ที่ได้รับความนิยมอย่างสูง สร้างขึ้นโดยสแควร์ (ปัจจุบันคือบริษัท สแควร์เอนิกซ์) โดยเกมชุดไฟนอลแฟนตาซีนี้มีในในเครื่องเล่นหลายชนิด ได้แก่ เครื่องเกมคอนโซล เครื่องเกมเคลื่อนที่ เกมออนไลน์ เกมบนโทรศัพท์มือถือ และยังมีทำเป็น ภาพยนตร์การ์ตูน 3 เรื่อง และ ภาพยนตร์เรื่องยาว 2 เรื่อง ไฟนอลแฟนตาซีชุดแรกออกวางจำหน่ายในประเทศญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2530 และได้มีการแปลเป็นภาษาอังกฤษเพื่อจัดจำหน่ายในทวีปอเมริกาเหนือเมื่อพ.ศ. 2533 รวมทั้งวางขายภูมิภาคอื่นทั่วโลก เช่น ทวีปยุโรป และออสเตรเลีย เครื่องเล่นเกมที่มี ไฟนอลแฟนตาซี ออกจำหน่าย ได้แก่ แฟมิคอม ซูเปอร์แฟมิคอม ซูเปอร์นินเทนโด เพลย์สเตชัน วันเดอร์สวอน เพลย์สเตชัน 2 เกมคอมพิวเตอร์ เกมบอยแอดวานซ์ พีเอสพี เกมคิวบ์ นินเทนโด ดีเอส เอกซ์บอกซ์ 360 เพลย์สเตชัน 3 เอกซ์บอกซ์ วัน เพลย์สเตชัน 4 และโทรศัพท์มือถือ ในเดือนสิงหาคม 2560 เฟมในชุดเกมไฟนอลแฟนตาซีมียอดขายรวมมากกว่า 135 ล้านชุดทั่วโลก นับเป็นเกมที่ประสบความสำเร็จสูงสุดของบริษัทสแควร์เอนิกซ์ ปัจจุบันมีเกมหลักออกวางจำหน่ายแล้ว 15 ภาค และมีเกมที่เกี่ยวข้องอีกมาก. หน้าปกของเกม ไฟนอลแฟนตาซี III รุ่นเครื่องเกมแฟมิคอม ไฟนอลแฟนตาซี III (Final Fantasy III) เป็นเกมเล่นตามบทละคร หนึ่งในเกมชุดไฟนอลแฟนตาซีถูกพัฒนาครั้งแรกและวางจำหน่ายเมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2533 โดยบริษัทสแควร์สำหรับเล่นในเครื่องเกมแฟมิคอม ตัวละครในเรื่องออกแบบโดยโยะชิทะกะ อะมะโนะ และเพลงออกแบบโดย โนะบุโอะ อุเอะมัตสึ เหมือนในภาคก่อนหน้า โดยก่อนหน้านี้ทางบริษัทได้มีโครงการที่จะพัฒนาเกมลงเครื่องวันเดอร์สวอนแต่ได้ถูกยกเลิกไป ต่อมาได้มีการพัฒนาอีกครั้งและวางจำหน่ายในปี 24 สิงหาคม พ.ศ. 2549 สำหรับเครื่องเกมนินเทนโด ดีเอส จากทางสแควร์เอนิกซ์ โดยในเกมที่ทำใหม่นั้นได้ปรับปรุงระบบภาพเป็นกราฟิกส์ 3 มิติ ทั้งหมด และมีระบบการเชื่อมต่อระบบวายฟายเพิ่มเข้ามา การดำเนินเรื่องของเกมเกี่ยวกับเด็กกำพร้าสี่คนได้บังเอิญมาเจอกับคริสตัลในถ้ำแห่งหนึ่ง และได้รับคำชี้แนะของทางคริสตัลว่าแท้จริงแล้วพวกเขาคือนักรบแห่งแสงสว่าง ที่จะมาช่วยกู้โลกจากความมืด หลังจากนั้นเด็กทั้งสี่ได้ผจญภัยไปในโลกกว้าง และได้รับความช่วยเหลือจากคนอื่นตลอดการเดินทางเผื่อปราบมารร้ายซันเด และนำความสงบกลับคืนมาสู่โลก ในสหรัฐอเมริกา ไฟนอลแฟนตาซี III มักจะถูกเรียกสับสนกับเกมไฟนอลแฟนตาซี VI ซึ่งเป็นเกมที่วางจำหน่ายในอเมริกาเป็นเกมลำดับที่ 3.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี III

ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี III มี 19 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2533พ.ศ. 2549สแควร์สแควร์เอนิกซ์ซิดนินเท็นโด ดีเอสแฟมิคอมโมกลีโยชิตากะ อามาโนะไฟนอลแฟนตาซีไฟนอลแฟนตาซี Iไฟนอลแฟนตาซี IIไฟนอลแฟนตาซี VIเพลย์สเตชันเพลย์สเตชัน 2เกมบอยอัดวานซ์เกมเล่นตามบทบาทเอนิกซ์27 เมษายน

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2533และไฟนอลแฟนตาซี · พ.ศ. 2533และไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2549และไฟนอลแฟนตาซี · พ.ศ. 2549และไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

สแควร์

แควร์ (スクウェア) หรือ บริษัทสแควร์จำกัด (株式会社スクウェア, Square Co., Ltd.) เป็นบริษัทผลิตวิดีโอเกมของประเทศญี่ปุ่น จัดตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1983 โดย มาซาฟูมิ มิยาโมโต้ และ ฮิโรโนบุ ซาคากูชิ เกมแรกของ สแควร์ จัดจำหน่ายครั้งแรกบนเครื่องแฟมิคอม (Nintendo Family Computer หรือที่รู้จักกันอย่างเป็นทางการว่า Nintendo Entertainment System) และ แฟมิคอม ดิสก์ ซิสเต็ม (Famicom Disk System) โดยเกมในช่วงแรกที่ผลิตออกมาไม่ประสบความสำเร็จมากนัก จนกระทั่งปี 1987 บริษัทก็ประสบปัญหาและมีโอกาสที่จะล้มละลาย และปีเดียวกัน ฮิโรโนบุ ซาคากูชิ ลูกจ้างของบริษัทได้ถูกตำหนิเกี่ยวกับการสร้างเกมที่คาดว่าจะเป็นเกมสุดท้ายของบริษัท ซึ่งก็คือเกม RPG ชื่อ ไฟนอลแฟนตาซี (Final Fantasy) บนเครื่องแฟมิคอมนั่นเอง การที่ฮิโรโนบุนำคำว่า “ไฟนอล” (สุดท้าย) มาใช้เพราะเค้าวางแผนไว้ว่าจะลาออกจากการทำงานในอุตสาหกรรมเกมและ ไฟนอลแฟนตาซี จะเป็นเกมสุดท้ายของเขา แต่ ไฟนอลแฟนตาซี กลับทำได้ดีเกินกว่าที่ ฮิโรโนบุ และ สแควร์ คาดไว้ และทำให้มีการจำหน่ายไปสู่อเมริกาเหนือ โดยนินเทนโดอเมริกาซึ่งเป็นผู้จำหน่ายเกม ไฟนอลแฟนตาซี ที่อเมริกาในปี ค.ศ. 1990 และจากความสำเร็จนี้เอง ทำให้ฮิโรโนบุยกเลิกแผนการที่จะลาออกและอยู่ที่ สแควร์ซอฟต์ เพื่อพัฒนาเกมไฟนอลแฟนตาซีภาคใหม่ต่อไป สาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกมไฟนอลแฟนตาซีแต่ละภาคมีเนื้อเรื่องที่แปลกใหม่พร้อมกับตัวละครที่ไม่ซ้ำกับภาคก่อนก็น่าจะมีเหตุผลมาจากต้นฉบับของเกม ไฟนอลแฟนตาซี นั้นสร้างขึ้นด้วยความเชื่อที่ว่าจะไม่มีภาคต่ออีกนั่นเอง ไฟนอลแฟนตาซีภาคต่อมาได้ถูกสร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1988 (ไฟนอลแฟนตาซี II) โดยวางตลาดเฉพาะในประเทศญี่ปุ่นจนถึง ไฟนอลแฟนตาซี III และมีกำหนดการวางจำหน่ายสำหรับเครื่องแฟมิคอม ในอเมริกาเหนือ แต่เนื่องจากการเข้าสู่ยุคใหม่ของเกมและการมาของเครื่องซุปเปอร์แฟมิคอม (ชื่อทางการคือ Nintendo Entertainment System) ในที่สุดก็มีการยกเลิกการจำหน่าย ไฟนอลแฟนตาซี สำหรับเครื่องแฟมิคอม และแทนที่โดย ไฟนอลแฟนตาซี IV บนเครื่องซุปเปอร์แฟมิคอม นอกจากนี้ สแควร์ ยังผลิตเกมอื่น ๆ ออกมาอีกและเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย เช่น โครโนทริกเกอร์, โจโคโบะ, อายน์แฮนด์เดอร์, ซีเคร็ท ออฟ มานา, เซเคนเด็นเซตสึ, เซโนเกียร์ส, ไฟนอลแฟนตาซี แทคติกส์, เบรฟเฟนเซอร์ มุซาชิเด็น, วาแกรนต์ สตอรี่ และ คิงด้อมฮาร์ทส (ร่วมมือกับบริษัท Disney Interactive โดยมีส่วนเกี่ยวข้องกับไฟนอลแฟนตาซี) ในปี ค.ศ. 2002 บริษัทสแควร์ ได้รวมกิจการกับ เอนิกซ์ ซึ่งเป็นผู้ผลิตเกมดราก้อนเควสต์ เพื่อที่จะควบคุมการพัฒนาและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันเนื่องมาจากความล้มเหลวจากการผลิตภาพยนตร์ Final Fantasy: The Spirits Within และในวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 2003 การควบรวมบริษัทก็ประสบความสำเร็จและใช้ชื่อเป็นบริษัทสแควร์เอนิกซ์ (Square Enix) จนถึงปัจจุบัน.

สแควร์และไฟนอลแฟนตาซี · สแควร์และไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

สแควร์เอนิกซ์

แควร์เอนิกซ์ หรือ บริษัท สแควร์เอนิกซ์ โฮลดิงส์ มหาชนจำกัด (株式会社スクウェア・エニックス・ホールディングス คะบุชิกิ-ไงฉะ ซุกุเอะอะ เอะนิกกุซุ โฮรุดิงงุซุ; Square Enix Holdings Co., Ltd) คือ ชื่อของบริษัทผลิตเกม โดยเกมที่มีชื่อเสียงคือเกมชุด ไฟนอลแฟนตาซี ดราก้อนเควสต์ และ คิงดอมฮาร์ต สำนักงานใหญ่อยู่ที่ โยะโยะงิ ในชิบุยะ เมืองโตเกียว สแควร์เอนิกซ์ เป็นบริษัทที่เกิดจากการควบรวมกิจการระหว่าง บริษัทสแควร์ และ เอนิกซ์ ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2546 โดยการควบรวมกันครั้งนี้ผู้ถือหุ้นในบริษัทสแควร์ได้รับส่วนแบ่งทางการตลาดเป็นสัดส่วน 0.81 และเอนิกซ์ได้รับในอัตรา 1:1 แต่นอกเหนือจากเรื่องส่วนแบ่งของผู้ถือหุ้น ในส่วนของผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ระดับสูงหลายคนของบริษัทสแควร์ได้รับบทบาทในฐานะผู้นำในสแควร์เอนิกซ์ รวมทั้งประธานบริษัทสแควร์ซึ่งก็คือนายโยอิจิ วาดะ ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นประธานของสแควร์เอนิกซ์นั่นเอง.

สแควร์เอนิกซ์และไฟนอลแฟนตาซี · สแควร์เอนิกซ์และไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

ซิด

องซิด ใน ไฟนอลแฟนตาซี VII ซิด (Cid) คือ ตัวละครในเกมชุด ไฟนอลแฟนตาซี ที่ปรากฏแทบทุกภาค และมักจะมีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับเรือเหาะและมีสัมพันธ์อันดีกับผู้หญิงชื่อฮิลด้า แต่ถึงจะชื่อเหมือนกัน ก็ไม่ใช่คนเดียวกัน แต่ละภาคจะมีบทแตกต่างกันดังนี้.

ซิดและไฟนอลแฟนตาซี · ซิดและไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

นินเท็นโด ดีเอส

นินเท็นโด DS (Nintendo DS หรือตัวย่อ NDS) เป็นเครื่องเล่นเกมพกพาที่มี 2 จอ ของบริษัทนินเท็นโด ตัวอักษร DS ย่อมาจาก Dual Screen หรือ Developer's System ตามที่นินเท็นโดได้บอกไว้ รหัสในการพัฒนาคือ Project Nitro รูปทรงของ NDS เป็นแบบฝาพับ (clamshell) เช่นเดียวกับ Gameboy Advance SP DS ออกแบบมาเพื่อสร้างแนวคิดใหม่ๆ ในการเล่นเกม จอภาพด้านล่างของ DS เป็นระบบสัมผัส นอกจากนี้ยังมีไมโครโฟนในตัว และการเชื่อมต่อแบบไร้สายกับ DS เครื่องอื่นๆ โดยนินเท็นโดวางตำแหน่งของ DS แตกต่างจากเกมบอย และจับตลาดผู้เล่นที่เป็นผู้ใหญ่มากกว่า DS วางจำหน่ายในสหรัฐอเมริกาเมื่อ 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 2004 และที่ญี่ปุ่น 2 ธันวาคม ปีเดียวกัน.

นินเท็นโด ดีเอสและไฟนอลแฟนตาซี · นินเท็นโด ดีเอสและไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

แฟมิคอม

แฟมิคอม (Famicom) หรือ เครื่องเกมนินเทนโด (Nintendo Entertainment System: NES) เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกม 8 บิต ผลิตโดยบริษัทนินเทนโด ชื่อของแฟมิคอมมาจากคำเต็มว่า แฟมิลี่คอมพิวเตอร์ (Family Computer) คนไทยมักเรียกเครื่องเล่นเกมชนิดนี้ว่า เครื่องแฟมิลี่ มะซะยุกิ อุเอะมุระได้เป็นผู้ออกแบบระบบเกม และวางจำหน่ายในญี่ปุ่นเมื่อ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2526 ในราคา 14,800 เยน โดยมีเกม 3 เกมที่ออกมาพร้อมกัน คือ ดองกีคอง (Donkey Kong) ดองกีคองจูเนียร์ (Donkey Kong Jr.) และป็อปอาย (Popeye) ส่วนเกมที่ได้รับความนิยมในเครื่องเล่นเกมชนิดนี้คือซูเปอร์มาริโอบราเธอร์ส (Super Mario Bros.) และซูเปอร์มาริโอบราเธอร์ส 2 (Super Mario Bros. 2) และซูเปอร์มาริโอบราเธอร์ส 3 (Super Mario Bros. 3) และซูเปอร์มาริโอบราเธอส์: เดอะลอสต์เลเวลส์ (Super Mario Bros: The Lost Levels).

แฟมิคอมและไฟนอลแฟนตาซี · แฟมิคอมและไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

โมกลี

ม๊อกกุริ ใน ไฟนอลแฟนตาซี IX ม๊อกกุริ เป็นชื่อเผ่าพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งในเกมชุด ไฟนอลแฟนตาซี ที่มีบทบาทแตกต่างกันในแต่ละภาค เช่น เป็นพรรคพวกใน ไฟนอลแฟนตาซี VI เป็นจุดเซฟเกมใน ไฟนอลแฟนตาซี IX และเป็นชุดสวมใส่ใน ไฟนอลแฟนตาซี X-2 เป็นต้น ลักษณะโดยทั่วไปทุกภาคคือ เป็นสัตว์คล้ายแมว ตัวเล็กๆ เหมือนตุ๊กตา ขนสีขาว จมูกใหญ่สีแดง และมีปีกสีม่วงเล็กๆ คล้ายกับปีกค้างคาว 2 ข้าง ชื่อ ม๊อก หรือ ม๊อกกุริ ตามการออกเสียงในภาษาญี่ปุ่น มาจากการผสมคำระหว่าง โมะกุระ ที่แปลว่าตัวตุ่น กับ โคโมะริ ที่แปลว่าค้างคาว หมวดหมู่:ตัวละครในไฟนอลแฟนตาซี de:Mog en:Final Fantasy#Common elements fi:Final Fantasy (pelisarja)#Mooglet.

โมกลีและไฟนอลแฟนตาซี · โมกลีและไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

โยชิตากะ อามาโนะ

ตากะ อามาโนะ โยชิตากะ อามาโนะ เกิดเมื่อ 28 กรกฎาคม..

โยชิตากะ อามาโนะและไฟนอลแฟนตาซี · โยชิตากะ อามาโนะและไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี

ฟนอลแฟนตาซี (Final Fantasy) เป็นเกมชุดของเกมอาร์พีจี ที่ได้รับความนิยมอย่างสูง สร้างขึ้นโดยสแควร์ (ปัจจุบันคือบริษัท สแควร์เอนิกซ์) โดยเกมชุดไฟนอลแฟนตาซีนี้มีในในเครื่องเล่นหลายชนิด ได้แก่ เครื่องเกมคอนโซล เครื่องเกมเคลื่อนที่ เกมออนไลน์ เกมบนโทรศัพท์มือถือ และยังมีทำเป็น ภาพยนตร์การ์ตูน 3 เรื่อง และ ภาพยนตร์เรื่องยาว 2 เรื่อง ไฟนอลแฟนตาซีชุดแรกออกวางจำหน่ายในประเทศญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2530 และได้มีการแปลเป็นภาษาอังกฤษเพื่อจัดจำหน่ายในทวีปอเมริกาเหนือเมื่อพ.ศ. 2533 รวมทั้งวางขายภูมิภาคอื่นทั่วโลก เช่น ทวีปยุโรป และออสเตรเลีย เครื่องเล่นเกมที่มี ไฟนอลแฟนตาซี ออกจำหน่าย ได้แก่ แฟมิคอม ซูเปอร์แฟมิคอม ซูเปอร์นินเทนโด เพลย์สเตชัน วันเดอร์สวอน เพลย์สเตชัน 2 เกมคอมพิวเตอร์ เกมบอยแอดวานซ์ พีเอสพี เกมคิวบ์ นินเทนโด ดีเอส เอกซ์บอกซ์ 360 เพลย์สเตชัน 3 เอกซ์บอกซ์ วัน เพลย์สเตชัน 4 และโทรศัพท์มือถือ ในเดือนสิงหาคม 2560 เฟมในชุดเกมไฟนอลแฟนตาซีมียอดขายรวมมากกว่า 135 ล้านชุดทั่วโลก นับเป็นเกมที่ประสบความสำเร็จสูงสุดของบริษัทสแควร์เอนิกซ์ ปัจจุบันมีเกมหลักออกวางจำหน่ายแล้ว 15 ภาค และมีเกมที่เกี่ยวข้องอีกมาก.

ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี · ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี I

ฟนอลแฟนตาซี หรือรู้จักกันในนาม ไฟนอลแฟนตาซี I เป็นเกมภาษา หรือ เกมแนว RPG (Role-playing game) ที่สร้างขึ้นโดยฮิโรโนบุ ซากากุจิ ผลิตและจัดจำหน่ายโดย สแควร์ สำหรับเล่นบนเครื่องเกม Nintendo Entertainment System (NES) หรือที่รู้จักกันในนาม แฟมิคอม วางตลาดครั้งแรกใน ญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2530 ถือเป็นปฐมบทแห่งตำนาน ไฟนอลแฟนตาซี นอกจากนี้ ไฟนอลแฟนตาซี ยังได้ถูกสร้างใหม่ไว้สำหรับเล่นบนเครื่องเกมอีกหลายประเภท เช่น MSX 2 WonderSwan และโทรศัพท์มือถือ หลังจากออกจำหน่ายครั้งแรกมาหลายปี ไฟนอลแฟนตาซี I ได้ถูกสร้างใหม่พร้อม ไฟนอลแฟนตาซี II ทำเป็นชุดคู่กันในนาม ไฟนอลแฟนตาซีออริจินส์ (Final Fantasy Origins)สำหรับเครื่องเกม เพลย์สเตชัน, ไฟนอลแฟนตาซีดอว์นออฟโซลส์ (Final Fantasy I & II: Dawn of Souls) สำหรับเครื่อง เกมบอยแอดวานซ์ และ ไฟนอลแฟนตาซีแอนิวาซารี่เอดิชั่น บนเครื่อง พีเอสพี.

ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี I · ไฟนอลแฟนตาซี Iและไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี II

ฟนอลแฟนตาซี II (ファイナルファンタジーII; Final Fantasy II) เป็น เกมอาร์พีจี ผลิตโดยบริษัทสแควร์ (ปัจจุบันคือ สแควร์เอนิกซ์) ลงให้แก่เครื่องเล่นเกมแฟมิคอม ของบริษัทนินเทนโด เป็นครั้งแรกที่ตัวละครของเกมซีรี่นี้ ถูกกำหนดให้มีชื่อและเรื่องราวความเป็นมาเป็นของตนเอง และยังมีเนื้อเรื่องมากมายที่ต้องสลับตัวเพื่อนในกลุ่มอยู่ตลอดเวลา ทำให้ประสบความสำเร็จในยุคนั้น นอกจากนี้ยังเป็นการปรากฏตัวของตัวละครประจำซีรีส์ไฟนอลแฟนตาซีอย่าง ซิด และ โจโคโบะ อีกด้วยต่อมาจึงได้มีการรีเมคใหม่มาลงเครื่องเกมบอยแอดวานซ์ (GBA) คู่กับภาคแรกในชื่อเกม ไฟนอลแฟนตาซี I-II แอดวานซ์ ในปี ค.ศ. 2004 กับค.ศ. 2006 และสำหรับเพลย์สเตชันพอร์เทเบิล ใน..

ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี II · ไฟนอลแฟนตาซี IIและไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี VI

ฟนอลแฟนตาซี VI เป็นเกมภาษา หรือ เกมแนว RPG ถูกพัฒนาขึ้นและจัดจำหน่ายในปี พ.ศ. 2537 โดยบริษัทสแควร์อีนิกซ์ (ชื่อเดิมคือบริษัทสแควร์) ประเทศญี่ปุ่น ภายหลังได้ถูกรีเมค ลงบนเครื่องเพลย์สเตชัน ในปี พ.ศ. 2542 และเกมบอยแอดวานซ์ ในปี พ.ศ. 2549 ภาคภาษาอังกฤษบนเครื่องซูเปอร์แฟมิคอมใช้ชื่อว่า "Final Fantasy III" เพราะไม่ได้มีการวางจำหน่ายภาค V ในสหรัฐอเมริกา จึงให้ภาค VI กลายเป็นภาค III แทน.

ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี VI · ไฟนอลแฟนตาซี IIIและไฟนอลแฟนตาซี VI · ดูเพิ่มเติม »

เพลย์สเตชัน

ลย์สเตชัน (อังกฤษ: PlayStation ญี่ปุ่น: プレイステーション) เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกม ระบบ 32 บิต ผลิตโดย Sony Computer Entertainment โดยได้มีออกมาหลายรุ่นในลักษณะหลักเดียวกันในช่วงปลายปี ทศวรรษ 2540 หลังจากที่ประสบความสำเร็จทางโซนี่ได้ออกเครื่องเล่นเกมในรุ่นต่อมาซึ่งได้แก่ พีเอสวัน (PSone), เพลย์สเตชัน 2, PSP (PlayStation Portable) และ เพลย์สเตชัน 3 ที่ออกจำหน่ายไปแล้วเมื่อปลายปี พ.ศ. 2549.

เพลย์สเตชันและไฟนอลแฟนตาซี · เพลย์สเตชันและไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

เพลย์สเตชัน 2

ลย์สเตชัน 2 (อังกฤษ: PlayStation 2; ญี่ปุ่น: プレイステーション2) หรือที่รู้จักกันในชื่อ พีเอสทู (PS2) เป็น เครื่องเล่นวิดีโอเกม ที่ผลิตโดย โซนี่คอมพิวเตอร์เอนเตอร์เทนเมนท์ พัฒนาต่อมาจากเพลย์สเตชัน การพัฒนาเริ่มต้นในเดือนเมษายน พ.ศ. 2542 และได้วางจำหน่ายในประเทศญี่ปุ่นครั้งแรกวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2543 และในสหรัฐอเมริกา วันที่ 26 ตุลาคม ปีเดียวกัน เพลย์สเตชัน 2 เป็นเครื่องเล่นที่ได้รับความนิยมมากที่สุดรุ่นหนึ่ง โดยปัจจุบันมียอดจำหน่ายมากกว่า 100 ล้านเครื่องทั่วโลก หลังจากที่มีการขาดตลาดในช่วงแรกที่วางจำหน่าย เพลย์สเตชัน 2 มีรูปทรง 2 แบบด้วยกันคือ.

เพลย์สเตชัน 2และไฟนอลแฟนตาซี · เพลย์สเตชัน 2และไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

เกมบอยอัดวานซ์

กมบอยอัดวานซ์ เกมบอยอัดวานซ์ (Gameboy Advance หรือตัวย่อ GBA) เป็นเครื่องเล่นเกมพกพาของบริษัทนินเทนโด ถือว่าเป็นรุ่นล่าสุดในเครื่องเล่นเกมตระกูลเกมบอย วางจำหน่ายครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 2001 ในทวีปอเมริกาเหนือ วันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 2001 และทวีปยุโรปเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 2001 มีรหัสระหว่างการพัฒนาว่า Project Atlantis เกมบอยอัดวานซ์สามารถเล่นเกมเก่าของเกมบอย และ เกมบอยคัลเลอร์ ได้.

เกมบอยอัดวานซ์และไฟนอลแฟนตาซี · เกมบอยอัดวานซ์และไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

เกมเล่นตามบทบาท

กมเล่นตามบทบาท หรือ เกมอาร์พีจี (Role-playing game: RPG) คือเกมประเภทหนึ่งที่ผู้เล่นสมมุติรับบทเป็นตัวละครหนึ่งในเกม โดยเล่นตามกฎกติกาของเกมผ่านการป้อนคำสั่งและเลือกเงื่อนไขที่เกมกำหนดมา โดยผลลัพธ์ที่เกิดจะแตกต่างกัน ตามเงื่อนไขที่เลือก โดยเกมอาจจะเป็นทั้งลักษณะ การเล่นโดยเขียนในกระดาษ วิดีโอเกมหรือคอมพิวเตอร์เกมก็ได้ ในยุคแรกๆเกมเล่นตามบทบาทจะเป็นลักษณะของเกมกระดาน ที่ผู้เล่นจะแบ่งฝ่ายเป็นสองฝ่าย ฝ่ายหนึ่งจะเป็นผู้นำในเกม ทำหน้าที่บอกเล่าเรื่องราวต่างๆผ่านกระดานในเกม ขณะที่ผู้เล่นอีกฝ่ายจะเป็นผู้เล่นต้องสร้างตัวละครและทอยเต๋ากำหนดค่าต่างๆ รวมถึงกระทำตามกฎต่างๆ เช่น การพูดคุยหาข้อมูล, การต่อสู้กับสัตว์ประหลาด, การเก็บวัตถุและอาวุธ, เก็บสะสมค่าประสบการณ์และเลื่อนระดับ (เลเวล) จุดเด่นที่ทำให้เกมเล่นตามบทบาทได้รับความนิยม เพราะเกมเล่นตามบทบาทจะมีอิสระในกฎกติกา ทำให้การเล่นในแต่ละครั้งจะเปลี่ยนไปขึ้นอยู่กับที่ผู้นำเกมเลือก เกมเล่นตามบทบาทแบบกระดานที่ได้รับความนิยมในต่างประเทศมีมาก แต่ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือ ดันเจี้ยนส์แอนด์ดราก้อน และ วอร์แฮมเมอร์ เมื่อถึงยุคที่เครื่องเกมคอมพิวเตอร์และวิดีโอเกมเริ่มเข้ามามีบทบาทมากขึ้น เกมเล่นตามบทบาทหลายๆเกมก็พัฒนากลายมาเป็นวิดีโอเกมแนวเล่นตามบทบาท โดยยังคงลักษณะเดิมของตัวเกมไว้ เช่น การให้ผู้เล่นสร้างตัวละครขึ้นเอง การต่อสู้ที่อ้างอิงหลักการทอยลูกเต๋า และอิสรภาพในเกม แต่เมื่อความนิยมเกมเล่นตามบทบาทได้เข้าในประเทศญี่ปุ่นได้เกิดเกมเล่นตามบทบาทแบบญี่ปุ่นขึ้น หรือที่เรียกว่า คอนโซล-โรลเพลย์อิงเกม (Console-Roleplaying Game) ซึ่งจะตัดทอนเสรีภาพในการเล่นลง แต่จะเสริมเนื้อหาที่เรื่องราวและตัวละครให้มากขึ้น ส่วนเกมของฝั่งอเมริกาจะเรียกว่า คอมพิวเตอร์-โรลเพลย์อิงเกม (Computer-Roleplaying Game) และฝ่ายเกมกระดานก็ถูกเรียกว่า เทเบิ้ลทอป-โรลเพลย์อิงเกม (Tabletop-Roleplaying Game) ในปัจจุบันคำจัดการความของคำว่า เกมเล่นตามบทบาท หรือ RPG นั้น ในฝั่งประเทศแถบเอเชียจะหมายถึง เกมที่มีการเก็บค่าประสบการณ์, การต่อสู้กับสัตว์ประหลาด, ฉากต่อสู้แบบตัดฉากจากฉากสนาม และเนื้อเรื่องที่สวยงามและสนุกสนาน แต่ในเกมฝั่งอเมริกาจะหมายถึง เกมที่มีเสริภาพในการเล่น, การสรรค์สร้างตัวละครได้ตามต้องการ ในประเทศไทย นักเล่นเกมคอมพิวเตอร์บางส่วนเรียกเกมเล่นตามบทบาทบนเครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอนโซลว่า เกมภาษา เนื่องจาก ผู้เล่นรู้สึกว่าเกมเล่นตามบทบาทมีใช้การเลือกคำสั่ง ผ่านบทสนทนาของตัวละคร (ในช่วงแรกเป็นภาษาญี่ปุ่น) สำหรับการดำเนินเกม ในปัจจุบันถึงแม้ว่าเกมเล่นตามบทบาทบนเครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอนโซลยังเป็นที่นิยม แต่ก็ยังมีการจำหน่ายเกมเล่นตามบทบาทแบบกระดานอยู่ เกมเล่นตามบทบาทแบบเกมกระดานที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันได้แก่ ดันเจี้ยนส์แอนด์ดราก้อน และ วอร์แฮมเมอร์ เกมเล่นตามบทบาทของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันได้แก่ เดียอาโบล และ ดิเอลเดอร์สครอลส์ เกมเล่นตามบทบาทของเครื่องคอมโซลที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันได้แก่ ไฟนอลแฟนตาซี และ ดราก้อนเควสต.

เกมเล่นตามบทบาทและไฟนอลแฟนตาซี · เกมเล่นตามบทบาทและไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

เอนิกซ์

ลโก้ เอนิกซ์ เอนิกซ์ (ญี่ปุ่น: エニックス, อังกฤษ: Enix) บริษัทผลิตและพัฒนาวิดีโอเกมและหนังสือการ์ตูนจากประเทศญี่ปุ่น เอนิกซ์ก่อตั้งใน เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2525 โดยในปัจจุบันได้รวมกับบริษัทสแควร์ ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2546 ภายใต้ชื่อ สแควร์เอนิกซ์ เอนิกซ์เป็นที่รู้จักกันมากในฐานะบริษัทผลิตเกมชุดดราก้อนเควสต.

เอนิกซ์และไฟนอลแฟนตาซี · เอนิกซ์และไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

27 เมษายน

วันที่ 27 เมษายน เป็นวันที่ 117 ของปี (วันที่ 118 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 248 วันในปีนั้น.

27 เมษายนและไฟนอลแฟนตาซี · 27 เมษายนและไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี III

ไฟนอลแฟนตาซี มี 116 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไฟนอลแฟนตาซี III มี 38 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 19, ดัชนี Jaccard คือ 12.34% = 19 / (116 + 38)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี III หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »