โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โรคคิดว่าตนเองมีรูปร่างหรืออวัยวะผิดปกติและโรคอารมณ์สองขั้ว

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง โรคคิดว่าตนเองมีรูปร่างหรืออวัยวะผิดปกติและโรคอารมณ์สองขั้ว

โรคคิดว่าตนเองมีรูปร่างหรืออวัยวะผิดปกติ vs. โรคอารมณ์สองขั้ว

รคคิดว่าตนเองมีรูปร่างหรืออวัยวะผิดปกติ หรือ ดิสมอร์เฟีย (Body dysmorphic disorder ย่อว่า BDD) เดิมรู้จักกันในชื่อโรคกลัวพิการ (Dysmorphophobia) เป็นโรคจิตชนิดหนึ่งที่เกิดจากความไม่พอใจในรูปร่างของตนเอง จากการตรวจสอบพบกว่าโรคนี้มักจะพบในกลุ่มบุคคลที่สนใจในรูปร่างของตนเองมาก กลุ่มคนที่เข้างานสังคมบ่อย ๆ หรือกลุ่มคนที่เป็นที่สนใจจากคนอื่น ๆ และสังคม บุคคลที่อยู่ในกลุ่มความเสี่ยงนี้ได้แก่ ดารา นางแบบ ศิลปินดนตรี วัยรุ่น นักเรียนมัธยม และนักศึกษามหาวิทยาลัย หรือใคร ๆ ก็ตามที่ต้องทำงานหน้ากล้อง. รคอารมณ์สองขั้ว (bipolar disorder) เดิมเรียก ความเจ็บป่วยฟุ้งพล่าน-ซึมเศร้า (manic-depressive illness) เป็นโรคจิตซึ่งมีลักษณะ คือ มีช่วงที่ครึ้มใจและช่วงที่ซึมเศร้า อารมณ์ครึ้มใจมีความสำคัญและเรียก อาการฟุ้งพล่าน (mania) หรือภาวะไฮโปเมเนีย (hypomania) ขึ้นอยู่กับความรุนแรงหรือมีโรคจิตหรือไม่ ระหว่างภาวะฟุ้งพล่าน ปัจเจกบุคคลรู้สึกหรือแสดงออกว่ามีความสุข มีกำลังหรือหงุดหงิดผิดปกติ มักตัดสินใจไม่ดีโดยไม่คำนึงถึงผลลัพธ์ ความต้องการนอนหลับมักลดลง ระหว่างช่วงซึมเศร้า อาจมีการร้องไห้ เลี่ยงการสบตากับผู้อื่นและมองชีวิตในแง่ลบ ความเสี่ยงการฆ่าตัวตายในผู้ป่วยโรคนี้สูงที่กว่า 6% ในเวลา 20 ปี ขณะที่การทำร้ายตัวเองเกิด 30–40% โรคนี้ปกติสัมพันธ์กับปัญหาสุขภาพจิตอื่น เช่น โรควิตกกังวลและโรคการใช้สารเสพต.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง โรคคิดว่าตนเองมีรูปร่างหรืออวัยวะผิดปกติและโรคอารมณ์สองขั้ว

โรคคิดว่าตนเองมีรูปร่างหรืออวัยวะผิดปกติและโรคอารมณ์สองขั้ว มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง โรคคิดว่าตนเองมีรูปร่างหรืออวัยวะผิดปกติและโรคอารมณ์สองขั้ว

โรคคิดว่าตนเองมีรูปร่างหรืออวัยวะผิดปกติ มี 15 ความสัมพันธ์ขณะที่ โรคอารมณ์สองขั้ว มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (15 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง โรคคิดว่าตนเองมีรูปร่างหรืออวัยวะผิดปกติและโรคอารมณ์สองขั้ว หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »