เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

โคเอนไซม์คิว10และโรคพาร์คินสัน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง โคเอนไซม์คิว10และโรคพาร์คินสัน

โคเอนไซม์คิว10 vs. โรคพาร์คินสัน

อนไซม์คิว10 (Coenzyme Q10) หรือยูบิควิโนน (ubiquinone) ยูบิเดคาริโนน (ubidecarenone) โคเอ็นไซม์คิว บางครั้งย่อเป็นโคคิวเท็น (CoQ10) โคคิว หรือคิวเท็น คือ 1-4 เบนโซควิโนน โดยคิวหมายถึงหมู่เคมีควิโนน และ 10 หมายถึง จำนวนหน่วยย่อยเคมีไอโซพรีนิลในหาง โคเอนไซม์คิว10 เป็นสารคล้ายวิตามิน ละลายในไขมัน พบในไมโทคอนเดรียเป็นหลักของเซลล์ยูคาริโอตส่วนใหญ่ มันเป็นองค์ประกอบของลูกโซ่ของการขนส่งอิเล็กตรอน และมีส่วนในการหายใจระดับเซลล์แบบใช้ออกซิเจน ซึ่งสร้างพลังงานในรูปเอทีพี พลังงาน 95% ของร่างกายมนุษย์ผลิตด้วยวิธีนี้ ฉะนั้น อวัยวะที่ต้องการพลังงานสูงสุด เช่น หัวใจ ตับและไต จึงมีความเข้มข้นของโคเอนไซม์คิว10 สูงสุด โคคิวเท็นมีสามสถานะรีด็อกซ์ คือ ออกซิไดซ์สมบูรณ์ (ยูบิควิโนน) กึ่งควิโนน (ยูบิเซมิควิโนน) และรีดิวซ์สมบูรณ์ (ยูบิควินอล) ขีดความสามารถของโมเลกุลนี้ในการมีอยู่ในรูปออกซิไดซ์สมบูรณ์และรีดิวซ์สมบูรณ์ทำให้มันทำหน้าที่ในลูกโซ่ของการขนส่งอิเล็กตรอน และเป็นสารต้านอนุมูลอิสระตามลำดั. รคพาร์คินสันเป็นความผิดปรกติการเสื่อมของระบบประสาทส่วนกลาง อาการของโรคพากินสันเกิดจากเซลล์ที่ผลิตโดปามีนในซับสแตนเชียไนกรา อันเป็นบริเวณหนึ่งในสมองส่วนกลาง ตาย ซึ่งยังไม่ทราบสาเหตุของการตายของเซลล์นี้ ในช่วงที่เป็นโรคใหม่ ๆ อาการเด่นชัดที่สุดเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว ซึ่งรวมการสั่น สภาพแข็งเกร็ง เคลื่อนไหวช้าและเดินและท่าเดินลำบาก ต่อมา อาจเกิดปัญหาการคิดและพฤติกรรมได้ โดยภาวะสมองเสื่อมเกิดได้ทั่วไปในระยะท้ายของโรค ขณะที่ภาวะซึมเศร้าเป็นอาการจิตเวชที่พบบ่อยที่สุด อาการอื่นมีปัญหารับความรู้สึก การหลับและอารมณ์ โรคพาร์คินสันพบมากในผู้สูงอายุ ผู้ป่วยส่วนมากเกิดอาการหลังอายุ 50 ปี อาการสั่งการหลักเรียกรวมว่า พาร์คินสันนิซึม (parkinsonism) หรือ กลุ่มอาการพาร์คินสัน (parkinsonian syndrome) โรคพาร์คินสันมักนิยามเป็นกลุ่มอาการพาร์คินสันที่เกิดเอง (ไม่มีสาเหตุที่ทราบ) แม้ผู้ป่วยนอกแบบบางคนมีสาเหตุจากพันธุกรรม มีการสืบสวนปัจจัยเสี่ยงและป้องกันหลายอย่าง หลักฐานชัดเจนที่สุด คือ ผู้ที่สัมผัสยาฆ่าแมลงบางชนิดจะมีความเสี่ยงต่อโรคพาร์คินสันมากขึ้น แต่ผู้สูบบุหรี่มีความเสี่ยงลดลง พยาธิสภาพของโรคเป็นลักษณะของการสะสมโปรตีนชื่อ แอลฟา-ไซนิวคลีอิน (alpha-synuclein) ในอินคลูชันบอดี (inclusion body) เรียก เลวีบอดี (Lewy body) ในเซลล์ประสาท และจากการสร้างและกัมมันตภาพของโดปามีนที่ผลิตในเซลล์ประสาทบางชนิดในหลายส่วนของสมองส่วนกลางไม่เพียงพอ เลวีบอดีเป็นเครื่องหมายพยาธิวิทยาของโรคนี้ และการกระจายของเลวีบอดีตลอดสมองของผู้ป่วยแตกต่างกันไปตามบุคคล การกระจายทางกายวิภาคศาสตร์ของเลวีบอดีมักสัมพันธ์โดยตรงกับการแสดงออกและระดับอาการทางคลินิกของแต่ละบุคคล การวินิจฉัยผู้ป่วยตรงแบบอาศัยอาการเป็นหลัก โดยใช้การทดสอบอย่างการสร้างภาพประสาท (neuroimaging) เพื่อยืนยัน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง โคเอนไซม์คิว10และโรคพาร์คินสัน

โคเอนไซม์คิว10และโรคพาร์คินสัน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง โคเอนไซม์คิว10และโรคพาร์คินสัน

โคเอนไซม์คิว10 มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ โรคพาร์คินสัน มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (6 + 8)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง โคเอนไซม์คิว10และโรคพาร์คินสัน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: