โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แชมป์กีฬา 7 สีและแบนตั้มเวท

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง แชมป์กีฬา 7 สีและแบนตั้มเวท

แชมป์กีฬา 7 สี vs. แบนตั้มเวท

นีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 มีนโยบายสำคัญประการหนึ่ง ในอันที่จะมีส่วนร่วมพัฒนาวงการกีฬาในประเทศไทยให้ก้าวหน้าไปสู่ระดับสากล พร้อมทั้งให้การสนับสนุนแก่เยาวชนไทย ให้ความสนใจกับการเล่นกีฬา เพื่อส่งเสริมให้รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ด้วย โดยเริ่มจากปี พ.ศ. 2527 ทางสถานีฯ ริเริ่มจัดการแข่งขันกีฬาสำหรับเยาวชนขึ้น ตามโครงการ แชมป์กีฬา 7 สี จนกระทั่งเกิดนักกีฬารุ่นใหม่ ที่ประสบความสำเร็จในระดับประเทศจำนวนมาก เช่น ศิริมงคล สิงห์วังชา อดีตแชมป์สภามวยโลก ในรุ่นแบนตั้มเวทและซูเปอร์เฟเธอร์เวท, เรวดี ศรีท้าว (วัฒนสิน) นักกรีฑา เจ้าของเหรียญทองซีเกมส์หลายสมัย, มนัสนันท์ แพงขะ - รัตนาภรณ์ อาลัยสุข นักกีฬาวอลเลย์บอลชายหาด เจ้าของเหรียญทองเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13, ศรสวรรค์ ภู่วิจิตร - มธุรดา คุโณปการ - ดุลยฤทธิ์ พวงทอง นักกีฬาว่ายน้ำ เจ้าของเหรียญทองซีเกมส์หลายสมัย และยังร่วมจัดการแข่งขันฟุตบอลนักเรียน 7 คน เป็นรายการแรกของประเทศไทย และยังร่วมสนับสนุนส่งเสริมเยาวชนไทย ให้ก้าวสู่การแข่งขันกีฬาระดับอาชีพ ผ่านการแข่งขันเทนนิส "แชมป์กีฬา 7 สี กรุงศรีฯ สานฝัน ตามรอยภราดร" และ การแข่งขันกอล์ฟ "แชมป์กีฬา 7 สี กรุงศรีฯ สานฝัน ตามรอยวิรดา". แบนตั้มเวท (Bantamweight) ชื่อเรียกรุ่นมวยรุ่นเล็กที่เคยเป็นรุ่นเล็กเป็นอันดับ 2 ของโลกมาก่อน โดยนักมวยที่จะชกในรุ่นนี้ต้องมีน้ำหนักตัวมากกว่า 115 ปอนด์ (52.163 กิโลกรัม) และไม่เกิน 118 ปอนด์ (53.524 กิโลกรัม) โดยทุกสถาบันจะเรียกชื่อนี้เหมือนกันหมด แชมป์โลกที่ทำสถิติป้องกันตำแหน่งไว้ได้มากที่สุดของรุ่นนี้คือ ออร์ลันโด้ คาร์นิซาเลส นักมวยชาวอเมริกัน โดยทำสถิติป้องกันตำแหน่งไว้ได้ทั้งหมด 15 ครั้ง สำหรับนักมวยไทยแล้ว รุ่นแบนตั้มเวทนี้ได้ชื่อว่าเป็นรุ่นอาถรรพ์ เพราะเคยมีนักมวยไทยหลายรายที่ขึ้นชิงตำแหน่งแชมป์รุ่นนี้แล้วไม่ประสบความสำเร็จ ถึงได้เป็นแชมป์ไปก็ป้องกันตำแหน่งไว้ได้ไม่นาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับแชมป์ของสมาคมมวยโลก (WBA) เช่น จำเริญ ทรงกิตรัตน์ ที่เคยชิงแชมป์โลกในรุ่นนี้ถึง 3 ครั้ง แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ นักมวยไทยที่เคยเป็นแชมป์โลกในรุ่นนี้มีทั้งหมด 7 ราย ได้แก่ เขาค้อ แกแล็คซี่, ดาวรุ่ง ช.ศิริวัฒน์, ศิริมงคล สิงห์มนัสศักดิ์, วีระพล นครหลวงโปรโมชั่น, รัตนชัย ส.วรพิน, พูนสวัสดิ์ กระทิงแดงยิม (เป็นเพียงแชมป์เฉพาะกาล) และ ผึ้งหลวง ส.สิงห์อยู่ และในส่วนของมวยสากลสมัครเล่น มีนักมวยไทย 3 คนที่ได้รับเหรียญรางวัลโอลิมปิก คือ ผจญ มูลสัน เหรียญทองแดงจากโอลิมปิก 1988 ที่โซล ประเทศเกาหลีใต้, วิชัย ราชานนท์ เหรียญทองแดงจากโอลิมปิก 1996 ที่นครแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา และ วรพจน์ เพชรขุ้ม เหรียญเงินจากโอลิมปิก 2004 ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ สำหรับนักมวยต่างชาติที่มีชื่อเสียงที่ชกในพิกัดนี้ นอกจาก ออร์ลันโด้ คาร์นิซาเลส แล้ว ได้แก่ จิมมี่ คาร์รัทเธอร์, โรแบร์ โคฮัง, ไฟติ้ง ฮาราด้า, อีดอร์ โจเฟร่, หลุยส์ ซีโต้ เอสปิโนซา, อิสราเอล คอนเทรรัส, โจอิชิโร่ ทัตสุโยชิ, มุน ซังกิล, นานา คอนาดู, พอล อยาล่า, โฮซูมิ ฮาเซกาว่า, เฟอร์นันโด มอนเทียล, โกกิ คาเมดะ เป็นต้น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง แชมป์กีฬา 7 สีและแบนตั้มเวท

แชมป์กีฬา 7 สีและแบนตั้มเวท มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ศิริมงคล สิงห์มนัสศักดิ์

ศิริมงคล สิงห์มนัสศักดิ์

ริมงคล สิงห์มนัสศักดิ์ หรือ ศิริมงคล สิงห์วังชา อดีตแชมป์โลกคนที่ 23 ของประเทศไทย โดยเป็นแชมป์โลกถึง 2 รุ่น เป็นคนที่ 2 ของประเท.

ศิริมงคล สิงห์มนัสศักดิ์และแชมป์กีฬา 7 สี · ศิริมงคล สิงห์มนัสศักดิ์และแบนตั้มเวท · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง แชมป์กีฬา 7 สีและแบนตั้มเวท

แชมป์กีฬา 7 สี มี 72 ความสัมพันธ์ขณะที่ แบนตั้มเวท มี 28 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.00% = 1 / (72 + 28)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง แชมป์กีฬา 7 สีและแบนตั้มเวท หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »