โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แคลเซียมและโรคหนังแข็ง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง แคลเซียมและโรคหนังแข็ง

แคลเซียม vs. โรคหนังแข็ง

แคลเซียม (Calcium) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุซึ่งมีสัญลักษณ์เป็น Ca มีเลขอะตอมเป็น 20 แคลเซียมเป็นธาตุโลหะหนักประเภทอะคาไลที่มีสีเทาอ่อน มันถูกใช้เป็นสารรีดิวซิ่งเอเยนต์ในการสกัดธาตุ ทอเรียมเซอร์โคเนียม และยูเรเนียม แคลเซียมอยู่ในกลุ่ม 50 ธาตุที่มีมากที่สุดบนเปลือกโลก มันมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะในระบบสรีระวิทยาของเซลล์และการยืดหดตัวของกล้ามเนื้อ แคลเซียมมีพื้นดินเป็นแหล่งรองรับจะถูกพืชดูดไปใช้เป็นประโยชน์และสัตว์กินพืชก็ได้รับสารประกอบแคลเซียมเข้าไปด้วย เมื่อสีตว์และพืชตาย แคลเซียมก็จะกลับลงสู่ดินอีก. โรคหนังแข็งเป็นโรคภูมิต้านตนเองเรื้อรังซึ่งเกิดจากการแข็งของผิวหนัง หากเป็นรุนแรงอาจมีผลต่ออวัยวะภายในด้วย ยังไม่ทราบสาเหตุของโรคนี้ กลไกพื้นเดิมเกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายโจมตีเนื้อเยื่อสุขภาพดี มีความสัมพันธ์อย่างเข้มกับการกลายบางจุดในยีน HLA มีปัจจัยสิ่งแวดล้อมมาเกี่ยวข้องด้วย โรคนี้มีสองประเภทหลัก คือ รูปเฉพาะที่ (เรียก โรคหนังแข็งเฉพาะที่ โรคหนังแข็งจำกัด หรือมอร์เฟีย) กับรูปทั่วกาย (เรียก โรคหนังแข็งทั่วกาย โรคหนังแข็งกระจายหรือโรคหนังแข็งทั่วไป) โรคหนังแข็งจำกัดเกี่ยวข้องกับผิวหนังของมือ แขนและหน้าเป็นหลัก โรคหนังแข็งกระจายมีการลามอย่างรวดเร็วและเกิดในผิวหนังบริเวณกว้างและอวัยวะภายในตั้งแต่หนึ่งอวัยวะขึ้นไป มักเป็นไต หลอดอาหาร หัวใจและปอด โรคหนังแข็งรูปนี้ทำให้เกิดทุพพลภาพมาก ชนิดย่อยผิวหนังจำกัดเรียก กลุ่มอาการเครสต์ (CREST syndrome) หมวดหมู่:โรคภูมิต้านตนเอง หมวดหมู่:โรคเนื้อเยื่อเกี่ยวพันทั่วกาย.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง แคลเซียมและโรคหนังแข็ง

แคลเซียมและโรคหนังแข็ง มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง แคลเซียมและโรคหนังแข็ง

แคลเซียม มี 26 ความสัมพันธ์ขณะที่ โรคหนังแข็ง มี 7 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (26 + 7)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง แคลเซียมและโรคหนังแข็ง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »