โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แกะกล่องหนังไทยและแหม่มจ๋า

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง แกะกล่องหนังไทยและแหม่มจ๋า

แกะกล่องหนังไทย vs. แหม่มจ๋า

แกะกล่องหนังไทย (Golden Film; ในอดีตถ้าหากอยู่ในช่วงฉายภาพยนตร์ต่างประเทศจะใช้ชื่อรายการว่า แกะกล่องหนังเทศ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกการฉายหนังต่างประเทศไปแล้ว) เป็นรายการภาพยนตร์ที่ออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 22.05 - 23.45 น.ทาง สถานีโทรทัศน์ทีวีไทย เป็นรายการโทรทัศน์ที่มีจุดมุ่งหมายในการนำเอาภาพยนตร์ไทยที่มีคุณค่าทั้งเก่าและใหม่ นำมาเสนอฉายทางโทรทัศน์ โดยไม่หวังผลในการแสวงหากำไร เพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้รับรู้ถึงคุณค่าของภาพยนตร์ไทยทั้งเก่าและใหม่ อันเป็นรากเหง้าที่สะท้อนให้เห็นถึง ภูมิปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการอันวิจิตรของคนรุ่นก่อน เพื่อสืบทอดมายังคนรุ่นปัจจุบัน และอนุรักษ์คุณค่าของภาพยนตร์ไทยสู่คนรุ่นหลังสืบต่อไป แกะกล่องหนังไทย เริ่มออกอากาศครั้งแรก ในวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ในช่วงแรกของรายการแกะกล่องหนังไทยนั้น จะฉายภาพยนตร์ไทยสลับกับภาพยนตร์ต่างประเทศ โดยในส่วนของภาพยนตร์ต่างประเทศนั้น จะใช้ชื่อรายการว่า "แกะกล่องหนังเทศ" แต่เนื่องจากว่ามีความซ้ำซ้อนกับรายการ บิ๊กซินีม่าของช่อง 7 ที่ฉายหนังต่างประเทศอยู่เช่นเดียวกัน ตั้งแต่วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2551 จึงได้มีการฉายหนังไทยมาอย่างต่อเนื่องโดยไม่กลับไปฉายหนังต่างประเทศอีก รายการแกะกล่องหนังไทยได้ยุติการออกอากาศไปใน.. แหม่มจ๋า เป็นบทประพันธ์ของ ดอกหญ้า ถูกสร้างครั้งแรกในรูปแบบภาพยนตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2518 สร้างโดย บริษัทกัญญามาลย์ภาพยนตร์ กำกับโดย ดอกดิน กัญญามาลย์ นำแสดงโดย สมบัติ เมทะนี, มยุรา ธนะบุตร, ชุมพร เทพพิทักษ์, ประจวบ ฤกษ์ยามดี, ดลยา โสภี, มารศรี ณ บางช้าง, ธัญญา ธัญญรักษ์, ดอกดิน กัญญามาลย์, อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา และต่อมาถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ไทย ในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง แกะกล่องหนังไทยและแหม่มจ๋า

แกะกล่องหนังไทยและแหม่มจ๋า มี 16 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชุมพร เทพพิทักษ์บดินทร์ ดุ๊กมยุรา เศวตศิลามารศรี ณ บางช้างยุทธพิชัย ชาญเลขาวิยะดา อุมารินทร์วิทิต แลตสมบัติ เมทะนีอรสา อิศรางกูร ณ อยุธยาอำภา ภูษิตดอกดิน กัญญามาลย์ดิลก ทองวัฒนาประจวบ ฤกษ์ยามดีประเทศไทยแหม่มจ๋า7 กุมภาพันธ์

ชุมพร เทพพิทักษ์

มพร เทพพิทักษ์ (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2482 − 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) ชื่อเล่น เดียร์ นักแสดงชาวไทยและอดีตผู้กำกับภาพยนตร์ มีชื่อจริงว่า คมสันต์ เทพพิทักษ์ เกิดที่จังหวัดชุมพรเมื่อปี พ.ศ. 2482 จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดขันเงินและโรงเรียนศรียาภัย เดินทางเข้าสู่กรุงเทพมหานคร เพื่อศึกษาต่อที่โรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย โดยพักอาศัยอยู่ในบ้านหลังเดียวกับ พล.ต.ท.วรรณรัตน์ คชรัตน์ (อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล และ ส.ส.บัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์ พ.ศ. 2544) ซึ่งเป็นลูกพี่ลูกน้อง แต่ขณะที่เรียนเมื่ออายุได้ 17 ปี ต้องโทษจำคุกในคดีฆาตกรรมด้วยอาวุธปืน และรับสารภาพ จึงถูกลดโทษเหลือ 25 ปี จากนั้นได้รับการลดหย่อนโทษเรื่อยมา จนได้รับอิสรภาพในที่สุด ในระหว่างต้องโทษ อยู่ห้องขังเดียวกับ แคล้ว ธนิกุล เข้าสู่วงการบันเทิงครั้งแรกด้วยการเป็นนักแสดงบทร้ายแทน ประจวบ ฤกษ์ยามดี นักแสดงบทตัวร้ายที่ไม่สบาย ด้วยความที่หน้าตาตล้ายกัน จากการชักชวนของ ปริญญา ทัศนียกุล และ ลือชัย นฤนาท ในเรื่อง คมแสนคม ในปี พ.ศ. 2507 ตามด้วยบทตัวร้ายมาโดยตลอด ในปี พ.ศ. 2511 มีผลงานละครโทรทัศน์ทางช่อง 4 บางขุนพรหม, ช่อง 5 และช่อง 7 ในยุคแพร่ภาพระบบขาวดำ ด้วยการพลิกบทบาทมารับบทเป็นพระเอกบ้าง ซึ่งก็ได้รับการวิจารณ์ในตอนต้นว่า คนดูจะรับได้หรือไม่กับการที่ผู้ร้ายในแบบภาพยนตร์ใหญ่ มารับบทพระเอกในแบบละครโทรทัศน์ ซึ่งก็ได้รับบทพระเอกแนวลูกทุ่งหรือแอ็คชั่น และถือว่าประสบความสำเร็จพอสมควร ต่อมาเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ มีผลงานมากมาย อาทิ ถุยชีวิต (พ.ศ. 2521), นักสู้ภูธร ในปีเดียวกัน, ขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก (พ.ศ. 2522) และที่ประสบความสำเร็จที่สุดคือ แหกค่ายนรกเดียนเบียนฟู ในปี พ.ศ. 2520 ซึ่งได้รับรางวัลตุ๊กตาทองสาขาผู้กำกับยอดเยี่ยม และได้รับรางวัลอื่น ๆ รวมทั้งหมด 5 รางวัล และยังคงมีผลงานออกมาเป็นระยะๆ เช่น บางระจัน (พ.ศ. 2543),โหมโรง(พ.ศ. 2547), ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ (พ.ศ. 2550), รักสยามเท่าฟ้า (พ.ศ. 2551), 2022 สึนามิ วันโลกสังหาร (พ.ศ. 2552) ผลงานละครโทรทัศน์ได้แก่ สุสานคนเป็น (พ.ศ. 2545) ธิดาวานร 2 (พ.ศ. 2552) และ เงาพราย (พ.ศ. 2554) ผลงานละครเรื่องสุดท้ายคือเรื่อง ขุนกระทิง และผลงานภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายคือเรื่อง ขุนพันธ์ (พ.ศ. 2559) ชีวิตส่วนตัว สมรสกับ มยุรี เทพพิทักษ์ (นามสกุลเดิม-ศรีสินธุ์อุไร) มีบุตรด้วยกันทั้งหมด 4 คน ซึ่งหนึ่งในจำนวนนั้นเป็นนักร้องและนักแสดงที่มีชื่อเสียง คือ ศรราม เทพพิทักษ์ ชุมพรมีอาการป่วยด้วยโรคเส้นเลือดในสมองตีบตั้งแต่ปลายปี..

ชุมพร เทพพิทักษ์และแกะกล่องหนังไทย · ชุมพร เทพพิทักษ์และแหม่มจ๋า · ดูเพิ่มเติม »

บดินทร์ ดุ๊ก

นทร์ ดุ๊ก เกิดเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2509 เป็นนักแสดงและนักร้องชาวไท.

บดินทร์ ดุ๊กและแกะกล่องหนังไทย · บดินทร์ ดุ๊กและแหม่มจ๋า · ดูเพิ่มเติม »

มยุรา เศวตศิลา

กุลนภา เศวตศิลา หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ มยุรา เศวตศิลา (ชื่อเกิด: รัตนา ชาตะธนะบุตร; 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2501) ก่อนหน้านี้เคยใช้ชื่อว่า มยุรา ธนะบุตร เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไท.

มยุรา เศวตศิลาและแกะกล่องหนังไทย · มยุรา เศวตศิลาและแหม่มจ๋า · ดูเพิ่มเติม »

มารศรี ณ บางช้าง

มารศรี ณ บางช้าง เป็นนักแสดงหญิงอาวุโส ชาวไทย ที่มีผลงานทั้งจอเงินและจอแก้วอย่างสม่ำเสมอตลอดมาร่วมครึ่งศตวรรษ.

มารศรี ณ บางช้างและแกะกล่องหนังไทย · มารศรี ณ บางช้างและแหม่มจ๋า · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธพิชัย ชาญเลขา

ทธพิชัย ชาญเลขา เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..

ยุทธพิชัย ชาญเลขาและแกะกล่องหนังไทย · ยุทธพิชัย ชาญเลขาและแหม่มจ๋า · ดูเพิ่มเติม »

วิยะดา อุมารินทร์

วิยะดา อุมารินทร์ หรือ (หม่อมอูม) หม่อมวิยะดา ยุคล ณ อยุธยา ชื่อจริง วิยะดา ตรียะกุล เกิดวันที่ 19 มกราคม 2498 จบการศึกษาจาก โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ อาชีพนักแสดง และเป็นนักแสดงที่มีผู้คนชื่นชอบมากในประเทศไทย ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน หม่อมวิยะดาเริ่มเข้าสู่วงการการแสดงในปี 2516 ได้เล่นหนังใหญ่เรื่องแรกคือ "เทพธิดาโรงแรม" ของ ท่านมุ้ย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ออกฉายในปี 2517 ซึ่งได้ความสำเร็จอย่างท่วมท้น ต่อจากนั้นในช่วงปี 2521 - 2531 หันมารับบทนางรอง นางร้ายในภาพยนตร์ หม่อมวิยะดาขึ้นชื่อว่าเป็นนักแสดงอุปนิสัยดี ร่าเริง เป็นที่รู้จักและยอมรับกันดีในวงการ และในช่วงปี 2522 หม่อมวิยะดาก็หันมารับเล่นละคร เรื่องแรกคือ "ร่มฉัตร" แต่มาประสพผลสำเร็จจริงๆ ในปี 2523 กับละครเรื่อง "อีพริ้ง คนเริงเมือง" ทางช่อง 3 ซึ่งได้รับความสำเร็จถึงขนาดต้องทำเป็นเวอร์ชันภาพยนตร์ ทำให้หม่อมวิยะดาได้กลับมาผงาดในบทนางเอกจอเงินอีกครั้ง ช่วงราวปี 2530 หม่อมวิยะดาหันเหชีวิตย้ายไปอาศัยและทำธุรกิจในสหรัฐอเมริกา ประมาณ 10 ปี ถึงจุดอิ่มตัวจึงกลับมา และได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดีจากแฟนหนังและละคร ช่วงนี้ จึงได้เห็นหม่อมวิยะดากลับมาเล่นละครอีกครั้ง ในปี 2540 จนถึงปัจจุบัน นับว่าเป็นนักแสดงอารมณ์ดีที่มีเสียงหัวเราะที่เป็นเอกลักษณ์ มาจนปัจจุบัน ในด้านชีวิตคู่ หม่อมวิยะดาใช้ชีวิตโสดมาหลายปีแล้ว หลังจากตัดสินใจแยกทางเดินกับท่านมุ้ย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ซึ่งหม่อมวิยะดาเคยมีฐานะเป็น หม่อมวิยะดา ยุคล ณ อยุธยา มาก่อน โดยแยกทางกันมากว่ายี่สิบปีแล้ว ซึ่งช่วงแรกเธอได้แสดงหนังให้ท่านมุ้ยหลายเรื่อง โดยท่านมุ้ยเป็นคนปั้นหม่อมวิยะดามาจนโด่งดังตั้งแต่เรื่องแรกในชีวิตการแสดงของหม่อมวิยะดา ทำให้เกิดความใกล้ชิด จึงตัดสินใจใช้ชีวิตร่วมกัน ก่อนที่จะเลิกราต่อกันในที.

วิยะดา อุมารินทร์และแกะกล่องหนังไทย · วิยะดา อุมารินทร์และแหม่มจ๋า · ดูเพิ่มเติม »

วิทิต แลต

วิทิต แลต (เอ) นักแสดงและอดีตนายแบบหนุ่ม เกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม..

วิทิต แลตและแกะกล่องหนังไทย · วิทิต แลตและแหม่มจ๋า · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ เมทะนี

มบัติ เมทะนี (เกิด: 26 มิถุนายน พ.ศ. 2480; ชื่อเล่น แอ๊ด) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์และครโทรทัศน์) ประจำปี 2559 นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย ผู้ชนะเลิศรางวัลตุ๊กตาทองและรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง นอกจากนี้กินเนสบุ๊คยังบันทึกไว้ว่าเป็นนักแสดงที่รับบทเป็นพระเอกมากที่สุดในโลก โดยแสดงเป็นพระเอกถึง 617 เรื่อง.

สมบัติ เมทะนีและแกะกล่องหนังไทย · สมบัติ เมทะนีและแหม่มจ๋า · ดูเพิ่มเติม »

อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา

อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา เกิดเมื่อปี 17 สิงหาคม พ.ศ. 2486 ดาราภาพยนตร์ไทย ฉายา "เต่าไทย" ในวงการบันเทิงกว่า 40 ปี อดีตขวัญใจวัยรุ่นชื่อดัง ช่วงต้นทศวรรษ 2500 ถึงกลางทศวรรษ 2510.

อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยาและแกะกล่องหนังไทย · อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยาและแหม่มจ๋า · ดูเพิ่มเติม »

อำภา ภูษิต

อำภา ภูษิต (เกิด 11 เมษายน พ.ศ. 2502) ชื่อเกิด อำภา ภูษิตสวัสดิ์ ชื่อเล่น แอ๊ว เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์เรื่อง ฟ้าหลังฝน (พ.ศ. 2521) และเป็นนางเอกภาพยนตร์ต่อมาอีกหลายเรื่อง ปัจจุบันยังรับงานแสดงละครโทรทัศน.

อำภา ภูษิตและแกะกล่องหนังไทย · อำภา ภูษิตและแหม่มจ๋า · ดูเพิ่มเติม »

ดอกดิน กัญญามาลย์

นกน้อย (2507) เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกที่รายได้เกินหนึ่งล้านบาท ดอกดิน กัญญามาลย์ (25 ตุลาคม พ.ศ. 2467 - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2561) ชื่อเล่น ดินนักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้สร้างภาพยนตร์ ได้รับการเชิดชูเกียรติรางวัลนราธิปประจำปี..

ดอกดิน กัญญามาลย์และแกะกล่องหนังไทย · ดอกดิน กัญญามาลย์และแหม่มจ๋า · ดูเพิ่มเติม »

ดิลก ทองวัฒนา

ลก ทองวัฒนา (เกิด 3 มิถุนายน พ.ศ. 2499) ชื่อเล่น หมู เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย เป็นบุตรของนายสมชัยและนางวัฒนา มีพี่น้อง 4 คน เป็นคนที่ 2 มีภูมิลำเนาอยู่ที่ อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท จบการศึกษาจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงและเป็นศิษย์การแสดงของช่อง 3 รุ่นแรก เข้าสู่วงการโดยการชักนำของคุณวรายุฑ มิลินทจินดา แสดงละครเรื่อง นางทาส รับบทพระเอกเล่นคู่กับ นิภาพร นงนุช มีผลงานละครสร้างชื่อคือละครเรื่อง พฤกษาสวาท และยังเป็นพิธีกรให้รายการ เกมชิงหลัก ของเจเอสแอล เคยได้รับรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ในสาขาดาราสนับสนุนชายดีเด่นจากละคร 3 เรื่องคือ กามนิต-วาสิฏฐี (2529), ไฟล้างไฟ (2546) และ สวรรค์เบี่ยง (2551) ปัจจุบันเขาเป็นนักแสดงอิสระ ด้านชีวิตส่วนตัวนับถือศาสนาคริสต์ มีบุตร 2 คนจากภรรยาคนแรก คนโตเป็นผู้ชาย และคนเล็กเป็นผู้หญิง ปัจจุบันสมรสใหม่กับ เกรซ ชนินทร ทองวัฒน.

ดิลก ทองวัฒนาและแกะกล่องหนังไทย · ดิลก ทองวัฒนาและแหม่มจ๋า · ดูเพิ่มเติม »

ประจวบ ฤกษ์ยามดี

ประจวบ ฤกษ์ยามดี ชื่อเล่น น้อย (15 มิถุนายน พ.ศ. 2476 - 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักแสดงชาวไทย ฉายา ดาวร้ายผู้น่ารัก ที่ผู้ชมคุ้นเคยกับบทบาทผู้ช่วยพระเอก-นางเอก หรือผู้ร้ายที่มักกลับใจมาช่วยฝ่ายพระเอกในตอนท้าย ที่มีผลงานบทสมทบในภาพยนตร์ไทยจำนวนมากกว่าร้อยเรื่อง มักรับบทพระรองคู่พระเอก อย่าง มิตร ชัยบัญชา และสมบัติ เมทะนี และยังเป็นดาวร้ายเจ้าของรางวัล 2 ตุ๊กตาทอง ประจวบ ฤกษ์ยามดีในการแสดง ประจวบ ฤกษ์ยามดี เป็นบุตรคนสุดท้อง เป็นน้องชายของ ยุวนุช ฤกษ์ยามดี ดาราละครเวทีชื่อดังในอดีตและประจวบยังเป็นน้องภรรยาของผู้กำกับภาพยนตร์ ทวี ณ บางช้าง หรือครูมารุต เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงด้วยการทำงานอยู่ในโรงถ่ายหนุมานภาพยนตร์ของ รัตน์ เปสตันยี ต่อมาได้เริ่มต้นในวงการบันเทิงด้วยการแนะนำจากครูมารุต ผู้กำกับมือดีซึ่งเป็นพี่เขยของเขาเอง ได้แสดงในภาพยนตร์เรื่องแรก ชั่วฟ้าดินสลาย (2498) รับบทเป็น ทิพย์ และภาพยนตร์ที่โด่งดังเป็นที่รู้จักของแฟนๆมากที่สุดได้แก่เรื่อง รักริษยา (2501) กำกับโดย มารุต ได้แจ้งเกิดในบทดาวร้ายจากเรื่องนี้และได้ตุ๊กตาทองจากภาพยนตร์เรื่องนี้ในปี..

ประจวบ ฤกษ์ยามดีและแกะกล่องหนังไทย · ประจวบ ฤกษ์ยามดีและแหม่มจ๋า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและแกะกล่องหนังไทย · ประเทศไทยและแหม่มจ๋า · ดูเพิ่มเติม »

แหม่มจ๋า

แหม่มจ๋า เป็นบทประพันธ์ของ ดอกหญ้า ถูกสร้างครั้งแรกในรูปแบบภาพยนตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2518 สร้างโดย บริษัทกัญญามาลย์ภาพยนตร์ กำกับโดย ดอกดิน กัญญามาลย์ นำแสดงโดย สมบัติ เมทะนี, มยุรา ธนะบุตร, ชุมพร เทพพิทักษ์, ประจวบ ฤกษ์ยามดี, ดลยา โสภี, มารศรี ณ บางช้าง, ธัญญา ธัญญรักษ์, ดอกดิน กัญญามาลย์, อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา และต่อมาถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ไทย ในปี..

แกะกล่องหนังไทยและแหม่มจ๋า · แหม่มจ๋าและแหม่มจ๋า · ดูเพิ่มเติม »

7 กุมภาพันธ์

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 38 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 327 วันในปีนั้น (328 วันในปีอธิกสุรทิน).

7 กุมภาพันธ์และแกะกล่องหนังไทย · 7 กุมภาพันธ์และแหม่มจ๋า · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง แกะกล่องหนังไทยและแหม่มจ๋า

แกะกล่องหนังไทย มี 348 ความสัมพันธ์ขณะที่ แหม่มจ๋า มี 49 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 16, ดัชนี Jaccard คือ 4.03% = 16 / (348 + 49)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง แกะกล่องหนังไทยและแหม่มจ๋า หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »