โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เฮลโลเวิลด์

ดัชนี เฮลโลเวิลด์

ปรแกรมเฮลโลเวิลด์ เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานที่ทำการแสดงผลคำว่า "Hello world" หรือ "Hello, world!"(ตามหลักภาษาอังกฤษ) บนอุปกรณ์แสดงผล ซึ่งเป็นหนึ่งในโปรแกรมที่ง่ายที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในการเขียนภาษาโปรแกรมต่างๆ เพราะฉะนั้นโดยธรรมเนียมปฏิบัติแล้ว มักจะใช้ในการตรวจสอบว่าเขียนภาษาโปรแกรมได้ถูกต้องหรือระบบมีการประมวลผลที่ถูกต้อง และมักถูกใช้เป็นตัวอย่างที่ง่ายที่สุดในการแสดงวากยสัมพันธ์การเขียนโปรแกรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งบน command-line interpreter (เชลล์) เพื่อทำการแสดงผลออกมา อย่างไรก็ตามโปรแกรมนี้ก็มีความซับซ้อนอย่างน่าประหลาดใจ โดยเฉพาะเมื่อต้องเขียนโปรแกรมสำหรับส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ เมื่อเขียนโปรแกรมในembedded system ช้อความจะถูกส่งมายังจอภาพผลึกเหลว ซึ่งตัวอุปกรณ์นั้นไม่ได้แสดงผลตัวอักษร แต่ตัวโปรแกรมง่ายๆ นี้ จะทำการสร้างสัญญาณ เช่นเดียวกับการเปิดLED บ้างที่เราอาจกล่าวได้ว่า "Hello world" เปรียบเสมือนการต้อนรับเราเข้าสู่โปรแกรมก็ได้ โปรแกรมเฮลโลเวิลด์โปรแกรมแรกเกิดขึ้น จากหนังสือการเขียนโปรแกรมภาษาซี แต่งโดยไบรอัน เคอร์นิงแฮน และ เดนนิส ริตชี ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2521 (ค.ศ. 1978) โดยตัวอย่างโปรแกรมมาจาก กระดาษจดข้อมูลของไบรอันขณะที่ทำงานที่ เบลล์แล็บ (Bell Laboratories) ปี พ.ศ. 2517 (ค.ศ. 1974) ตัวอย่างในหนังสือ พิมพ์ข้อความว่า "hello, world" (โดย ไม่มีตัวพิมพ์ใหญ่ และเครื่องหมายตกใจ ซึ่งได้เพิ่มมาในภายหลัง) โดยแสดงข้อความ: การเขียนคำนี้ มีการใช้งานโดยเขียนหลายแบบคือ ตัวอักษร H ใหญ่ และ h เล็ก ขณะเดียวกับ W ใหญ่ และ w เล็ก รวมถึงการเขียนเครื่องหมาย และแบบไม่มีเครื่องหมาย การเขียนชุดคำสั่งนี้ในขณะที่บางโปรแกรมสามารถใช้คำสั่งได้อย่างเรียบง่าย ในขณะที่บางโปรแกรมต้องใช้คำสั่งซับซ้อนในการแสดงผล โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ใช้GUI โปรแกรมเฮลโลเวิลด์มีประโยชน์ในการทดสอบว่าคอมไพเลอร์และส่วนต่างๆหลักของโปรแกรมทำงานได้ การรวบรวมคำสั่ง "hello world" ในภาษาโปรแกรมต่างๆ ถูกใช้ในการช่วยเรียน และการเปรียบเทียบการใช้งานของภาษาต่าง.

55 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2517พ.ศ. 2521พีแอล/เอสคิวแอลการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุภาษาฟอร์แทรนภาษาพีเอชพีภาษาสอบถามเชิงโครงสร้างภาษาอาบัปภาษาจาวาภาษาซิมูลาภาษาซีภาษาโปรแกรมภาษาเบรนฟักภาษาเพิร์ลมอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์มายเอสคิวเอลรูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบลินุกซ์วากยสัมพันธ์ (ภาษาโปรแกรม)วิชวลเบสิกวิชวลเบสิกดอตเน็ตสถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้อัฒภาคอีซีเอ็มเอสคริปต์องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐานฮิวเลตต์-แพคการ์ดจอภาพผลึกเหลวจาวาสคริปต์ดอส (ระบบปฏิบัติการ)คริสต์ทศวรรษ 1970คริสต์ทศวรรษ 1980คอมไพเลอร์คาสิโอซูล (ภาษามาร์กอัป)แบชแมตแล็บแอสกีแอปเปิล (บริษัท)แอ็กชันสคริปต์โพสต์เกรสคิวเอลโปรแกรมคอมพิวเตอร์ไมโครคอนโทรลเลอร์ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ไดโอดเปล่งแสงเชลล์เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียมเอชทีเอ็มแอลเอกซ์86เอกซ์เอชทีเอ็มแอล...เอสเอพี เอจีเอเอสพีดอตเน็ตเฮลโลเวิลด์เดนนิส ริตชีVisual Basic for Applications ขยายดัชนี (5 มากกว่า) »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พีแอล/เอสคิวแอล

ีแอล/เอสคิวแอล (PL/SQL) เป็นภาษาโปรแกรมสำหรับเครื่องมือพัฒนาซอฟต์แวร์หลายตัวของ Oracle เป็นภาษาที่ถูกออกแบบมาสำหรับใช้เพื่อเข้าถึงและจัดการข้อมูลในฐานข้อมูล RDBMS โดยเฉ.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และพีแอล/เอสคิวแอล · ดูเพิ่มเติม »

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-oriented programming, OOP) คือหนึ่งในรูปแบบการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ให้ความสำคัญกับ วัตถุ ซึ่งสามารถนำมาประกอบกันและนำมาทำงานรวมกันได้ โดยการแลกเปลี่ยนข่าวสารเพื่อนำมาประมวลผลและส่งข่าวสารที่ได้ไปให้ วัตถุ อื่นๆที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ทำงานต่อไป แนวคิดการเขียนโปรแกรมแบบดังเดิมมักนิยมใช้ ในการสร้างเว็บไซต์ต่าง.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟอร์แทรน

ภาษาฟอร์แทรน (Fortran programming language หรือ FORTRAN) เป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดของวงการคอมพิวเตอร์ ได้รับการพัฒนาขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1950 นิยมนำไปใช้ในการคำนวณทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จนถึงปัจจุบันนี้ ภาษาฟอร์แทรนก็ยังถูกใช้ในทางวิทยาศาสตร์อยู่ หมวดหมู่:ภาาาโปรแกรม หมวดหมู่:ภาษาโปรแกรมเชิงอาร์เรย์ หมวดหมู่:ภาษาโปรแกรมเชิงกระบวนงาน หมวดหมู่:ภาษาโปรแกรมเชิงตัวเลข หมวดหมู่:ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ หมวดหมู่:คอมพิวเตอร์งานขนาน หมวดหมู่:มาตรฐานคอมพิวเตอร์ หมวดหมู่:สิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐอเมริกา.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และภาษาฟอร์แทรน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพีเอชพี

ีเอชพี (PHP) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ในลักษณะเซิร์ฟเวอร์-ไซด์ สคริปต์ โดยลิขสิทธิ์อยู่ในลักษณะโอเพนซอร์ส ภาษาพีเอชพีใช้สำหรับจัดทำเว็บไซต์ และแสดงผลออกมาในรูปแบบ HTML โดยมีรากฐานโครงสร้างคำสั่งมาจากภาษา ภาษาซี ภาษาจาวา และ ภาษาเพิร์ล ซึ่ง ภาษาพีเอชพี นั้นง่ายต่อการเรียนรู้ ซึ่งเป้าหมายหลักของภาษานี้ คือให้นักพัฒนาเว็บไซต์สามารถเขียน เว็บเพจ ที่มีการตอบโต้ได้อย่างรวดเร็ว.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และภาษาพีเอชพี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง

ษาสอบถามเชิงโครงสร้าง (Structured Query Language: SQL, อ่านอย่างย่อว่า เอสคิวแอล, ซีเควล, ซีควล) เป็นภาษาสอบถามที่นิยมมากที่สุดของการจัดการฐานข้อมูล สำหรับสร้าง แก้ไขและเรียกใช้ฐานข้อมูล โดยใช้มาตรฐานของแอนซี (ANSI) และ ไอเอสโอ (ISO) ปัจจุบันการใช้งานใช้ในหลายจุดประสงค์มากกว่าใช้สำหรับจัดการโปรแกรมเชิงวัตถุที่เป็นจุดประสงค์แรกของการสร้างภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาบัป

ษาอาบัป (ABAP: Advanced Business Application Programming) เป็นภาษาโปรแกรมระดับสูงที่พัฒนาโดยบริษัท SAP จากประเทศเยอรมนี โดยเป็นภาษาที่ใช้ในซอฟต์แวร์ประเภทเว็บแอปพลิเคชันเซิร์ฟเวอร์ของบริษัท SAP เอง รูปแบบของภาษา ABAP ใกล้เคียงกับภาษาโคบอล.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และภาษาอาบัป · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจาวา

ลโก้ของภาษาจาวา ภาษาจาวา (Java programming language) เป็นภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming) พัฒนาโดย เจมส์ กอสลิง และวิศวกรคนอื่นๆ ที่ ซัน ไมโครซิสเต็มส์ ภาษาจาวาถูกพัฒนาขึ้นในปี พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) โดยเป็นส่วนหนึ่งของ โครงการกรีน (the Green Project) และสำเร็จออกสู่สาธารณะในปี พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) ซึ่งภาษานี้มีจุดประสงค์เพื่อใช้แทนภาษาซีพลัสพลัส (C++) โดยรูปแบบที่เพิ่มเติมขึ้นคล้ายกับภาษาอ็อบเจกต์ทีฟซี (Objective-C) แต่เดิมภาษานี้เรียกว่า ภาษาโอ๊ก (Oak) ซึ่งตั้งชื่อตามต้นโอ๊กใกล้ที่ทำงานของ เจมส์ กอสลิง แต่ว่ามีปัญหาทางลิขสิทธิ์ จึงเปลี่ยนไปใช้ชื่อ "จาวา" ซึ่งเป็นชื่อกาแฟแทน และแม้ว่าจะมีชื่อคล้ายกัน แต่ภาษาจาวาไม่มีความเกี่ยวข้องใด ๆ กับภาษาจาวาสคริปต์ (JavaScript) ปัจจุบันมาตรฐานของภาษาจาวาดูแลโดย Java Community Process ซึ่งเป็นกระบวนการอย่างเป็นทางการ ที่อนุญาตให้ผู้ที่สนใจเข้าร่วมกำหนดความสามารถในจาวาแพลตฟอร์มได้.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และภาษาจาวา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซิมูลา

ษาซิมูลา (Simula) เป็นชื่อเรียกรวมของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 ภาษาคือ ภาษาซิมูลา 1 (Simula 1) และภาษาซิมูลา 67 (Simula 67) ภาษาโปรแกรมดังกล่าวนี้ได้เริ่มพัฒนาขึ้นประมาณปี..

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และภาษาซิมูลา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซี

ษาซี (C) เป็นภาษาโปรแกรมสำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไป เริ่มพัฒนาขึ้นระหว่าง พ.ศ. 2512-2516 (ค.ศ. 1969-1973) โดยเดนนิส ริชชี่ (Denis Retchie) ที่เอทีแอนด์ทีเบลล์แล็บส์ (AT&T Bell Labs) ภาษาซีเป็นภาษาที่มีความยืดหยุ่นในการเขียนโปรแกรมและมีเครื่องมืออำนวยความสะดวกสำหรับการเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้างและอนุญาตให้มีขอบข่ายตัวแปร (scope) และการเรียกซ้ำ (recursion) ในขณะที่ระบบชนิดตัวแปรอพลวัตก็ช่วยป้องกันการดำเนินการที่ไม่ตั้งใจหลายอย่าง เหมือนกับภาษาโปรแกรมเชิงคำสั่งส่วนใหญ่ในแบบแผนของภาษาอัลกอล การออกแบบของภาษาซีมีคอนสตรักต์ (construct) ที่โยงกับชุดคำสั่งเครื่องทั่วไปได้อย่างพอเพียง จึงทำให้ยังมีการใช้ในโปรแกรมประยุกต์ซึ่งแต่ก่อนลงรหัสเป็นภาษาแอสเซมบลี คือซอฟต์แวร์ระบบอันโดดเด่นอย่างระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ยูนิกซ์ ภาษาซีเป็นภาษาโปรแกรมหนึ่งที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดตลอดกาล และตัวแปลโปรแกรมของภาษาซีมีให้ใช้งานได้สำหรับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการต่าง ๆ เป็นส่วนมาก ภาษาหลายภาษาในยุคหลังได้หยิบยืมภาษาซีไปใช้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ตัวอย่างเช่น ภาษาดี ภาษาโก ภาษารัสต์ ภาษาจาวา จาวาสคริปต์ ภาษาลิมโบ ภาษาแอลพีซี ภาษาซีชาร์ป ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี ภาษาเพิร์ล ภาษาพีเอชพี ภาษาไพทอน ภาษาเวอริล็อก (ภาษาพรรณนาฮาร์ดแวร์) และซีเชลล์ของยูนิกซ์ ภาษาเหล่านี้ได้ดึงโครงสร้างการควบคุมและคุณลักษณะพื้นฐานอื่น ๆ มาจากภาษาซี ส่วนใหญ่มีวากยสัมพันธ์คล้ายคลึงกับภาษาซีเป็นอย่างมากโดยรวม (ยกเว้นภาษาไพทอนที่ต่างออกไปอย่างสิ้นเชิง) และตั้งใจที่จะผสานนิพจน์และข้อความสั่งที่จำแนกได้ของวากยสัมพันธ์ของภาษาซี ด้วยระบบชนิดตัวแปร ตัวแบบข้อมูล และอรรถศาสตร์ที่อาจแตกต่างกันโดยมูลฐาน ภาษาซีพลัสพลัสและภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีเดิมเกิดขึ้นในฐานะตัวแปลโปรแกรมที่สร้างรหัสภาษาซี ปัจจุบันภาษาซีพลัสพลัสแทบจะเป็นเซตใหญ่ของภาษาซี ในขณะที่ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีก็เป็นเซตใหญ่อันเคร่งครัดของภาษาซี ก่อนที่จะมีมาตรฐานภาษาซีอย่างเป็นทางการ ผู้ใช้และผู้พัฒนาต่างก็เชื่อถือในข้อกำหนดอย่างไม่เป็นทางการในหนังสือที่เขียนโดยเดนนิส ริตชี และไบรอัน เคอร์นิกัน (Brian Kernighan) ภาษาซีรุ่นนั้นจึงเรียกกันโดยทั่วไปว่า ภาษาเคแอนด์อาร์ซี (K&R C) ต่อม..

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และภาษาซี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโปรแกรม

ษาโปรแกรม คือภาษาประดิษฐ์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อสื่อสารชุดคำสั่งแก่เครื่องจักร โดยเฉพาะอย่างยิ่งคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมสามารถใช้สร้างโปรแกรมที่ควบคุมพฤติกรรมของเครื่องจักร และ/หรือ แสดงออกด้วยขั้นตอนวิธี (algorithm) อย่างตรงไปตรงมา ผู้เขียนโปรแกรมซึ่งหมายถึงผู้ที่ใช้ภาษาโปรแกรมเรียกว่า โปรแกรมเมอร์ (programmer) ภาษาโปรแกรมในยุคแรกเริ่มนั้นเกิดขึ้นก่อนที่คอมพิวเตอร์จะถูกประดิษฐ์ขึ้น โดยถูกใช้เพื่อควบคุมการทำงานของเครื่องทอผ้าของแจ็กการ์ดและเครื่องเล่นเปียโน ภาษาโปรแกรมต่าง ๆ หลายพันภาษาถูกสร้างขึ้นมา ส่วนมากใช้ในวงการคอมพิวเตอร์ และสำหรับวงการอื่นภาษาโปรแกรมก็เกิดขึ้นใหม่ทุก ๆ ปี ภาษาโปรแกรมส่วนใหญ่อธิบายการคิดคำนวณในรูปแบบเชิงคำสั่ง อาทิลำดับของคำสั่ง ถึงแม้ว่าบางภาษาจะใช้การอธิบายในรูปแบบอื่น ตัวอย่างเช่น ภาษาที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน หรือการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ การพรรณนาถึงภาษาโปรแกรมหนึ่ง ๆ มักจะแบ่งออกเป็นสองส่วนได้แก่ วากยสัมพันธ์ (รูปแบบ) และอรรถศาสตร์ (ความหมาย) บางภาษาถูกนิยามขึ้นด้วยเอกสารข้อกำหนด (ตัวอย่างเช่น ภาษาซีเป็นภาษาหนึ่งที่กำหนดโดยมาตรฐานไอโซ) ในขณะที่ภาษาอื่นอย่างภาษาเพิร์ลรุ่น 5 และก่อนหน้านั้น ใช้การทำให้เกิดผลแบบอ้างอิง (reference implementation) เป็นลักษณะเด่น.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และภาษาโปรแกรม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเบรนฟัก

ษาเบรนฟัก คือภาษาโปรแกรมเชิงความลับที่มีจุดเด่นในเรื่องการทำซอร์สโค้ดและคอมไพเลอร์ให้เล็กที่สุด ออกแบบขึ้นเพื่อท้าทายและสร้างความสับสนให้โปรแกรมเมอร์ แต่ไม่เหมาะสำหรับใช้งานในทางปฏิบัติ ชื่อของภาษาเบรนฟักในภาษาอังกฤษมักจะถูกปิดบังให้เป็น brainf*ck หรือ brainfsck เพื่อหลีกเลี่ยงคำว่า fuck ที่มักถือกันว่าเป็นคำหยาบ และจะไม่มีการเน้นอักษรตัวใหญ่ที่ตัว b เมื่อไม่ใช่ต้นประโยค ถึงแม้จะเป็นชื่อเฉพาะก็ตาม.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และภาษาเบรนฟัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเพิร์ล

right ภาษาเพิร์ล (Perl) (ย่อมาจาก Practical Extraction and Report Language) เป็นภาษาโปรแกรมแบบไดนามิก พัฒนาโดยนายแลร์รี วอลล์ (Larry Wall) ในปี ค.ศ. 1987 เพื่อใช้งานกับระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ภาษาเพิร์ล นั้นถูกออกแบบมาให้ใช้งานได้ง่าย โครงสร้างของภาษาจึงไม่ซับซ้อน มีลักษณะคล้ายกับภาษาซี นอกจากนี้เพิร์ลยังได้แนวคิดบางอย่างมาจากเชลล์สคริปต์, ภาษา AWK, sed และ Lisp ปัจจุบันเวอร์ชันล่าสุดคือ 5.18.0.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และภาษาเพิร์ล · ดูเพิ่มเติม »

มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์

มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ (Mozilla Firefox) รู้จักในชื่อ ไฟร์ฟอกซ์ เป็นเว็บเบราว์เซอร์ที่สามารถใช้ได้ในหลายระบบปฏิบัติการ พัฒนาโดยมูลนิธิมอซิลลาและอาสาสมัครอีกหลายร้อยคน ปัจจุบันอยู่ใต้การดำเนินงานของบริษัท มอซิลลา ปัจจุบันไฟร์ฟอกซ์เป็นเว็บเบราว์เซอร์ที่นิยมอันดับ 3 รองจากอินเทอร์เน็ต เอกซ์พลอเรอร์และกูเกิล โครม และเมื่อแบ่งตามรุ่นของแต่ละเบราว์เซอร์ ไฟร์ฟอกซ์ รุ่น 3.5 เป็นเบราว์เซอร์ที่มีคนใช้มากที่สุดในโลก ไฟร์ฟอกซ์มีส่วนแบ่งในตลาดเว็บเบราว์เซอร์ทั่วโลกร้อยละ 24.61 และมีส่วนแบ่งในตลาดเว็บเบราว์เซอร์ในประเทศไทยร้อยละ 15.28 (ข้อมูลเมื่อธันวาคม พ.ศ. 2552) 21 ตุลาคม 2554 ไฟร์ฟอกซ์ใช้เกกโกตัวเรนเดอริงเอนจินโอเพนซอร์ซซึ่งจัดการตามมาตรฐานเว็บสอดคล้องกับทางดับเบิลยูธรีซีกำหนดไว้ และเพิ่มคำสั่งพิเศษเข้าไป คำสั่งไฟร์ฟอกซ์เป็นซอฟต์แวร์ที่เปิดให้โปรแกรมเมอร์ที่เรียกว่า "แอด-ออนส์" ทำงานร่วมกับตัวโปรแกรม โดยปัจจุบันมีมากกว่า 2,000 ตัว โดยตัวที่นิยมมากที่สุดตามลำดับคือ ฟอกซีทูนส์ (ควบคุมโปรแกรมเล่นเพลง) สตัมเบิลอัปออน (ค้นหาเว็บไซต์) แอดบล็อกพลัส (บล็อกโฆษณา) ดาวน์เดมออล! (ดาวน์โหลด) และเว็บเดเวลอปเปอร์ (เครื่องมือสำหรับทำเว็บ) ไฟร์ฟอกซ์ทำงานได้ในหลายระบบปฏิบัติการรวมถึง วินโดวส์ แมคโอเอสเท็น ลินุกซ์ รุ่นปัจจุบันคือรุ่น 12.0 ออกเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2555 ตัวโค้ดโปรแกรมเขียนขึ้นในภาษา C++ XUL XBL และ จาวาสคริปต์ โดยโค้ดทั้งหมดเปิดให้ใช้ฟรีภายใต้ลิขสิทธิ์ MPL GPL / LGPL และ Mozilla EULA โดยที่ในรุ่นนี้ได้ทำารแก้Bugในรุ่น9.0ที่ทำให้เบราว์เซอร์Crashบนระบบปฏิบัติการหลักทั้งสามตัว ในกรณีที่ติดตั้งTools Barบางตัวลงไป ไฟร์ฟอกซ์ในปัจจุบันรับรองการใช้ 75 ภาษ.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และมอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

มายเอสคิวเอล

MySQL (มายเอสคิวแอล) เป็นระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Management System) โดยใช้ภาษา SQL แม้ว่า MySQL เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส แต่แตกต่างจากซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สทั่วไป โดยมีการพัฒนาภายใต้บริษัท MySQL AB ในประเทศสวีเดน โดยจัดการ MySQL ทั้งในแบบที่ให้ใช้ฟรี และแบบที่ใช้ในเชิงธุรกิจ เมื่อปี..

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และมายเอสคิวเอล · ดูเพิ่มเติม »

รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ

รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ (portable document format (ย่อ: pdf)) คือ รูปแบบแฟ้มลักษณะหนึ่ง ที่พัฒนาโดยบริษัทอะโดบีซิสเต็มส์ สำหรับแสดงเอกสารที่สามารถใช้งานได้ในทุกระบบปฏิบัติการ และยังคงลักษณะเอกสารเหมือนต้นฉบับ เอกสารในรูปแบบนี้สามารถจัดเก็บ ตัวอักษร รูปภาพ รูปลายเส้น ในลักษณะเป็นหน้าหนังสือ ตั้งแต่ หนึ่งหน้า หรือหลายพันหน้าได้ในแฟ้มเดียวกัน รูปแบบเป็นมาตรฐานที่เปิดให้คนอื่นสามารถเขียนโปรแกรมมาทำงานร่วมกันได้ รูปแบบนี้ เหมาะสมสำหรับงานที่ต้องการให้แสดงผลลักษณะเดียวกับต้นฉบับ ซึ่งแตกต่างกับการใช้งานรูปแบบอื่น เช่น HTML เพราะการแสดงผลของ HTML จะขึ้นอยู่กับโปรแกรมเบราว์เซอร์และคอมพิวเตอร์ที่ใช้ และเพราะฉะนั้น จะแสดงผลต่างกัน ถ้าใช้ต่างกัน.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และรูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ · ดูเพิ่มเติม »

ลินุกซ์

ลินุกซ์ (Linux) และรู้จักในชื่อ กะนู/ลินุกซ์ (GNU/Linux) โดยทั่วไปเป็นคำที่ใช้ในความหมายที่หมายถึงระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ โดยใช้ลินุกซ์ เคอร์เนล เป็นศูนย์กลางทำงานร่วมกับไลบรารีและเครื่องมืออื่น ลินุกซ์เป็นตัวอย่างหนึ่งในฐานะซอฟต์แวร์เสรี และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สที่ประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียง ทุกคนสามารถดูหรือนำโค้ดของลินุกซ์ไปใช้งาน, แก้ไข, และแจกจ่ายได้อย่างเสรี ลินุกซ์นิยมจำหน่ายหรือแจกฟรีในลักษณะเป็นแพคเกจ โดยผู้จัดทำจะรวมซอฟต์แวร์สำหรับใช้งานในด้านอื่นเป็นชุดเข้าด้วยกัน เริ่มแรกของของลินุกซ์พัฒนาและใช้งานในเฉพาะกลุ่มผู้ที่สนใจ ซึ่งในปัจจุบันลินุกซ์ได้รับความนิยมเนื่องมาจากระบบการทำงานที่เป็นอิสระ ปลอดภัย เชื่อถือได้ และราคาต่ำ จึงได้มีการพัฒนาจากองค์กรต่าง ๆ เช่น ไอบีเอ็ม ฮิวเลตต์-แพคการ์ด และโนเวลล์ ใช้สำหรับในระบบเซิร์ฟเวอร์และพีซี เริ่มแรกลินุกซ์พัฒนาสำหรับใช้กับเครื่อง อินเทล 386 ไมโครโพรเซสเซอร์ หลังจากที่ได้รับความนิยมปัจจุบัน ลินุกซ์ได้พัฒนารับรองการใช้งานของระบบสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ในระบบต่าง ๆ รวมถึงในโทรศัพท์มือถือ และกล้องวิดีโอ ลินุกซ์มีสัญญาอนุญาตแบบ GPL ซึ่งเป็นสัญญาอนุญาตที่กำหนดให้ผู้ที่นำโค้ดไปใช้ต้องใช้สัญญาอนุญาตแบบเดิมต่อคือใช้สัญญาอนุญาต GPL เช่นเดียวกัน ซึ่งลักษณะสัญญาอนุญาตแบบนี้เรียกว่า copyleft.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และลินุกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

วากยสัมพันธ์ (ภาษาโปรแกรม)

ในวิทยาการคอมพิวเตอร์ วากยสัมพันธ์ของภาษาโปรแกรม คือกลุ่มของกฎเกณฑ์ที่นิยามการจัดหมู่ของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ถือว่าเป็นการสร้างโปรแกรมด้วยภาษานั้นได้อย่างถูกต้อง วากยสัมพันธ์ของภาษาใดภาษาหนึ่งเป็นตัวกำหนดรูปแบบพื้นหน้า (surface form) ของมัน ภาษาโปรแกรมเชิงข้อความ (text-based programming language) อิงอยู่กับลำดับของอักขระต่าง ๆ ในขณะที่ภาษาโปรแกรมเชิงทัศน์ (visual programming language) อิงอยู่กับการจัดวางตามพื้นที่และความเชื่อมโยงกับสัญลักษณ์ (ซึ่งอาจจะเป็นข้อความหรือกราฟิกก็ได้).

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และวากยสัมพันธ์ (ภาษาโปรแกรม) · ดูเพิ่มเติม »

วิชวลเบสิก

รูป Logo ของ Visual Basic 6.0 ซึ่งออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2541 วิชวลเบสิก (Visual Basic) หรือ VB เป็นภาษาโปรแกรมแบบ GUI สร้างโดยบริษัทไมโครซอฟท์ ภาษานี้เป็นหนึ่งในภาษาโปรแกรมยอดนิยมสำหรับโปรแกรมที่ใช้ในด้านธุรกิจ ภาษานี้พัฒนามาจากภาษาเบสิก และยังได้พัฒนาต่อเป็นภาษาVB.NET อีกด้วย วิชวลเบสิกสนับสนุน Rapid Application Development (RAD) ทั้งด้านการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์แบบ graphical user interface (GUI), การเข้าถึงฐานข้อมูลโดยใช้การเชื่อมต่อแบบ DAO, RDO, หรือ ADO, และการสร้าง ActiveX control จุดเด่นอีกอย่างหนึ่งของวิชวลเบสิกคือนักเขียนโปรแกรมสามารถนำโปรแกรมประยุกต์หลาย ๆ โปรแกรมมารวมกันในโปรแกรมเดียว และยังสามารถประยุกต์ใช้คอมโพเนนต์ของวิชวลเบสิกที่มีเตรียมไว้ให้แล้วได้อีกด้ว.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และวิชวลเบสิก · ดูเพิ่มเติม »

วิชวลเบสิกดอตเน็ต

ลโก้ของภาษาจาวา วิชวลเบสิกดอตเน็ต (Visual Basic.NET) หรือ VB.NET เป็นภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุทำงานบนดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก ซึ่งสามารถถือเป็นวิวัฒนาการจากภาษาวิชวลเบสิก แต่เนื่องจากว่ามีการเปลี่ยนแปลงมากถึงขั้นที่ไม่เข้ากันได้กับรุ่นเก่าจึงทำให้เกิดการโต้เถียงเป็นอย่างมากในกลุ่มผู้พัฒนากันเอง.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และวิชวลเบสิกดอตเน็ต · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา

สถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา หรือ แอนซี (American National Standard Institute - ANSI) คือองค์กรในสหรัฐอเมริกา มีหน้าที่กำหนดมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) โดยใช้ชื่อว่า American Engineering Standards Committee และได้มีการปรับปรุงในปี พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1928) โดยเปลี่ยนชื่อเป็น American Standards Association ในปี พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) ได้มีการจัดตั้งองค์กรนานาชาติขึ้นมา โดยมีประเทศ 25 ประเทศเข้าร่วม และสุดท้ายในปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น American National Standard Institute หรือ ANSI ในปัจจุบัน หมวดหมู่:องค์การมาตรฐาน.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และสถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้

วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface, GUI อ่านว่า จียูไอ หรือ กูอี้) เป็นวิธีการใช้งานคอมพิวเตอร์ผ่านทางสัญลักษณ์หรือภาพนอกเหนือจากทางตัวอักษร จียูไอมีส่วนประกอบต่างๆ เช่น ไอคอน หน้าต่างการใช้งาน เมนู ปุ่มเลือก และการใช้เมาส์ หรือแม้แต่ในระบบทัชสกรีน จียูไอพัฒนาพัฒนาขึ้นโดยนักวิจัยที่สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ดนำโดย ดัก เอนเกลบาร์ต (Doug Engelbart) โดยการใช้งานร่วมกับไฮเปอร์ลิงก์และเมาส์ ซึ่งภายหลังได้นำมาวิจัยต่อที่ศูนย์วิจัยซีร็อกซ์พาร์ค (Xerox PARC) โดยใช้งานระบบกราฟิกแทนที่ระบบตัวอักษร โดยบางคนจะเรียกระบบนี้ว่า PARC User Interface หรือ PUI ปลายคริสต์ทศวรรษที่ 1970 แอปเปิลคอมพิวเตอร์ได้นำมาใช้ครั้งกับเครื่องแมคอินทอช ซึ่งภายหลังsteve job ได้เป็นosk121ทางไมโครซอฟท์ได้เลียนแบบความคิดมาใช้กับระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ในปัจจุบันจียูไอเป็นที่นิยมโดยสามารถเห็นได้จากระบบปฏิบัติการ แมคอินทอช และ วินโดวส์ และล่าสุดในลินุกซ.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ · ดูเพิ่มเติม »

อัฒภาค

วามหมายอื่น ที่เป็นชื่อวงดนตรีเซมิโคล่อน ดูที่ เซมิโคล่อน อัฒภาค หรือ จุดครึ่ง เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง หรือชื่อในภาษาอังกฤษว่า เซมิโคลอน หรือ เซไมโคลอน (semicolon).

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และอัฒภาค · ดูเพิ่มเติม »

อีซีเอ็มเอสคริปต์

อีซีเอ็มเอสคริปต์ (ECMAScript) เป็นภาษาสคริปต์ ซึ่งกำหนดมาตรฐานโดย Ecma International ด้วยข้อกำหนดทางเทคนิค ECMA-262 ภาษา ECMAScript นิยมใช้แพร่หลายในการทำเว็บ และมักสับสนกับ JavaScript หรือ JScript ซึ่งภาษาทั้งสองสำเนียงล้วนเป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐาน ECMAScript.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และอีซีเอ็มเอสคริปต์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน

องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (The International Organization for Standardization: ISO) เป็นองค์การระหว่างประเทศที่กำหนดมาตรฐาน.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน · ดูเพิ่มเติม »

ฮิวเลตต์-แพคการ์ด

ริษัท ฮิวเลตต์-แพคการ์ด (Hewlett-Packard Company) หรือตัวย่อ เอชพี (HP) เป็นหนึ่งในบริษัทด้านเทคโนโลยีสารสนเทศขนาดใหญ่ของโลก มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองพาโลอัลโต รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ทำธุรกิจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ การจัดการภาพดิจิทัล.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และฮิวเลตต์-แพคการ์ด · ดูเพิ่มเติม »

จอภาพผลึกเหลว

อภาพผลึกเหลวแบบ Reflective twisted nematic ฟิล์มตัวกรองแนวตั้ง จะปรับโพลาไรซ์แสง เมื่อแสงผ่านเข้ามา ซับสเตรตแก้ว ที่มีขั้วอินเดียมทินออกไซด์ (Indium tin oxide: ITO) รูปของขั้วไฟฟ้าจะบอกรูปทรงมืดที่จะปรากฏ เมื่อเปิดหรือปิดจอผลึกเหลวนี้ ส่วนขอบแนวตั้งที่ตัดบนพื้นผิวจะเรียบ ผลึกเหลวแบบ Twisted nematic ซับสเตรตแก้วที่มีฟิล์มอิเล็กโตรดร่วมที่ใช้ ITO ซึ่งมีขอบแนวนอน จะเรียงตัวตามตัวกรองแนวนอน ฟิล์มตัวกรองแนวนอน จะกั้น/ยอมให้แสงผ่าน พื้นผิวสะท้อนแสง จะส่งแสงกลับไปยังผู้ชม พิกเซลย่อยของจอผลึกเหลวสี จอภาพผลึกเหลว (liquid crystal display: LCD) เป็นอุปกรณ์จอภาพแบบแบน บาง สร้างขึ้นจากพิกเซลสี หรือพิกเซลโมโนโครมจำนวนมาก ที่เรียงอยู่ด้านหน้าของแหล่งกำเนิดแสง หรือตัวสะท้อนแสง นับเป็นจอภาพที่ได้รับความนิยมมากขึ้นในปัจจุบัน เพราะใช้กำลังไฟฟ้าน้อยมาก ด้วยเหตุนี้ จึงเหมาะสำหรับการใช้งานที่มีแหล่งจ่ายไฟเป็นแบตเตอรี่ แต่ละพิกเซลของจอผลึกเหลวนั้นประกอบด้วยชั้นโมโลกุลผลึกเหลวที่แขวนลอยอยู่ระหว่างขั้วไฟฟ้าโปร่งแสงสองขั้ว ที่ทำด้วยวัสดุอินเดียมทินออกไซด์ (Indium tin oxide) และตัวกรอง หรือฟิลเตอร์แบบโพลาไรซ์สองตัว แกนโพลาไรซ์ของฟิลเตอร์นั้นจะตั้งฉากกัน เมื่อไม่มีผลึกเหลวอยู่ระหว่างกลาง แสงที่ผ่านทะลุตัวกรองตัวหนึ่งก็จะถูกกั้นด้วยตัวกรองอีกตัวหนึ่ง ก่อนที่มีการจ่ายประจุไฟฟ้าเข้าไป โมเลกุลผลึกเหลวจะอยู่ในสภาวะไม่เป็นระบบ (chaotic state) ประจุบนโมเลกุลเหล่านี้ทำให้โมเลกุลทั้งหลายปรับเรียงตัวตามร่องขนาดเล็กจิ๋วบนขั้วอิเล็กโตรด ร่องบนขั้วทั้งสองวางตั้งฉากกัน ทำให้โมเลกุลเหล่านี้เรียงตัวในลักษณะโครงสร้างแบบเกลียว หรือไขว้ (ผลึก) แสงที่ผ่านทะลุตัวกรองตัวหนึ่ง จะถูกหมุนปรับทิศทางเมื่อมันผ่านทะลุผลึกเหลว ทำให้มันผ่านทะลุตัวกรองโพลาไรซ์ตัวที่สองได้ แสงครึ่งหนึ่งถูกดูดกลืนโดยตัวกรองโพลาไรซ์ตัวแรก แต่อีกครึ่งหนึ่งผ่านทะลุตัวกรองอีกตัว เมื่อประจุไฟฟ้าถูกจ่ายไฟยังขั้วไฟฟ้า โมเลกุลของผลึกเหลวก็ถูกถึงขนานกับสนามไฟฟ้า ทำให้ลดการหมุนของแสงที่ผ่านเข้าไป หากผลึกเหลวถูกหมุนปรับทิศทางโดยสมบูรณ์ แสงที่ผ่านทะลุก็จะถูกปรับโพลาไรซ์ให้ตั้งฉากกับตัวกรองตัวที่สอง ทำให้เกิดการปิดกั้นแสงโดยสมบูรณ์ พิกเซลนั้นก็จะมืด จากการควบคุมการหมุนของผลึกเหลวในแต่ละพิกเซล ทำให้แสงผ่านทะลุได้ในปริมาณต่างๆ กัน ทำให้พิกเซลมีความสว่างแตกต่างกันไป โดยปกติการปรับฟิลเตอร์โพลาไรซ์เพื่อพิกเซลโปร่งแสง เมื่อพักตัว และทึบแสงเมื่ออยู่ในสนามไฟฟ้า อย่างไรก็ตาม บางครั้งก็เกิดผลตรงกันข้าม สำหรับเอฟเฟกต์แบบพิเศษ.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และจอภาพผลึกเหลว · ดูเพิ่มเติม »

จาวาสคริปต์

วาสคริปต์ (JavaScript) เป็นภาษาสคริปต์ ทีมีลักษณะการเขียนแบบโปรโตไทพ (Prototyped-based Programming) ส่วนมากใช้ในหน้าเว็บเพื่อประมวลผลข้อมูลที่ฝั่งของผู้ใช้งาน แต่ก็ยังมีใช้เพื่อเพิ่มเติมความสามารถในการเขียนสคริปต์โดยฝังอยู่ในโปรแกรมอื่น ๆ ซัน ไมโครซิสเต็มส์เป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้า "JavaScript" โดยมันถูกนำไปใช้ภายใต้สัญญาอนุญาตเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีโดย เน็ตสเคป และมูลนิธิมอซิลล.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และจาวาสคริปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ดอส (ระบบปฏิบัติการ)

หน้าตาของดอส ดอส (DOS; ย่อมาจาก Disk Operating System) เป็นชื่อเรียกระบบปฏิบัติการหลายตัวที่พัฒนาโดยไอบีเอ็มและไมโครซอฟท์ ในช่วงปี..

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และดอส (ระบบปฏิบัติการ) · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1970

..

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และคริสต์ทศวรรษ 1970 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1980

ริสต์ทศวรรษ 1980 (1980s) หรือยุคเอจตี้ส์ เป็นทศวรรษที่เริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1980 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 1989 เป็นช่วงเวลาที่เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงด้านสังคม เศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทั่วไปอย่างความร่ำรวย การผลิตที่เปลี่ยนไปสู่ยุคเศรษฐกิจแบบอุตสาหกรรม เศรษฐกิจเสรีที่พัฒนาไปทั่วโลก บริษัทข้ามชาติทางด้านอุตสาหกรรมที่เข้าสู่ประเทศอย่าง ประเทศไทย มาเลเซีย เม็กซิโก เกาหลีใต้ ไต้หวัน ประเทศจีน และเศรษฐกิจตลาดใหม่ในยุโรปตะวันออก ตามมาด้วยการล่มสลายของคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออก ประเทศญี่ปุ่นและเยอรมนีถือเป็นประเทศที่เห็นเด่นชัดว่าพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วตลอดทศวรรษนี้ ประเทศกำลังพัฒนาทั่วโลกมีประสบความยากลำบากด้านความเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจและสังคม ที่ประเทศเหล่านั้นพบกับปัญหาหนี้สินในคริสต์ทศวรรษ 1980 ประเทศเหล่านี้ต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศและธนาคารโลก ประเทศเอธิโอเปียประสบปัญหาความยากจนในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1980 ผลคือประเทศต้องการความช่วยเหลือจากต่างชาติในด้านอาหารกับประชากรและทั่วโลกต่างกันช่วยหาเงินช่วยเหลือต่อชาวเอธิโอเปีย อย่างเช่นคอนเสิร์ตไลฟ์เอด ในปี 1985 ที่จัดขึ้นเพื่อหาเงินดังกล่าว ปัญหาด้านสงคราม เกิดความรุนแรงในตะวันออกกลาง อย่างสงครามอิรัก-อิหร่าน และความขัดแย้งในเลบานอนช่วงปี 1982 ถึง 1983 และกองทัพอเมริกันเข้าบุกลิเบียในปี 1985 และ Intifada ในฉนวนกาซาและเวสต์แบงก์ คริสต์ทศวรรษ 1980 ยังเป็นยุคที่มีอัตราการเติบโตของจำนวนประชากรอย่างมาก ไปทั่วโลก มากกว่าแม้ในคริสต์ทศวรรษ 1970 และคริสต์ทศวรรษ 1990 มีอัตราการเติบโตของจำนวนประชากรมากขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะชาวแอฟริกา ตะวันออกกลาง และเอเชียใต้ ตลอดทศวรรษ ด้วยอัตราการเพิ่มใกล้หรือมากกว่า 4% ต่อปี.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และคริสต์ทศวรรษ 1980 · ดูเพิ่มเติม »

คอมไพเลอร์

คอมไพเลอร์ (compiler) หรือ โปรแกรมแปลโปรแกรม, ตัวแปลโปรแกรม เป็น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าแปลงชุดคำสั่งภาษาคอมพิวเตอร์หนึ่ง ไปเป็นชุดคำสั่งที่มีความหมายเดียวกัน ในภาษาคอมพิวเตอร์อื่น คอมไพเลอร์ส่วนใหญ่ จะทำการแปล รหัสต้นฉบับ (source code) ที่เขียนในภาษาระดับสูง เป็น ภาษาระดับต่ำ หรือภาษาเครื่อง ซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถที่จะทำงานได้โดยตรง อย่างไรก็ตาม การแปลจากภาษาระดับต่ำเป็นภาษาระดับสูง ก็เป็นไปได้ โดยใช้ตัวแปลโปรแกรมย้อนกลับ (decompiler) รูปแสดงขั้นตอนการทำงานของตัวแปลโปรแกรม ผลลัพธ์ของการแปลโปรแกรม (คอมไพล์) โดยทั่วไป ที่เรียกว่า ออบเจกต์โค้ด จะประกอบด้วยภาษาเครื่อง (Machine code) ที่เต็มไปด้วยข้อมูลเกี่ยวกับชื่อและสถานที่ของแต่ละจุด และการเรียกใช้วัตถุภายนอก (Link object) (สำหรับฟังก์ชันที่ไม่ได้อยู่ใน อ็อบเจกต์) สำหรับเครื่องมือที่เราใช้รวม อ็อบเจกต์เข้าด้วยกัน จะเรียกว่าโปรแกรมเชื่อมโยงเพื่อที่ผลลัพธ์ที่ออกมาในขั้นสุดท้าย เป็นไฟล์ที่ผู้ใช้งานทั่วไปสามารถใช้งานได้สะดวก คอมไพเลอร์ที่สมบูรณ์ตัวแรก คือ ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) ของ ไอบีเอ็ม ในปี ค.ศ. 1957 และ ภาษาโคบอล (COBOL) ก็เป็นคอมไพเลอร์ตัวแรก ๆ ที่สามารถทำงานได้บนหลาย ๆ สถาปัตยกรรมทางคอมพิวเตอร์ การพัฒนาตัวแปลภาษารุดหน้าอย่างรวดเร็ว และเริ่มมีรูปแบบที่ชัดเจนยิ่งขึ้นต่อมา ในช่วงทศวรรษ 1960.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และคอมไพเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คาสิโอ

ริษัท คาสิโอ คอมพิวเตอร์ จำกัด เป็นบริษัทที่ผลิตเครื่องมือและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของญี่ปุ่น สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงโตเกียว ก่อตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 คาสิโอมีชื่อเสียงในด้านการผลิตเครื่องคิดเลข เครื่องเสียง พีดีเอ กล้องถ่ายรูป เครื่องดนตรี และนาฬิกาข้อมือ เมื่อปี ค.ศ. 1957 คาสิโอเป็นรายแรกของโลกที่ผลิตและจำหน่ายเครื่องคิดเลขไฟฟ้าขนาดกะทัดรั.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และคาสิโอ · ดูเพิ่มเติม »

ซูล (ภาษามาร์กอัป)

ซูล (XUL: XML User Interface Language ภาษาส่วนต่อประสานกับผู้ใช้เอกซ์เอ็มแอล) เป็นภาษามาร์กอัปสำหรับสร้างส่วนติดต่อผู้ใช้ พัฒนาขึ้นเพื่อใช้พัฒนาโดยมอซิลลา สำหรับการใช้งานใน Mozilla Firefox หรือ Mozilla Thunderbird โดยเป็นรูปแบบหนึ่งของการนำเอกซ์เอ็มแอลมาใช้งาน ถึงแม้ว่าซูลจะไม่ได้เป็นมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการ แต่ก็ใช้เทคโนโลยีที่เป็นมาตรฐานจำนวนมาก เช่น CSS, JavaScript, DTD และ RDF.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และซูล (ภาษามาร์กอัป) · ดูเพิ่มเติม »

แบช

แบช (bash: Bourne-again shell) เป็นเชลล์ยูนิกซ์ที่พัฒนาขึ้นสำหรับโครงการกนู ชื่อเต็มของโปรแกรมล้อเลียนเชลล์อีกตัวคือ บอร์นเชลล์ (Bourne shell) แบชเขียนมาใช้แทนบอร์นเชลล์ซึ่งเขียนขึ้นสำหรับยูนิกซ์เวอร์ชัน 7 โดย สตีเฟน บอร์น (Stephen Bourne) เมื่อประมาณ..

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และแบช · ดูเพิ่มเติม »

แมตแล็บ

ัญลักษณ์ของแมตแล็บ แมตแล็บ (MATLAB: Matrix Laboratory) เป็นซอฟต์แวร์ในการคำนวณและการเขียนโปรแกรม โปรแกรมหนึ่ง ที่มีความสามารถครอบคลุมตั้งแต่ การพัฒนาอัลกอริธึม การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ และการทำซิมูเลชั่นของระบบ การสร้างระบบควบคุม และโดยเฉพาะเรื่อง image processing และ wavelet การสร้างเมตริกซ์ ผลิตโดยบริษัทแมตเวิรกส์ ตัวแทนจำหน่ายในประเทศไทยคือ บริษัท เทคซอร์ส ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จำกัด แมตแล็บเป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในแวดวงของนักวิทยาศาสตร์และ วิศวกรในปัจจุบัน ชื่อโปรแกรม MATLAB นั้นย่อมาจาก Matrix Laboratory แมตแล็บได้เริ่มต้น ขึ้นเพื่อต้องการให้เราสามารถแก้ปัญหาตัวแปรที่มีลักษณะเป็นเมทริดซ์ได้ง่ายขึ้น แมตแล็บ เริ่มพัฒนาครั้งแรกโดย Dr.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และแมตแล็บ · ดูเพิ่มเติม »

แอสกี

ตัวอย่างอักขระแอสกี จากรหัส 32 ถึง 126 แอสกี้(ASCII) หรือ รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ (ASCII: American Standard Code for Information Interchange) เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65 (เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (A) พิมพ์ใหญ่ เป็นต้น.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และแอสกี · ดูเพิ่มเติม »

แอปเปิล (บริษัท)

ริษัทแอปเปิล (Apple Inc.) หรือในชื่อเดิม บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ (Apple Computer Inc.) เป็นบริษัทในซิลิคอนแวลลีย์ ทำธุรกิจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ แอปเปิลปฏิวัติคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะในยุค 70 ด้วยเครื่องแอปเปิล I และแอปเปิล II และแมคอินทอช ในยุค 80 ปัจจุบันแอปเปิลมีชื่อเสียงด้านฮาร์ดแวร์ เช่น ไอแมค ไอพอด ไอโฟน ไอแพด และร้านขายเพลงออนไลน์ไอทูน.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และแอปเปิล (บริษัท) · ดูเพิ่มเติม »

แอ็กชันสคริปต์

แอ็กชันสคริปต์ (ActionScript) เป็นภาษาสคริปต์ที่มีพื้นฐานมาจากเอ็กมาสคริปต์ (ECMAScript) ซึ่งเป็นตระกูลเดียวกันกับจาวาสคริปต์ ใช้สำหรับการพัฒนาเว็บไซต์หรือซอฟต์แวร์ที่ทำงานด้วยแฟลช เพื่อใช้คำนวณและควบคุมการทำงานในตัวแฟลช และให้สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ อแอ็กชันสคริปต์.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และแอ็กชันสคริปต์ · ดูเพิ่มเติม »

โพสต์เกรสคิวเอล

ต์เกรสคิวเอล (PostgreSQL) หรือนิยมเรียกว่า โพสต์เกรส (Postgres) เป็นระบบจัดการฐานข้อมูลในลักษณะของซอฟต์แวร์เสรีภายใต้สัญญาอนุญาตบีเอสดี ชื่อเดิมของซอฟต์แวร์คือ โพสต์เกรส ซึ่งต่อมาได้ถูกเปลี่ยนเป็นโพสต์เกรสคิวเอล โดยประกาศออกมาจากทีมหลักในปี 2550 ชื่อของโพสต์เกรสมาจากชื่อ post-Ingres ซึ่งหมายถึงตัวซอฟต์แวร์ที่พัฒนาต่อจากซอฟต์แวร์ชื่ออินเกรส โพสต์เกรสถูกใช้งานในเว็บไซต์ชื่อดังหลายแห่งเช่น ยาฮู! โซนี่ออนไลน์เกม สไกป์ และไฮไฟฟ.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และโพสต์เกรสคิวเอล · ดูเพิ่มเติม »

โปรแกรมคอมพิวเตอร์

รหัสต้นฉบับ "Hello, World" ในภาษาซี สนิปเพตที่รู้จักกันครั้งแรกในหนังสือ ''เดอะซีโปรแกรมมิงแลงกวิจ'' เขียนโดยไบรอัน เคอร์เนแฮน และเดนนิส ริตชี ในปี ค.ศ. 1974 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (computer program) เป็นชุดคำสั่ง ที่ปฏิบัติงานเฉพาะเมื่อคอมพิวเตอร์สั่งกระทำการ (execute) คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งต้องการใช้โปรแกรมในการสั่งงาน และกระทำตามชุดคำสั่งในหน่วยประมวลผลกลาง โปรแกรมคอมพิวเตอร์มักเขียนโดยนักเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาโปรแกรม คอมไพเลอร์สามารถแปลงรหัสเครื่อง (machine code) ที่ประกอบด้วยชุดคำสั่งที่คอมพิวเตอร์สามารถกระทำการได้โดยตรงได้จากรหัสต้นฉบับ (source code) แบบมนุษย์อ่านได้ หรืออีกทางหนึ่ง โปรแกรมคอมพิวเตอร์สามารถกระทำการได้ด้วยอินเทอร์พรีเตอร์ วนหนึ่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่กระทำงานงานหนึ่งที่นิยามไว้อย่างดี เรียกว่าขั้นตอนวิธี (algorithm) ชุดของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คลัง (library) และข้อมูลที่เกี่ยวข้องเรียกว่าซอฟต์แวร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์อาจจัดประเภทได้จากฟังก์ชันยาวหลายบรรทัด เช่น โปรแกรมประยุกต์ หรือซอฟต์แวร์ร.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครคอนโทรลเลอร์

I/O ในชิปเดียวกัน ไมโครคอนโทรลเลอร์ (microcontroller มักย่อว่า µC, uC หรือ MCU) คือ อุปกรณ์ควบคุมขนาดเล็ก ซึ่งบรรจุความสามารถที่คล้ายคลึงกับระบบคอมพิวเตอร์ โดยในไมโครคอนโทรลเลอร์ได้รวมเอาซีพียู, หน่วยความจำ และพอร์ต ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักสำคัญของระบบคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกัน โดยทำการบรรจุเข้าไว้ในตัวถังเดียวกัน.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และไมโครคอนโทรลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครซอฟท์ วินโดวส์

มโครซอฟท์ วินโดวส์ (Microsoft Windows) เป็นระบบปฏิบัติการ ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ เปิดตัวเมื่อปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985 โดยรุ่นแรกของวินโดวส์ คือ วินโดวส์ 1.0) และครองความนิยมในตลาดคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มากกว่า 90% ของการใช้งานทั่วโลก รายละเอียดโดยสังเขปของวินโดวส์รุ่นต่างๆ เรียงตามลำดับการเปิดตัว เป็นดังนี้.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และไมโครซอฟท์ วินโดวส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไดโอดเปล่งแสง

อดเปล่งแสงสีต่าง ๆ ไดโอดเปล่งแสง (light-emitting diode หรือย่อว่า LED) เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำอย่างหนึ่ง จัดอยู่ในจำพวกไดโอด ที่สามารถเปล่งแสงในช่วงสเปกตรัมแคบ เมื่อถูกไบอัสทางไฟฟ้าในทิศทางไปข้างหน้า ปรากฏการณ์นี้อยู่ในรูปของ electroluminescence สีของแสงที่เปล่งออกมานั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทางเคมีของวัสดุกึ่งตัวนำที่ใช้ และเปล่งแสงได้ใกล้ช่วงอัลตราไวโอเลต ช่วงแสงที่มองเห็น และช่วงอินฟราเรด ผู้พัฒนาไดโอดเปล่งแสงขึ้นเป็นคนแรก คือ นิก โฮโลยัก (Nick Holonyak Jr.) (เกิด ค.ศ. 1928) แห่งบริษัทเจเนรัล อิเล็กทริก (General Electric Company) โดยได้พัฒนาไดโอดเปล่งแสงในช่วงแสงที่มองเห็น และสามารถใช้งานได้ในเชิงปฏิบัติเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1962.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และไดโอดเปล่งแสง · ดูเพิ่มเติม »

เชลล์

ลล์ (shell) ในทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง โปรแกรมที่โต้ตอบผู้ใช้ และมักหมายถึงระหว่างผู้ใช้กับระบบปฏิบัติการ สามารถแบ่งได้เป็น แบบชุดคำสั่ง หรือคอมมานด์ไลน์ (command line interface, CLI) และแบบกราฟิก (graphic user interface, GUI) แบบคำสั่งและแบบกราฟิกต่างก็มีข้อดีข้อเสียแตกต่างกัน แบบกราฟิกจะใช้ง่ายและเหมาะกับงานประเภทตกแต่งภาพและวิดีโอ ส่วนแบบคำสั่งเหมาะกับงานบางอย่าง โดยสามารถระบุต้องเจาะจงโดยละเอียดเช่นย้ายไฟล์โดยใช้ไวลด์การ์ด * เป็นต้น เชลล์ที่ใช้ในไมโครซอฟท์วินโดวส์รุ่นหลัง ๆ จะเป็นวินโดวส์เอกซ์พลอเรอร์ ในขณะที่ในรุ่นเก่า ๆ จะเป็นโปรแกรมเมเนเยอร์ สำหรับยูนิกซ์ เชลล์มักหมายถึงเชลล์ยูนิกซ์ ที่ใช้สั่งทางคอมมานด์ไลน์ ตัวอย่างยูนิกซ์เชลล์ที่นิยม เช่น บอร์นเชลล์ คอร์นเชลล์ และ C เชลล.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และเชลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม

วิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม หรือ ดับเบิลยูทรีซี (World Wide Web Consortium: W3C) คือองค์กรระหว่างประเทศทำหน้าที่จัดระบบมาตรฐานที่ใช้งานบนเวิลด์ไวด์เว็บ (WWW หรือ W3) โดยมีจุดมุ่งหมาย ที่จะเป็นแกนนำทางด้านพัฒนาโพรโทคอล และวิธีการใช้งานสำหรับเวิลด์ไวด์เว็บทั้งหมด นอกจากนี้ทาง W3C มีการบริการทางการศึกษา การพัฒนาซอฟต์แวร์ และเปิดให้ใช้ฟอรัมในการปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องเว็บ เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม นำโดย ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และเวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม · ดูเพิ่มเติม »

เอชทีเอ็มแอล

อชทีเอ็มแอล (HTML: Hypertext Markup Language ภาษามาร์กอัปข้อความหลายมิติ) เป็นภาษามาร์กอัปหลักในปจจุบันที่ใช้ในการสร้างเว็บเพจ หรือข้อมูลอื่นที่เรียกดูผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์ ซึ่งตัวโค้ดจะแสดงโครงสร้างของข้อมูล ในการแสดง หัวข้อ ลิงก์ ย่อหน้า รายการ รวมถึงการสร้างแบบฟอร์ม เชื่อมโยงภาพหรือวิดีโอด้วย โครงสร้างของโค้ดเอชทีเอ็มแอลจะอยู่ในลักษณะภายในวงเล็บสามเหลี่ยม เอชทีเอ็มแอลเริ่มพัฒนาโดย ทิม เบอร์เนอรส์ ลี (Tim Berners Lee) สำหรับภาษา SGML ในปัจจุบัน HTML เป็นมาตรฐานหนึ่งของ ISO ซึ่งจัดการโดย World Wide Web Consortium (W3C) ในปัจจุบัน ทาง W3C ผลักดัน รูปแบบของ HTML แบบใหม่ ที่เรียกว่า XHTML ซึ่งเป็นลักษณะของโครงสร้าง XML แบบหนึ่งที่มีหลักเกณฑ์ในการกำหนดโครงสร้างของโปรแกรมที่มีรูปแบบที่มาตรฐานกว่า มาทดแทนใช้ HTML รุ่น 4.01 ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ขณะที่ HTML รุ่น 5 ยังคงยังอยู่ในระหว่างการพิจารณา โดยได้มีการออกดราฟต์มาเสนอเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 HTML ยังคงเป็นรูปแบบไฟล์อย่างหนึ่ง สำหรั.html และ สำหรั.htm ที่ใช้ในระบบปฏิบัติการที่รองรับ รูปแบบนามสกุล 3 ตัวอักษร.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และเอชทีเอ็มแอล · ดูเพิ่มเติม »

เอกซ์86

ปเพนเทียม 4 ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรม x86 ในยุคหลัง เอกซ์86 (x86) เป็นชื่อทั่วไปของสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์สำหรับไมโครโพรเซสเซอร์ที่สร้างโดยบริษัทอินเทล ปัจจุบันสถาปัตยกรรมแบบ x86 เป็นสถาปัตยกรรมที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในตลาดคอมพิวเตอร์เดสก์ท็อป, โน้ตบุ๊คและเซิร์ฟเวอร์ขนาดเล็ก นับตั้งแต่เริ่มใช้ในไอบีเอ็มพีซี ช่วงทศวรรษที่ 80 ชื่อสถาปัตยกรรมถูกเรียกว่า "x86" เนื่องจากชื่อเรียกของไมโครโพรเซสเซอร์รุ่นแรกๆ จะลงท้ายด้วยตัวเลข 86 ได้แก่ 8086, 80186, 80286, 386 และ 486 ในภายหลังอินเทลได้เปลี่ยนไปใช้ชื่อ "เพนเทียม" (Pentium) (ซึ่งเดิมใช้ชื่อว่า "80586") แทนเนื่องจากไม่สามารถจดเครื่องหมายการค้าในชื่อตัวเลขได้ ใน..

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และเอกซ์86 · ดูเพิ่มเติม »

เอกซ์เอชทีเอ็มแอล

อกซ์เอชทีเอ็มแอล (XHTML: Extensible Hypertext Markup Language ภาษามาร์กอัปข้อความหลายมิติขยายได้) เป็นภาษามาร์กอัปที่มีลักษณะการใช้งานเหมือน HTML แต่จะมีความเข้มงวดในเรื่องโครงสร้างภาษา โดยมีวากยสัมพันธ์สอดคล้องกับ XML เนื่องจาก HTML นั้นใช้โครงสร้างของ SGML ที่ค่อนข้างยืดหยุ่น ในขณะที่ XHTML นั้นพัฒนาจาก XML ซึ่งเป็นภาษาที่คล้ายกับ SGML แต่เข้มงวดมากกว่า เราสามารถมองว่า XHTML เป็นการแปลง HTML เดิมให้มาอยู่ในโครงสร้างของ XML ก็ได้ XHTML 1.0 ได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ World Wide Web Consortium (W3C) ในวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2543 และกลายมาเป็น W3C recommendation เมื่อ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2544 อย่างไรก็ตาม XHTML 2.0 จะหยุดภายในสิ้นปี 2552 โดยหวังจะพัฒนา HTML 5 แทนที.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และเอกซ์เอชทีเอ็มแอล · ดูเพิ่มเติม »

เอสเอพี เอจี

SAP AG (เอสเอพี เอจี) เป็นบริษัทซอฟต์แวร์ที่ใหญ่ที่สุด ของยุโรปและใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมือง Walldorf ในประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และเอสเอพี เอจี · ดูเพิ่มเติม »

เอเอสพีดอตเน็ต

ลโก้ ASP.NET เอเอสพีดอตเน็ต (ASP.NET) คือเทคโนโลยีสำหรับพัฒนาเว็บไซต์ เว็บแอปพลิเคชัน และเว็บเซอร์วิซ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก พัฒนาโดยไมโครซอฟท์ ASP.NET เป็นรุ่นถัดจาก Active Server Pages (ASP) แม้ว่า ASP.NET นั้นจะใช้ชื่อเดิมจาก ASP แต่ทั้งสองเทคโนโลยีนั้นแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง โดยไมโครซอฟท์นั้นได้สร้าง ASP.NET ขึ้นมาใหม่หมดบนฐานจากCommon Language Runtime (CLR) ซึ่งทำให้ผู้พัฒนาสามารถเลือกใช้ภาษาใดก็ได้ที่รองรับโดยดอตเน็ตเฟรมเวิร์กเช่น C# และ VB.NET เป็นต้น ปัจจุบันรุ่นล่าสุดคือ ASP.NET 2.0 ซึ่งรวมอยู่ใน.NET Framework 2.0.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และเอเอสพีดอตเน็ต · ดูเพิ่มเติม »

เฮลโลเวิลด์

ปรแกรมเฮลโลเวิลด์ เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานที่ทำการแสดงผลคำว่า "Hello world" หรือ "Hello, world!"(ตามหลักภาษาอังกฤษ) บนอุปกรณ์แสดงผล ซึ่งเป็นหนึ่งในโปรแกรมที่ง่ายที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในการเขียนภาษาโปรแกรมต่างๆ เพราะฉะนั้นโดยธรรมเนียมปฏิบัติแล้ว มักจะใช้ในการตรวจสอบว่าเขียนภาษาโปรแกรมได้ถูกต้องหรือระบบมีการประมวลผลที่ถูกต้อง และมักถูกใช้เป็นตัวอย่างที่ง่ายที่สุดในการแสดงวากยสัมพันธ์การเขียนโปรแกรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งบน command-line interpreter (เชลล์) เพื่อทำการแสดงผลออกมา อย่างไรก็ตามโปรแกรมนี้ก็มีความซับซ้อนอย่างน่าประหลาดใจ โดยเฉพาะเมื่อต้องเขียนโปรแกรมสำหรับส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ เมื่อเขียนโปรแกรมในembedded system ช้อความจะถูกส่งมายังจอภาพผลึกเหลว ซึ่งตัวอุปกรณ์นั้นไม่ได้แสดงผลตัวอักษร แต่ตัวโปรแกรมง่ายๆ นี้ จะทำการสร้างสัญญาณ เช่นเดียวกับการเปิดLED บ้างที่เราอาจกล่าวได้ว่า "Hello world" เปรียบเสมือนการต้อนรับเราเข้าสู่โปรแกรมก็ได้ โปรแกรมเฮลโลเวิลด์โปรแกรมแรกเกิดขึ้น จากหนังสือการเขียนโปรแกรมภาษาซี แต่งโดยไบรอัน เคอร์นิงแฮน และ เดนนิส ริตชี ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2521 (ค.ศ. 1978) โดยตัวอย่างโปรแกรมมาจาก กระดาษจดข้อมูลของไบรอันขณะที่ทำงานที่ เบลล์แล็บ (Bell Laboratories) ปี พ.ศ. 2517 (ค.ศ. 1974) ตัวอย่างในหนังสือ พิมพ์ข้อความว่า "hello, world" (โดย ไม่มีตัวพิมพ์ใหญ่ และเครื่องหมายตกใจ ซึ่งได้เพิ่มมาในภายหลัง) โดยแสดงข้อความ: การเขียนคำนี้ มีการใช้งานโดยเขียนหลายแบบคือ ตัวอักษร H ใหญ่ และ h เล็ก ขณะเดียวกับ W ใหญ่ และ w เล็ก รวมถึงการเขียนเครื่องหมาย และแบบไม่มีเครื่องหมาย การเขียนชุดคำสั่งนี้ในขณะที่บางโปรแกรมสามารถใช้คำสั่งได้อย่างเรียบง่าย ในขณะที่บางโปรแกรมต้องใช้คำสั่งซับซ้อนในการแสดงผล โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ใช้GUI โปรแกรมเฮลโลเวิลด์มีประโยชน์ในการทดสอบว่าคอมไพเลอร์และส่วนต่างๆหลักของโปรแกรมทำงานได้ การรวบรวมคำสั่ง "hello world" ในภาษาโปรแกรมต่างๆ ถูกใช้ในการช่วยเรียน และการเปรียบเทียบการใช้งานของภาษาต่าง.

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และเฮลโลเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

เดนนิส ริตชี

นนิส แม็กคาลิสแตร์ ริตชี (Dennis MacAlistair Ritchie) (9 กันยายน พ.ศ. 2484 — 12 ตุลาคม พ.ศ. 2554 (วันที่พบศพ)) เป็นนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ชาวอเมริกัน ผู้มีอิทธิพลต่อภาษาซีและภาษาโปรแกรมอื่น ๆ รวมทั้งระบบปฏิบัติการหลายชนิดเช่นมัลติกส์และยูนิกซ์ เขาได้รับรางวัลทัวริงเมื่อ..

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และเดนนิส ริตชี · ดูเพิ่มเติม »

Visual Basic for Applications

right VBA ในไมโครซอฟท์ เอกซ์เซล 2007 Visual Basic for Applications (VBA) คือการใช้ภาษาวิชวลเบสิกในการเขียนโค้ดควบคุมโปรแกรมประยุกต์อื่นๆ เช่น ไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ ออโตแคด เป็นต้น ขณะนี้ไมโครซอฟท์อยู่ในระหว่างการเปลี่ยนจากการใช้ VBA มาใช้ Visual Studio Tools for Applications (VSTO) ซึ่งใช้ฐานเป็นดอตเน็ตเฟรมเวิร์กแทน ปัจจุบันได้เปิดให้ผู้ใช้ทั่วไปสามารถDownloadได้โดยรุ่นล่าสุดคือ VSTO 2005 SE (Second Edition).

ใหม่!!: เฮลโลเวิลด์และVisual Basic for Applications · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Hello WorldHello World!Hello world

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »