เอ็น.อี.อาร์.ดีและโซล (แนวดนตรี)
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง เอ็น.อี.อาร์.ดีและโซล (แนวดนตรี)
เอ็น.อี.อาร์.ดี vs. โซล (แนวดนตรี)
อ็น.อี.อาร.ดี ย่อมาจาก No one Ever Really Dies เป็นวงอัลเทอร์เนทีฟร็อก ฟังก์และฮิปฮอป สัญชาติอเมริกันประกอบด้วยสมาชิกคือ ฟาร์เรลล์ วิลเลียมส์,แชด ฮูโก ซึ่งทั้งคู่คือสมาชิกวงเดอะเน็ปจูนส์ และสมาชิกอีกคนคือ เชย์ ฮาเลย์ พวกเขาเซ็นสัญญากับเทดดี้ ไรลีย์ กับสังกัดเวอร์จิน ในฐานะวงดูโอที่ชื่อ เดอะเน็ปจูนส์ หลังจากได้ทำงานให้กับศิลปินหลายครั้งในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 ก็ได้รวมตัวกับเชย์ ฮาเลย์ ที่ถือเป็นโครงการข้างเคียงของวงเดอะเน็ปจูนส์ ออกอัลบั้มภายใต้ชื่อวง เอ็น.อี.อาร.ดี ชื่อชุด In Search Of มียอดขาย 603,000 ชุดในสหรัฐอเมริกา ได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำจาก RIAA ยังได้รับรางวัลประจำปีครั้งที่ 2 ของชอร์ตลิสต์มิวสิกไพรซ์ ผลงานอัลบั้มชุดที่ 2 ของวงชื่อ Fly Or Die มียอดขาย 412,000 ชุด ในสหรัฐอเมริกา ได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำ ในปี 2005 เอ็น.อี.อาร.ดี หมดสัญญากับค่ายเวอร์จินและแตกวงไป ต่อมาอีก 3 ปี วงได้รวมตัวกันใหม่ภายใต้สังกัดสตาร์แทรกเอนเตอร์เทนเมนต์ ค่ายย่อยของอินเทอร์สโคปเรเคิดส์ ที่ก่อตั้งโดยวิลเลียมส์และฮูโก ออกผลงานชุดที่ 3 ชื่อ Seeing Sound มียอดขาย 80,000 ชุดในสัปดาห์แรก ในปี 2006-2016 หลังจากไม่แน่ชัดเรื่องคอนเซ็ปอัลบั้มในปี 2013 ฟาร์เรลล์ วิลเลียมส์ ประสบความสำเร็จในงานเดียวมานับไม่ถ้วน เช่น ซิงเกิ้ล Happy (ประกอบภาพยนตร์ มิสเตอร์แสบร้ายเกินพิกัด 2), Blurred Lines (ร่วมกับ โรบิน ธิก), Get Lucky (ร่วมกับ ดาฟต์พังก์), Sing (เขียนและโปรดิวเซอร์ให้เอ็ด ชีแรน), Havana (เขียนให้ Camila Cabello), Feel (ร่วมกับ แคลวิน แฮร์ริส) ในปี 2017 เอ็น.อี.อาร.ดี ได้เปิดตัวซิงเกิ้ลใหม่ ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2017 ร่วมกับ รีแอนนา ในชื่อว่า Lemon ภายใต้สังกัดโคลัมเบียเรเคิดส์ ในชื่ออัลบั้ม No One Ever Really Dies วันที่ 30 พฤศจิกายน 2017 ได้ปล่อยซิงเกิ้ลที่สอง "1000" ร่วมกับ ฟิวเจอร. ซล เป็นแนวเพลงประเภทหนึ่งที่รวมกันระหว่างอาร์แอนด์บีและกอสเปล กำเนิดในประเทศสหรัฐอเมริกา จากร็อกแอนด์โรลฮอลล์ออฟเฟม โซลมีความหมายว่า "ดนตรีที่เกิดขึ้นโดยคนผิวสี ในอเมริกา ที่เปลี่ยนรูปจากกอสเปลและอาร์แอนด์บี ในจังหวะที่สนุกสนาน โดยไม่มีเนื้อหาเกี่ยวกับทางศาสนา" การแสดงจะผ่านทางอารมณ์ และเมโลดี้มีการตกแต่งในลักษณะคีตปฏิภาณ นอกจากนี้ยังใช้ซาวด์แบบวนและเป็นเครื่องเสริม จังหวะที่ติดหู อาจมีการตบมือประกอบ การเคลื่อนไหวแบบพลาสติก องค์ประกอบอีกอย่างของโซลที่เรียกว่า call and response ที่เป็นการร้องโต้ตอบกันระหว่าง นักร้อง กับคอรัส โดยเฉพาะเสียงที่ตึง.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เอ็น.อี.อาร์.ดีและโซล (แนวดนตรี)
เอ็น.อี.อาร์.ดีและโซล (แนวดนตรี) มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟังก์
ฟังก์ (Funk) เป็นแนวเพลงชนิดหนึ่งเกิดขึ้นในช่วงกลางถึงปลายทศวรรษที่ 1960 เมื่อนักดนตรีชาวแอฟริกัน-อเมริกัน ได้รวมเพลงแนวโซล เข้ากับโซลแจ๊ส และอาร์แอนด์บี ให้มีจังหวะ สามารถเต้นรำได้ เกิดแนวเพลงชนิดใหม่ ฟังก์ได้ลดความเด่นของเมโลดี้และความกลมกลืนลง และนำจังหวะสนุกสนานเพิ่มขึ้นด้วยเบสอิเล็กทรอนิกและกลองให้ชัดขึ้น ไม่เหมือนกับเพลงอาร์แอนด์บีหรือโซล ที่มีการเปลี่ยนคอร์ดหลายครั้ง เพลงฟังก์มักจะมีคอร์ดเดียว ฟังก์ประกอบด้วยจังหวะของเครื่องดนตรีอย่าง กีตาร์ไฟฟ้า เบสไฟฟ้า แฮมมอนด์ออร์แกน และกลอง เล่นในจังหวะที่เกาะเกี่ยวกัน วงฟังก์มักจะมีเครื่องเป่าอยู่ด้วย อย่าง แซกโซโฟน ทรัมเป็ต หรือในบางครั้งก็มี ทรอมโบน ผู้มีอิทธิพลต่อดนตรีฟังก์ เช่น เจมส์ บราวน์,สลาย แอนด์ เดอะ แฟมิลี สโตน, จอร์จ คลินตัน แอนด์ พาร์ไลเมน-ฟังก์คาเดลิก,เคอร์ติส เมฟิลด์, เดอะ เมเตอร์ส,เดอะ ฟังก์ บราเตอร์ส, บูทซี คอลลินส์ และ พรินซ์ วงดนตรีที่เป็นที่รู้จักในทศวรรษที่ 1970 อย่าง เอิร์ธ, วินด์แอนด์ไฟร์,ทาวเวอร์ ออฟ พาวเวอร์, คอมโมดอร์ส และคูลแอนด์เดอะแก๊ง ที่โด่งดังหลายๆ วง ก็เล่นเพลงในแนวดิสโก้และโซลด้วย ดนตรีฟังก์ได้มีการพัฒนาอย่างมากในช่วงทศวรรษที่ 1970 ในช่วงที่ดนตรีดิสโก้โด่งดัง มีความนิยมในการใช้ท่อมแซมเปิ้ลของดนตรีฟังก์ในดนตรีฮิปฮอป และฟังก์ยังมีอิทธิพลต่อแนวดนตรี โก-โก ฟังก์อย่างมีอิทธิพลต่อเพลงแนวนิวเวฟและโพสต์พังก์บ้าง.
ฟังก์และเอ็น.อี.อาร์.ดี · ฟังก์และโซล (แนวดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ เอ็น.อี.อาร์.ดีและโซล (แนวดนตรี) มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง เอ็น.อี.อาร์.ดีและโซล (แนวดนตรี)
การเปรียบเทียบระหว่าง เอ็น.อี.อาร์.ดีและโซล (แนวดนตรี)
เอ็น.อี.อาร์.ดี มี 15 ความสัมพันธ์ขณะที่ โซล (แนวดนตรี) มี 17 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 3.12% = 1 / (15 + 17)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เอ็น.อี.อาร์.ดีและโซล (แนวดนตรี) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: