โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เอเชียนคัพ 2011และเอเชียนคัพ 2019

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เอเชียนคัพ 2011และเอเชียนคัพ 2019

เอเชียนคัพ 2011 vs. เอเชียนคัพ 2019

อเชียนคัพ 2011 (Asian Cup 2011) เป็นการแข่งขันฟุตบอลเอเชียนคัพ ครั้งที่ 15 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 7-29 มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ประเทศกาตาร์ ระบบการแข่งขันรอบคัดเลือกในครั้งนี้จะมีการปรับเปลี่ยนจากการแข่งขันจากที่ผ่านมา คือจะมีทีมชนะเลิศจากเอเอฟซีแชลเลนจ์คัพ เข้ามาร่วมแข่งขันด้ว. อเชียนคัพ 2019 เป็นการแข่งขันฟุตบอลชายชิงแชมป์เอเชีย ครั้งที่ 17 ภายใต้การควบคุมของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย โดยสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ได้รับคัดเลือกให้เป็นเจ้าภาพเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2558 ซึ่งก่อนหน้านั้นเคยเป็นเจ้าภาพมาแล้วใน เอเชียนคัพ 1996 ครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่เอเชียนคัพเพิ่มจำนวนทีมที่เข้าร่วมแข่งขันจาก 16 เป็น 24 ทีม การแข่งขันรอบแบ่งกลุ่ม จะมี 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม ในรอบคัดเลือก เจ้าภาพได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ ส่วนทีมที่เหลือต้องแข่งขันกันไปเรื่อย ๆ จนได้ 23 ทีม โดยเริ่มแข่งตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2558 ไปจนถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2561 ในรอบคัดเลือก 2 รอบแรก จะดำเนินการแข่งร่วมกับฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย ในการแข่งขันเอเชียนคัพครั้งนี้ ออสเตรเลียจะเป็นทีมที่ป้องกันตำแหน่งแชมป์ หลังจากที่ชนะเลิศในเอเชียนคัพ 2015 ที่ประเทศออสเตรเลีย และทีมชนะเลิศเอเชียนคัพ 2019 ครั้งนี้ จะได้เข้าแข่งขันกับทีมชนะเลิศจากทวีปอื่น ๆ ในฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2021.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เอเชียนคัพ 2011และเอเชียนคัพ 2019

เอเชียนคัพ 2011และเอเชียนคัพ 2019 มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟุตบอลทีมชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ฟุตบอลทีมชาติออสเตรเลียเอเชียนคัพ 2015

ฟุตบอลทีมชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

ฟุตบอลทีมชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (منتخب الإمارات العربية المتحدة لكرة القدم) เป็นทีมฟุตบอลประจำชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และเป็นสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีสนามเหย้าหลายสนาม อาทิ สนามกีฬาซายิดสปอร์ตซิตี กับสนามกีฬามูฮัมหมัด บิน ซายิด ในอาบูดาบี และสนามกีฬาฮัซซา บิน ซายิด ในอัล ไอน์ เคยเข้าแข่งขันฟุตบอลโลก 1 ครั้ง ในปี 1990 ที่ประเทศอิตาลี แต่แพ้รวดในรอบแบ่งกลุ่ม โดยพ่ายแพ้ให้กับโคลอมเบีย, เยอรมนีตะวันตก และยูโกสลาเวีย แต่ในอีกหลายปีถัดมา ทีมได้ที่สี่ในการแข่งขันเอเชียนคัพ ปี 1992 และรองชนะเลิศในปี 1996 โดยแพ้การยิงลูกโทษ นอกจากนี้พวกเขายังชนะเลิศ กัลฟ์คัพออฟเนชัน 2 ครั้ง ในปี 2007 และ 2013 ล่าสุด พวกเขาได้ที่สามในการแข่งขันเอเชียนคัพ 2015 และจะเป็นเจ้าภาพในครั้งถัดไป.

ฟุตบอลทีมชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์และเอเชียนคัพ 2011 · ฟุตบอลทีมชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์และเอเชียนคัพ 2019 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติออสเตรเลีย

ฟุตบอลทีมชาติออสเตรเลีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศออสเตรเลีย ในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ อยู่ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลออสเตรเลีย ทีมชาติออสเตรเลียมีชื่อเล่นอย่างเป็นทางการคือ ซอกเกอร์รูส์ (Socceroos) หรือ จากชื่อเต็มว่า แควนตัสซอกเกอร์รูส์ โดยสายการบินแควนตัสเป็นผู้สนับสนุนหลักของทีมชาติ ทีมชาติออสเตรเลียในอดีตได้ร่วมเล่นในการแข่งขันของ สมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนีย จนกระทั่งในปี 2549 ได้ย้ายมาร่วมเล่นกับทีมอื่นในทวีปเอเชีย ภายใต้ สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ผลงานของทีมชาติออสเตรเลียนั้น ได้ร่วมเล่นในฟุตบอลโลก 3 ครั้งใน ฟุตบอลโลก 1974 ฟุตบอลโลก 2006 และ ฟุตบอลโลก 2010 สำหรับในระดับภูมิภาคนั้น ได้ชนะการแข่งขันโอเอฟซีเนชันส์คัพ 4 ครั้ง ก่อนที่จะย้ายมาเล่นกับทีมอื่นในเอเชีย ในเอเชียนคัพ 2011 ที่กาตาร์เป็นเจ้าภาพ ออสเตรเลียก็ผ่านรอบแรกโดยชนะอินเดีย 4-0,เสมอเกาหลีใต้ 1-1,ชนะบาห์เรน 1-0 เป็นที่1ของสาย และสามารถเอาชนะแชมป์เอเชียนคัพ 2007อย่างอิรักไป 1-0 ในช่วงต่อเวลาพิเศษ จากการยิงประตูของแฮร์รี่ คีเวลล์ ในนาที่ที่ 118 ทำให้ออสเตรเลียเข้ารอบรองชนะเลิศไปเจอกับอุซเบกิสถานแล้วชนะไป 6-0 ผ่านเข้าชิงชนะเลิศกับญี่ปุ่น แต่เป็นฝ่ายแพ้ไป 0-1 ในช่วงต่อเวลาพิเศษ ในนาทีที่ 109.

ฟุตบอลทีมชาติออสเตรเลียและเอเชียนคัพ 2011 · ฟุตบอลทีมชาติออสเตรเลียและเอเชียนคัพ 2019 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนคัพ 2015

Group stage เอเชียนคัพ 2015 (AFC Asian Cup 2015) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับทวีปเอเชีย (เอเชียนคัพ) ครั้งที่ 16 จัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ในระหว่างวันที่ 9-31 มกราคม พ.ศ. 2558 ที่ประเทศออสเตรเลีย โดยทีมที่ชนะเลิศในการแข่งขันรายการนี้จะได้สิทธิ์ในการแข่งขัน คอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2017 ที่ประเทศรัสเซี.

เอเชียนคัพ 2011และเอเชียนคัพ 2015 · เอเชียนคัพ 2015และเอเชียนคัพ 2019 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เอเชียนคัพ 2011และเอเชียนคัพ 2019

เอเชียนคัพ 2011 มี 33 ความสัมพันธ์ขณะที่ เอเชียนคัพ 2019 มี 21 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 5.56% = 3 / (33 + 21)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เอเชียนคัพ 2011และเอเชียนคัพ 2019 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »