โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เอวแซบีอูและโยฮัน ไกรฟฟ์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เอวแซบีอูและโยฮัน ไกรฟฟ์

เอวแซบีอู vs. โยฮัน ไกรฟฟ์

อวแซบีอู ดา ซิลวา ฟึไรรา (Eusébio da Silva Ferreira) เป็นนักฟุตบอลชาวโปรตุเกสเชื้อสายโมซัมบิก เล่นในตำแหน่งกองหน้า ได้รับการยกย่องเป็นหนึ่งในนักฟุตบอลยอดเยี่ยมตลอดกาล ตลอดอาชีพเขาทำประตูได้ 733 ประตู จาก 745 นัดที่ลงเล่น เขามีส่วนสำคัญที่ทำให้ฟุตบอลทีมชาติโปรตุเกสได้อันดับสามในฟุตบอลโลก 1966 โดยเป็นผู้ทำได้สูงสุด 9 ประตู ได้รับรางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของทวีปยุโรปในปี 1965 เขาเป็นผู้เล่นคนสำคัญของสโมสรไบฟีกา โดยเล่นให้กับทีมเป็นเวลาถึง 15 ปี ทำได้ 638 ประตูจาก 614 นัดที่ลงเล่น ช่วยให้ทีมชนะเลิศปรีไมราลีกา 11 ครั้ง ชนะเลิศ Taça de Portugal 5 ครั้ง ชนะเลิศยูโรเปียนคัพ 1 ครั้งจากการเข้าชิง 4 ครั้ง เอวแซบีอูได้รับฉายาว่า "เสือดำ" และ "ไข่มุกดำ". แฮ็นดริก โยฮันเนิส ไกรฟฟ์ (Hendrik Johannes Cruijff; 25 เมษายน พ.ศ. 2490 – 24 มีนาคม พ.ศ. 2559) เป็นอดีตนักฟุตบอลทีมชาติเนเธอร์แลนด์ผู้ได้ชื่อว่าเป็นตำนานแห่งทีมชาติเนเธอร์แลนด์ เจ้าของฉายา "นักเตะเทวดา" หรือ "ผู้สง่างาม" (De Majestueuze) ในภาษาดัต.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เอวแซบีอูและโยฮัน ไกรฟฟ์

เอวแซบีอูและโยฮัน ไกรฟฟ์ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กองหน้ายูฟ่าแชมเปียนส์ลีกนักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของทวีปยุโรป

กองหน้า

ทีโอ วอลคอตต์ กองหน้าของทีมอาร์เซนอลและทีมชาติอังกฤษ กองหน้า ในกีฬาฟุตบอลคือผู้เล่นที่อยู่แถวหน้าสุดของทีม (ปกติผู้เล่นทีมฟุตบอลจะแบ่งทีมออกเป็น 3 แถว คือ กองหลัง กองกลาง และกองหน้า) มีหน้าที่หลักคือการหาจังหวะในการยิงประตูฝ่ายตรงข้าม โดยที่มีผู้เล่นกองกลางคอยป้อนลูกให้ ชื่อของกองหน้า มีหลายชื่อตั้งแต่ ฟอร์เวิร์ด (Forward - FW) หรือ สไตรเกอร์ (Striker - ST).

กองหน้าและเอวแซบีอู · กองหน้าและโยฮัน ไกรฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

ูฟ่าแชมเปียนส์ลีก (UEFA Champions League; ชื่อเดิม: ยูโรเปียนคัพ; European Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างสโมสรต่าง ๆ ภายในทวีปยุโรป ซึ่งจัดการแข่งขันโดยสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) เริ่มการแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 1955 ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้ชื่อปัจจุบันเมื่อปี ค.ศ. 1992 โดยทีมที่ได้อับดับที่ 1-3 ในแต่ละลีกจะได้ไปแข่งโดยอัตโนมัติ ส่วนที่ 4 จะได้ไปเพลย์ออฟรอบสุดท้ายทั้งนี้ขึ้นอยู่กับมาตรฐานของแต่ละลีกเช่นกันจากการจัดอันดับคะแนนลีกของยูฟ่า ลักษณะของการแข่งขันรายการนี้จะเป็นการนำทีมที่มีคะแนนสะสมมากที่สุดของแต่ละลีกสูงสุดของแต่ละประเทศในทวีปยุโรปมาแข่งขันกัน โดยพิจารณาออกมาเป็นโควตาของแต่ละลีก พรีเมียร์ลีกของอังกฤษ, ลาลีกาของสเปน และบุนเดสลีกาของเยอรมนีมีโควตาสี่ทีม ส่วนเซเรียอาของอิตาลีมีโควตาสามทีมเป็นต้น ทั้งนี้ สโมสรที่ชนะเลิศมากที่สุดคือ เรอัลมาดริด (สเปน, 12 ครั้ง) อันดับสองคือ เอซีมิลาน (อิตาลี, 7 ครั้ง) อันดับสามคือ บาเยิร์นมิวนิก (เยอรมัน, 5 ครั้ง) โดยสโมสรที่ชนะเลิศ 3 สมัยติดต่อกันหรือชนะเลิศครบ 5 สมัย จะได้รับถ้วยรางวัลไปเป็นกรรมสิทธิ์ของสโมสร เช่นเดียวกับถ้วยรางวัลอื่น ๆ ของยูฟ่า โดยที่เรอัลมาดริดได้ไปเมื่อ ค.ศ. 1958, อายักซ์ (ค.ศ. 1973), บาเยิร์นมิวนิก (ค.ศ. 1976), เอซีมิลาน (ค.ศ. 1994) และลิเวอร์พูล (ค.ศ. 2005) บาเซโลน่า (ค.ศ. 2015) ปัจจุบันในฤดูกาล 2016-17 สโมสรที่ชนะเลิศคือ เรอัลมาดริด และเป็นแชมป์สมัยที่สิบสองในรายการนี้ โดยเอาชนะยูเวนตุสไป 4-1 ในช่วง 90 นาที ในนัดชิงชนะเลิศ 2017.

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกและเอวแซบีอู · ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกและโยฮัน ไกรฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

นักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของทวีปยุโรป

รางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของทวีปยุโรป (European Footballer of the Year) หรือรู้จักกันในชื่อ บาลงดอร์ (Ballon d'Or - ภาษาฝรั่งเศส แปลว่า "ลูกบอลทองคำ") เป็นรางวัลที่มอบให้แก่นักฟุตบอลที่มีผลงานยอดเยี่ยมที่สุดในรอบปี โดยนักฟุตบอลคนนั้นต้องเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลสังกัดยูฟ่า จึงจะมีสิทธิ์ได้รับรางวัล ต่อมาในปี..

นักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของทวีปยุโรปและเอวแซบีอู · นักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของทวีปยุโรปและโยฮัน ไกรฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เอวแซบีอูและโยฮัน ไกรฟฟ์

เอวแซบีอู มี 10 ความสัมพันธ์ขณะที่ โยฮัน ไกรฟฟ์ มี 55 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 4.62% = 3 / (10 + 55)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เอวแซบีอูและโยฮัน ไกรฟฟ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »