โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟุตบอลและเอลกลาซิโก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟุตบอลและเอลกลาซิโก

ฟุตบอล vs. เอลกลาซิโก

ฟุตบอล หรือ ซอกเกอร์ เป็นกีฬาประเภททีมที่เล่นระหว่างสองทีมโดยแต่ละทีมมีผู้เล่น11คน โดยใช้ลูกบอล เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายว่าเป็นกีฬาที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในโลก โดยจะเล่นในสนามหญ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า หรือ สนามหญ้าเทียม โดยมีประตูอยู่กึ่งกลางที่ปลายสนามทั้งสองฝั่ง เป้าหมายคือทำคะแนนโดยพาลูกฟุตบอลให้เข้าไปยังประตูของฝ่ายตรงข้าม ในการเล่นทั่วไปผู้รักษาประตูจะเป็นผู้เล่นเพียงคนเดียวที่สามารถใช้มือหรือแขนกับลูกฟุตบอลได้ ส่วนผู้เล่นอื่นๆจะใช้เท้าในการเตะลูกฟุตบอลไปยังตำแหน่งที่ต้องการ บางครั้งอาจใช้ลำตัว หรือ ศีรษะ เพื่อสกัดลูกฟุตบอลที่ลอยอยู่กลางอากาศ โดยทีมที่พาลูกฟุตบอลเข้าประตูฝ่ายตรงข้ามได้มากกว่าจะเป็นผู้ชนะ ถ้าคะแนนเท่ากันให้ถือว่าเสมอ แต่ในบางเกมที่เสมอกันในช่วงเวลาปกติแล้วต้องการหาผู้ชนะจึงต้องมีการต่อเวลาพิเศษ และ/หรือยิงลูกโทษขึ้นอยู่กับกฎระเบียบของรายการแข่งขันนั้นๆ โดยกฎกติกาการเล่นสมัยใหม่จะถูกรวบรวมขึ้นในประเทศอังกฤษ โดย สมาคมฟุตบอลอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2406 ได้กำเนิดกติกาฟุตบอลขึ้นเพื่อเป็นแนวทางกติกาการเล่นในปัจจุบัน ฟุตบอลในระดับนานาชาติจะถูกวางระเบียบโดยฟีฟ่า ซึ่งรายการแข่งขันที่มีเกียรติสูงสุดในระดับนานาชาติคือการแข่งขันฟุตบอลโลกซึ่งจะจัดขึ้นทุกๆ 4 ปี. อลกลาซิโก (El Clásico) หรือ อัลกลาซิก (El Clàssic) หรือรู้จักในชื่อ เอลเดร์บีเอสปาญอล (el derbi español) คือชื่อที่ตั้งให้กับนัดการแข่งขันฟุตบอลระหว่างสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดกับสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา ซึ่งแข่งขันปีละ 2 ครั้งในการแข่งขันในลาลิกา และอาจมากไปกว่านั้นหากเจอกันในการแข่งขันอื่น โดยนอกเหนือจากนัดชิงชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกแล้ว ถือว่าเป็นนัดการแข่งขันฟุตบอลสโมสรที่มีผู้ชมมากที่สุดในโลก โดยมีจำนวนผู้ชมกว่า 100 ล้านคน การแข่งขันเกิดขึ้นเนื่องจากทั้งมาดริดและบาร์เซโลนาเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในสเปน สโมสรฟุตบอลหลักของเมืองทั้งสองยังเป็นสโมสรที่รวยที่สุด ประสบความสำเร็จ และมีอิทธิพลมากที่สุดในประเทศ โดยเรอัลมาดริดได้รับถ้วย 73 ถ้วย ขณะที่บาร์เซโลนารับไป 68 ถ้วย ขณะที่ทีมแอทเลติกบิลบาโอ อันดับ 3 ครองถ้วยไป 32 ถ้วย ในบางครั้งยังอาจกล่าวได้ว่าแข่งขันเชิงการเมือง คือ เรอัลมาดริดเป็นตัวแทนของชาวสเปน ส่วนบาร์เซโลนาเป็นตัวแทนของชาวกาตาลุญญ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟุตบอลและเอลกลาซิโก

ฟุตบอลและเอลกลาซิโก มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

ูฟ่าแชมเปียนส์ลีก (UEFA Champions League; ชื่อเดิม: ยูโรเปียนคัพ; European Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างสโมสรต่าง ๆ ภายในทวีปยุโรป ซึ่งจัดการแข่งขันโดยสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) เริ่มการแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 1955 ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้ชื่อปัจจุบันเมื่อปี ค.ศ. 1992 โดยทีมที่ได้อับดับที่ 1-3 ในแต่ละลีกจะได้ไปแข่งโดยอัตโนมัติ ส่วนที่ 4 จะได้ไปเพลย์ออฟรอบสุดท้ายทั้งนี้ขึ้นอยู่กับมาตรฐานของแต่ละลีกเช่นกันจากการจัดอันดับคะแนนลีกของยูฟ่า ลักษณะของการแข่งขันรายการนี้จะเป็นการนำทีมที่มีคะแนนสะสมมากที่สุดของแต่ละลีกสูงสุดของแต่ละประเทศในทวีปยุโรปมาแข่งขันกัน โดยพิจารณาออกมาเป็นโควตาของแต่ละลีก พรีเมียร์ลีกของอังกฤษ, ลาลีกาของสเปน และบุนเดสลีกาของเยอรมนีมีโควตาสี่ทีม ส่วนเซเรียอาของอิตาลีมีโควตาสามทีมเป็นต้น ทั้งนี้ สโมสรที่ชนะเลิศมากที่สุดคือ เรอัลมาดริด (สเปน, 12 ครั้ง) อันดับสองคือ เอซีมิลาน (อิตาลี, 7 ครั้ง) อันดับสามคือ บาเยิร์นมิวนิก (เยอรมัน, 5 ครั้ง) โดยสโมสรที่ชนะเลิศ 3 สมัยติดต่อกันหรือชนะเลิศครบ 5 สมัย จะได้รับถ้วยรางวัลไปเป็นกรรมสิทธิ์ของสโมสร เช่นเดียวกับถ้วยรางวัลอื่น ๆ ของยูฟ่า โดยที่เรอัลมาดริดได้ไปเมื่อ ค.ศ. 1958, อายักซ์ (ค.ศ. 1973), บาเยิร์นมิวนิก (ค.ศ. 1976), เอซีมิลาน (ค.ศ. 1994) และลิเวอร์พูล (ค.ศ. 2005) บาเซโลน่า (ค.ศ. 2015) ปัจจุบันในฤดูกาล 2016-17 สโมสรที่ชนะเลิศคือ เรอัลมาดริด และเป็นแชมป์สมัยที่สิบสองในรายการนี้ โดยเอาชนะยูเวนตุสไป 4-1 ในช่วง 90 นาที ในนัดชิงชนะเลิศ 2017.

ฟุตบอลและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก · ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกและเอลกลาซิโก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟุตบอลและเอลกลาซิโก

ฟุตบอล มี 60 ความสัมพันธ์ขณะที่ เอลกลาซิโก มี 25 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.18% = 1 / (60 + 25)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟุตบอลและเอลกลาซิโก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »