เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออกและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออกและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก

เส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก vs. เส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก

อนุสาวรีย์สัญลักษณ์เส้นเมริเดียนในสตาร์การ์ดชเชชีงสกี, โปแลนด์ อนุสาวรีย์สัญลักษณ์เส้นเมริเดียนในกือราลิตซ์, เมืองทางตะวันออกสุดของประเทศเยอรมนี สัญลักษณ์ของเส้นเมริเดียน 15 องศาบนทางเท้าใน อินด์ชิฮูอาราแด็ก, สาธารณรัฐเช็ก เส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันตก เส้นเมริเดียนนี้ ถือเป็นแกนกลางของเวลายุโรปกลาง. ้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันตก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออกและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก

เส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออกและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก มี 19 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มหาสมุทรอาร์กติกมหาสมุทรแอตแลนติกมหาสมุทรใต้ลองจิจูดสฟาลบาร์สปิตส์เบอร์เกนทวีปยุโรปทวีปแอฟริกาทวีปแอนตาร์กติกาทะเลบอลติกทะเลกรีนแลนด์ทะเลติร์เรเนียนทะเลนอร์วีเจียนทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทะเลเอเดรียติกขั้วโลกใต้ขั้วโลกเหนือควีนม็อดแลนด์เส้นเมริเดียนแรก

มหาสมุทรอาร์กติก

มหาสมุทรอาร์กติก (Arctic Ocean) ตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือ และส่วนใหญ่อยู่ในเขตขั้วโลกเหนืออาร์กติก เป็นมหาสมุทรขนาดเล็กที่สุดและตื้นเขินที่สุดในห้ามหาสมุทรตามการแบ่งมหาสมุทรหลักของโลก องค์กรอุทกศาสตร์โลก (IHO) ยอมรับว่ามหาสมุทรอาร์กติกเป็นมหาสมุทร แม้นักอุทกศาสตร์บางคนจะเรียกบริเวณนี้ว่า ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนอาร์กติก หรือเรียกง่าย ๆ ว่า ทะเลอาร์กติก โดยจัดว่าบริเวณนี้เป็นหนึ่งในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของมหาสมุทรแอตแลนติก หรืออาจมองว่า เป็นส่วนเหนือสุดของมหาสมุทรโลกที่ล้อมรอบทั้งหมด มหาสมุทรอาร์กติกมีรูปร่างคล้ายวงกลม ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ เกือบเท่ากับขนาดของทวีปแอนตาร์กติกา แนวชายฝั่งยาว ล้อมรอบด้วยทวีปยุโรป, ทวีปเอเชีย, ทวีปอเมริกาเหนือ และกรีนแลนด์ รวมทั้งเกาะต่างๆ และทะเลแบเร็นตส์, ทะเลโบฟอร์ต, ทะเลชุกชี, ทะเลคารา, ทะเลลัปเตฟ, ทะเลไซบีเรียตะวันออก, ทะเลลิงคอล์น, ทะเลแวนเดล, ทะเลกรีนแลนด์ และทะเลนอร์เวย์ เชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกที่ช่องแคบเบริง และเชื่อมกับมหาสมุทรแอตแลนติกที่ทะเลกรีนแลนด์ มหาสมุทรอาร์กติกบางส่วนปกคลุมด้วยทะเลน้ำแข็งตลอดทั้งปีและเกือบทั้งมหาสมุทรในฤดูหนาว อุณหภูมิและความเค็มของมหาสมุทรอาร์กติกแตกต่างกันไปตามฤดูกาล เมื่อน้ำแข็งหลอมเหลวและแข็งตัว ความเค็มของมหาสมุทรมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดในมหาสมุทรหลักทั้งห้า เนื่องจากการระเหยที่ต่ำ กระแสไหลเข้าอย่างหนักของน้ำจืดจากแม่น้ำและลำธาร การเชื่อมโยงที่จำกัดและการไหลออกไปยังมหาสมุทรโดยรอบที่มีความเค็มสูงกว่า การหดตัวของน้ำแข็งในฤดูร้อนมีบันทึกว่าลดลงถึง 50% ศูนย์ข้อมูลหิมะและน้ำแข็งแห่งชาติสหรัฐ (NSIDC) ใช้ข้อมูลดาวเทียมเพื่อหาบันทึกประจำวันของน้ำแข็งที่ปกคลุมมหาสมุทรอาร์กติก และอัตราการหลอมเหลวเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเฉลี่ยและปีที่ผ่านมา สันลอมอนอซอฟ (Lomonosov ridge) ซึ่งเป็นสันมหาสมุทรที่อยู่ใต้ทะเล แบ่งมหาสมุทรอาร์กติกออกเป็น 2 ส่วน คือ แอ่งยูเรเชีย (เรียกบริเวณนี้ว่าแนนสัน - Nansen) มีความลึก 4,000-4,500 เมตร และแอ่งอเมริกาเหนือ (เรียกบริเวณนี้ว่าไฮเพอร์โบเรียน - Hyperborean) มีความลึกประมาณ 4,000 เมตร ความลึกเฉลี่ยของมหาสมุทรอาร์กติก คือ 1,038 เมตร (3,407 ฟุต).

มหาสมุทรอาร์กติกและเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก · มหาสมุทรอาร์กติกและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแอตแลนติก

มหาสมุทรแอตแลนติก (Atlantic Ocean) เป็นมหาสมุทรที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 1 ใน 5 ของพื้นผิวโลก ชื่อของมหาสมุทรมาจากนิยายปรัมปรากรีก หมายถึง "ทะเลของแอตลาส" มหาสมุทรแอตแลนติกเป็นแอ่งที่มีรูปร่างเหมือนตัวเอส (S) ติดกับทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ทางตะวันตก ส่วนทางตะวันออกติดกับ ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ปัจจุบันมีการแบ่งมหาสมุทรแอตแลนติกเป็น 2 ส่วน คือ แอตแลนติกเหนือและแอตแลนติกใต้ โดยใช้บริเวณที่เกิดการเปลี่ยนทิศของกระแสน้ำที่ละติจูด 8° เหนือเป็นแนวแบ่ง มหาสมุทรแอตแลนติกเชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางมหาสมุทรอาร์กติกซึ่งอยู่ทางเหนือ ส่วนทางใต้เชื่อมทางช่องแคบเดรก จุดเชื่อมต่ออีกแห่งหนึ่งที่สร้างขึ้นโดยมนุษย์ คือ คลองปานามา เส้นแบ่งระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรอินเดีย คือ เส้นเมริเดียน 20° ตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรอาร์กติกด้วยเส้นที่ลากจากกรีนแลนด์ ผ่านตอนใต้สุดของสฟาลบาร์ (Svalbard) ไปยังตอนเหนือของนอร์เวย์ มหาสมุทรแอตแลนติกมีพื้นน้ำประมาณ 106,460,000 ตารางกิโลเมตร ปริมาตรของมหาสมุทรเมื่อรวมทะเลที่อยู่ติดกันมีค่า 310,410,900 ลูกบาศก์กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 3,646 เมตร จุดที่ลึกที่สุดคือปวยร์โตรีโกเทรนช์มีความลึก 8,486 เมตร (27,840 ฟุต).

มหาสมุทรแอตแลนติกและเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก · มหาสมุทรแอตแลนติกและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรใต้

มหาสมุทรใต้(2002). มหาสมุทรใต้ (Southern Ocean) หรือที่รู้จักกันในชื่อ มหาสมุทรแอนตาร์กติก (Antarctic Ocean) เป็นมหาสมุทรที่อยู่ล้อมรอบทวีปแอนตาร์กติกา มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของโลก และเป็นที่สุดท้ายที่องค์การอุทกศาสตร์สากล (International Hydrographic Organization) นิยามให้เป็นมหาสมุทรเมื่อปี พ.ศ. 2543 แม้ว่าจะเป็นที่ยอมรับกันมาก่อนหน้านั้นในหมู่ผู้ที่เกี่ยวข้องกับวงการสมุทรศาสตร์นานแล้ว โดยในอดีต มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย มีขอบเขตไกลลงไปถึงทวีปแอนตาร์กติกา มหาสมุทรใต้มีรูปร่างเป็นวงกลมล้อมรอบทวีปแอนตาร์กติกา นับจากละติจูด 60° ใต้ ลงไปถึงชายฝั่งแอนตาร์กติกา อย่างไรก็ตาม นิยามนี้ไม่ได้ใช้ตรงกันทั่วโลก ในประเทศออสเตรเลีย มหาสมุทรใต้ยังรวมถึงพื้นที่ที่เป็นผืนน้ำระหว่างชายฝั่งทางใต้ของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์กับทวีปแอนตาร์กติกา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแผนที่ชายฝั่งของเกาะทัสมาเนียและออสเตรเลียใต้ ที่ระบุพื้นที่นั้นว่าเป็น มหาสมุทรใต้ แทนที่จะเป็น มหาสมุทรอินเดีย ปัจจุบันไม่ค่อยเป็นที่ยอมรับกันของคนทั่วไป.

มหาสมุทรใต้และเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก · มหาสมุทรใต้และเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ลองจิจูด

ลองติจูด (longitude) หรือเดิมเรียกว่า เส้นแวง แทนด้วยอักษรกรีก λ เป็นพิกัดที่ใช้บอกตำแหน่งบนพื้นโลก โดยวัดไปทางตะวันออกหรือตะวันตกจากเส้นสมมติในแนวเหนือ-ใต้ที่เรียกว่าเส้นเมริเดียนแรก พิกัดที่ใช้คู่กัน คือ ละติจูด ลองติจูดมีหน่วยเป็นองศา นับจาก 0 องศาที่เส้นเมริเดียนแรกไปทางตะวันออก +180 องศา และไปทางตะวันตก −180 องศา ลองติจูดต่างจากละติจูด ตรงที่ละติจูดมีเส้นศูนย์สูตรเป็นเส้นอ้างอิงตามธรรมชาติ ลองติจูดจึงต้องกำหนดเส้นสมมติขึ้นมาหนึ่งเส้นสำหรับอ้างอิง ใน ค.ศ. 1884 การประชุมเมอริเดียนนานาชาติ (International Meridian Conference) จึงได้กำหนดให้เส้นเวลากรีนนิช เป็นเส้นเวลาไพร์มเมอริเดียน และเป็นลองติจูด 0 องศา หมวดหมู่:การเดินเรือ หมวดหมู่:ภูมิมาตรศาสตร์ *.

ลองจิจูดและเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก · ลองจิจูดและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

สฟาลบาร์

แผนที่สฟาลบาร์ สฟาลบาร์ (Svalbard; Шпицбе́рген, Свальбард) เป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรอาร์กติก ตั้งอยู่ทางเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ระหว่างนอร์เวย์และขั้วโลกเหนือ ตั้งแต่ละติจูด 74 ถึง 81 องศาเหนือ สฟาลบาร์เป็นส่วนหนึ่งของประเทศนอร์เวย์ โดยเป็นส่วนที่อยู่เหนือที่สุดของประเทศ มีประชากรอาศัยอยู่บนสามเกาะคือ สปิตส์เบอร์เกน บีเยอร์เนอยา และโฮเปน แรกเริ่ม สฟาลบาร์ได้ถูกใช้เป็นฐานล่าวาฬในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 หลังจากนั้นหมู่เกาะดังกล่าวได้ถูกปล่อยร้าง การทำเหมืองถ่านหินเริ่มต้นขึ้นเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 และชุมชนถาวรหลายแห่งได้รับการจัดตั้งขึ้น สนธิสัญญาสฟาลบาร์ ใน..

สฟาลบาร์และเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก · สฟาลบาร์และเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

สปิตส์เบอร์เกน

ปิตส์เบอร์เกน (Spitsbergen หรือเดิมชื่อ West Spitsbergen; นอร์เวย์: Vest Spitsbergen, Vestspitsbergen) เป็นเกาะใหญ่ที่สุดและเกาะเดียวที่มีคนอาศัยอยู่ในหมู่เกาะสฟาลบาร์ ประเทศนอร์เวย์ ตั้งอยู่ทางตะวันตกสุดของหมู่เกาะ ติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทะเลนอร์วีเจียน และทะเลกรีนแลนด์ เกาะมีพื้นที่ 39,044 ตร.กม.

สปิตส์เบอร์เกนและเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก · สปิตส์เบอร์เกนและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ทวีปยุโรปและเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก · ทวีปยุโรปและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ทวีปแอฟริกาและเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก · ทวีปแอฟริกาและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอนตาร์กติกา

วเทียมของทวีปแอนตาร์กติกา แอนตาร์กติกา (Antarctica) เป็นทวีปที่อยู่ใต้สุดของโลกตั้งอยู่ในภูมิภาคแอนตาร์กติกในซีกโลกใต้และเป็นที่ตั้งขั้วโลกใต้ทางภูมิศาสตร์ เกือบทั้งหมดอยู่ในวงกลมแอนตาร์กติกและล้อมลอบด้วยมหาสมุทรใต้ มีพื้นที่ประมาณ 14,000,000 ตารางกิโลเมตร เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของโลกใหญ่กว่าทวีปออสเตรเลียถึง 2 เท่า พื้นที่ 98% ของทวีปปกคลุมด้วยน้ำแข็งหนาเฉลี่ย 1.9 กิโลเมตร ซึ่งครอบคลุมพื้นที่เกือบจะถึงเหนือสุดของคาบสมุทรแอนตาร์กติก โดยค่าเฉลี่ยแล้วแอนตาร์กติกาเป็นทวีปที่หนาวที่สุด แห้งแล้งที่สุด ลมแรงที่สุดและมีความสูงโดยเฉลี่ยมากที่สุด แอนตาร์กติกาเป็นทะเลทรายที่มีหยาดน้ำฟ้าเฉลี่ย 200 มิลลิเมตรต่อปีตามแนวชายฝั่งและพื้นที่ภายใน แม้ว่าช่วงที่หนาวสุดของปีจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย −63 °C แต่อุณหภูมิอาจต่ำถึง −89.2 °C (และอาจถึง -94.7 ° C หากวัดจากอากาศ) บางสถานที่มีคนราว 1,000 ถึง 5,000 คนอาศัยในสถานีวิจัยที่กระจายอยู่ทั่วที้งทวีปตลอดทั้งปี สิ่งมีชีวิตในแอนตาร์กติกาจะเป็นพวกสาหร่าย แบคทีเรีย เห็ดรา พืช โพรทิสต์และสัตว์บางชนิดเช่นตัวเห็บ ตัวไร นีมาโทดา เพนกวิน สัตว์ตีนครีบและหมีน้ำส่วนพืชก็จะเป็นพวกทันดรา แม้ว่ามีตำนานเล่าขานเกี่ยวกับการมีอยู่ของดินแดนใต้ตั้งแต่ยุคโบราณ แอนตาร์กติกาถูกระบุว่าเป็นดินแดนสุดท้ายบนโลกในประวัติศาสตร์ที่ถูกค้นพบเพราะไม่มีใครเคยพบเลยจนกระทั่ง..

ทวีปแอนตาร์กติกาและเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก · ทวีปแอนตาร์กติกาและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลบอลติก

ทะเลบอลติก (Baltic Sea) ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปเหนือ ห้อมล้อมด้วยคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย แผ่นดินใหญ่ของภูมิภาคยุโรปเหนือ ภูมิภาคยุโรปตะวันออก ภูมิภาคยุโรปกลาง และหมู่เกาะของประเทศเดนมาร์ก ทะเลนี้เชื่อมเข้าสู่ช่องแคบแคตทีแกต (Kattegat) ผ่านทางช่องแคบเออเรซุนด์ (Öresund) ช่องแคบเกรตเบลต์ (Great Belt) และช่องแคบลิตเทิลเบลต์ (Little Belt) ซึ่งหากผ่านช่องแคบแคทีแกตต่อไปก็จะพบช่องแคบสแกเกอร์แรก (Skagerrak) ที่จะเข้าสู่ทะเลเหนือและมหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลบอลติกยังเชื่อมต่อกับทะเลขาวด้วยคลองไวต์ซี (White Sea) และเชื่อมต่อกับทะเลเหนือโดยผ่านทางคลองคีล (Kiel).

ทะเลบอลติกและเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก · ทะเลบอลติกและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลกรีนแลนด์

ูเขาน้ำแข็งในทะเลกรีนแลนด์ right ทะเลกรีนแลนด์ เป็นบริเวณผืนน้ำทางตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติก นับเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอาร์กติก แต่บางครั้งก็จัดรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติก แต่ในทางสมุทรศาสตร์จัดให้ทะเลกรีนแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของทะเลนอร์ดิกรวมกับทะเลนอร์เวย์และทะเลไอซ์แลนด์ ทะเลกรีนแลนด์มีอาณาเขตติดต่อกับเกาะกรีนแลนด์ทางทิศตะวันตก หมู่เกาะสฟาลบาร์ทางทิศตะวันออก ช่องแคบแฟรมและมหาสมุทรอาร์กติกทางทิศเหนือ ทะเลนอร์เวย์และไอซ์แลนด์ทางทิศใต้.

ทะเลกรีนแลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก · ทะเลกรีนแลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลติร์เรเนียน

ทะเลติร์เรเนียน (Mari Tirrenu, Mer Tyrrhénienne, Mare Tirreno, Mar Tirreno, Mari Tirrenu, Mare Tyrrhenum, Tyrrhenian Sea) เป็นทะเลส่วนหนึ่งของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน อยู่นอกชายฝั่งทางตะวันตกของแผ่นดินใหญ่ของประเทศอิตาลี ทางตอนเหนือของเกาะซิซิลี และทางตะวันออกของเกาะซาร์ดิเนียและเกาะคอร์ซิกา หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในประเทศอิตาลี หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในประเทศฝรั่งเศส.

ทะเลติร์เรเนียนและเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก · ทะเลติร์เรเนียนและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลนอร์วีเจียน

ทะเลนอร์เวย์ ทะเลนอร์วีเจียน (Norskehavet; Norwegian Sea) เป็นทะเลที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศนอร์เวย์ ระหว่างทะเลเหนือกับทะเลกรีนแลนด์ ทะเลนอร์วีเจียนติดกับตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตก และทางตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแบเร็นตส์ (Barents Sea) และแยกจากมหาสมุทรแอตแลนติกโดยสันใต้ทะเลที่แล่นระหว่างไอซ์แลนด์และหมู่เกาะแฟโร ทางตอนเหนือสันยานไมเอนแยกทะเลนอร์เวย์ออกจากทะเลกรีนแลนด์ ทะเลนอร์วีเจียนและทะเลกรีนแลนด์บางครั้งก็เรียกรวมกันว่า ทะเลนอร์ดิก.

ทะเลนอร์วีเจียนและเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก · ทะเลนอร์วีเจียนและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

วเทียมของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean Sea) เป็นทะเลระหว่างทวีป คั่นกลางทวีปยุโรปที่อยู่ทางเหนือ ทวีปแอฟริกาที่อยู่ทางใต้ และทวีปเอเชียที่อยู่ทางตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร คำในภาษาอังกฤษ Mediterranean มาจากภาษาละติน mediterraneus หมายถึง 'ภายในแผ่นดิน' (medius 'กลาง' terra 'แผ่นดิน, โลก') ในภาษากรีกใช้ว่า "mesogeios".

ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก · ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลเอเดรียติก

ทะเลเอเดรียติกจากดาวเทียม ทะเลเอเดรียติก (Adriatic Sea) เป็นทะเลที่แยกคาบสมุทรอิตาลีจากคาบสมุทรบอลข่าน และเทือกเขาแอเพนไนน์จากเทือกเขาดินาริกแอลป์และเทือกเขาที่ติดกัน ทะเลเอเดรียติกเป็นส่วนหนึ่งของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทางด้านตะวันตกของฝั่งทะเลคืออิตาลีขณะที่ฝั่งตะวันออกเป็นประเทศโครเอเชีย, มอนเตเนโกร, แอลเบเนีย, สโลวีเนีย และ บอสเนียและเฮอร์เซโกวีน.

ทะเลเอเดรียติกและเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก · ทะเลเอเดรียติกและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ขั้วโลกใต้

ั้วโลกใต้ (South Pole) เป็นจุดที่อยู่ทางทิศใต้สุดของโลก.

ขั้วโลกใต้และเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก · ขั้วโลกใต้และเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ขั้วโลกเหนือ

ั้วโลกเหนือภูมิศาสตร์ ขั้วโลกเหนือ (North Pole) เป็นจุดที่ถือว่าอยู่ทางเหนือที่สุดของโลก.

ขั้วโลกเหนือและเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก · ขั้วโลกเหนือและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ควีนม็อดแลนด์

วีนม็อดแลนด์ (Queen Maud Land) หรือ ดรอนนิงแมอุดลันด์ (Dronning Maud Land) เป็นส่วนหนึ่งของทวีปแอนตาร์กติกาที่นอร์เวย์อ้างกรรมสิทธิ์การครอบครองเมื่อวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นการอ้างที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากประชาคมนานาชาติและยังเป็นไปตามระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติกา ควีนม็อดแลนด์มีเนื้อที่ประมาณ 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร ส่วนใหญ่ปกคลุมด้วยน้ำแข็ง ตั้งชื่อตามพระนามของสมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์นอร์เวย์ หมวดหมู่:ทวีปแอนตาร์กติกา.

ควีนม็อดแลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก · ควีนม็อดแลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนแรก

แนวเส้นเมริเดียนแรกที่ลากผ่านเมืองกรีนิช เส้นเมริเดียนแรก (prime meridian) เป็นเส้นเมริเดียน (เส้นของลองติจูด) ที่ถูกกำหนดให้เป็น 0° การประชุมสากลทั่วโลกกำหนดให้เส้นเมริเดียนแรกในปัจจุบันลากผ่านเมืองกรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร เป็นที่รู้จักกันว่า เส้นเมริเดียนสากล หรือ เส้นเมริเดียนกรีนิช ในเมืองกรีนิชมีการตีเส้นถาวรที่ 0° เป็นแนวโลหะยาวตลอดทั้งเมือง ส่วนในอดีตเส้นเมริเดียนแรกเคยถูกกำหนดในตำแหน่งอื่น ๆ นอกจากกรีนิชมาแล้วไม่ต่ำกว่า 20 แห่ง เส้นเมริเดียนแรกเริ่มต้นจากขั้วโลกเหนือมุ่งหน้าไปทางใต้ ผ่านสหราชอาณาจักรที่เมืองกรีนิช ไปยังประเทศฝรั่งเศส ประเทศสเปน ประเทศอัลจีเรีย ประเทศมาลี ประเทศโตโก ประเทศกานา และผ่านอีกหลายจุดจนถึงขั้วโลกใต้เป็นเส้นตรงเดียวกัน.

เส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออกและเส้นเมริเดียนแรก · เส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออกและเส้นเมริเดียนแรก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออกและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก

เส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก มี 32 ความสัมพันธ์ขณะที่ เส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก มี 23 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 19, ดัชนี Jaccard คือ 34.55% = 19 / (32 + 23)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออกและเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันออก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: