ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เลดีกากาและแบดโรมานซ์
เลดีกากาและแบดโรมานซ์ มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บิลบอร์ดพ.ศ. 2552ดนตรีแดนซ์ป็อปเรดวันเทเลโฟนเดอะเฟมมอนสเตอร์
บิลบอร์ด
ลบอร์ด เป็นนิตยสารทางด้านเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเพลงฉบับหนึ่งในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีลักษณะของชาร์ทเพลงและอัลบั้ม ออกเป็นรายสัปดาห์ โดยนิตยสารฉบับนี้จะมีตารางจัดอันดับเพลงและอัลบั้มยอดนิยมตามแนวเพลงในแต่ละสัปดาห์ แต่ตารางอันดับเพลงซึ่งคนทั่วโลกเป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ "Billboard Hot 100" ชาร์ทเพลงอันดับ 1 ของโลก เป็นการจัดอันดับเพลง 100 อันดับ โดยไม่แบ่งประเภทหรือแนวเพลง และอีกตารางคือ "Billboard 200" ซึ่งเป็นการจัดอันดับอัลบั้มที่มียอดจำหน่ายสูงสุด 200 อัลบั้มตามผลสำรว.
บิลบอร์ดและเลดีกากา · บิลบอร์ดและแบดโรมานซ์ ·
พ.ศ. 2552
ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.
พ.ศ. 2552และเลดีกากา · พ.ศ. 2552และแบดโรมานซ์ ·
ดนตรีแดนซ์
ดนตรีแดนซ์ (dance music) เป็นดนตรีที่ประพันธ์ขึ้นโดยเฉพาะเพื่ออำนวยความสะดวกหรือเพื่อคลอไปกับการเต้นรำ ในด้านการแสดง ดนตรีแดนซ์แบ่งประเภทหลักเป็นดนตรีแดนซ์สดกับดนตรีแดนซ์ที่บันทึกไว้ ขณะที่มีหลักฐานยืนยันว่ามีการเต้นรำพร้อมกับดนตรีตั้งแต่ยุคโบราณ (ตัวอย่างเช่น แจกันสมัยกรีกโบราณแสดงนักเต้นรำร่วมกับนักดนตรี) ดนตรีแดนซ์ฝั่งตะวันตกยุคแรก ๆ คือการเต้นรำยุคกลางที่เหลือรอดมาได้ ในยุคบาโรก รูปแบบการเต้นรำหลัก ๆ คือการเต้นรำในราชสำนักคนชั้นสูง ดนตรีแดนซ์สมัยใหม่ได้เกิดขึ้นจากเพลงลีลาศแบบตะวันตกในปลายศตวรรษที่ 19 ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 การเต้นลีลาศได้เพิ่มความนิยมในหมู่ชนชั้นแรงงานที่มักเข้าร่วมงานเต้นรำสาธารณะ ดนตรีแดนซ์กลายเป็นที่นิยมอย่างมากในช่วงยุค 1920 ในยุค 1930 ดนตรีสวิงเป็นดนตรีแดนซ์ที่นิยมในอเมริกา ยุค 1950 ร็อกแอนด์โรลกลายเป็นดนตรีแดนซ์ที่นิยม ในช่วงปลายยุค 1960 มีการเกิดของแนวเพลงโซลและอาร์แอนด์บีและดิสโก้ในยุค 1970 ซึ่งทำให้ดนตรีแดนซ์เป็นที่นิยมมากในผู้คนทั่วไป มาถึงช่วงปลายยุค 1970 ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ได้รับการพัฒนามาเรี่อย ๆ โดยส่วนใหญ่ใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นรูปแบบของเพลงสมัยนิยมที่มักจะเปิดในไนต์คลับ สถานีวิทยุ คอนเสิร์ต หมวดหมู่:ดนตรีแดนซ์.
ดนตรีแดนซ์และเลดีกากา · ดนตรีแดนซ์และแบดโรมานซ์ ·
ป็อป
นตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (pop music พอปมิวสิก) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950S.
ป็อปและเลดีกากา · ป็อปและแบดโรมานซ์ ·
เรดวัน
รดวัน (Nadir Khayat) เกิดวันที่ 9 เมษายน..
เรดวันและเลดีกากา · เรดวันและแบดโรมานซ์ ·
เทเลโฟน
"เทเลโฟน" (Telephone) คือซิงเกิลที่สองของเลดี้ กาก้า ศิลปินชาวอเมริกันจากสตูดิโออัลบั้มลำดับที่สองของเธอ เดอะเฟมมอนสเตอร์ โดยร่วมงานขับร้องกับบียอนเซ่ โนวส์ นักร้องอารืแอนด์บีชาวอเมริกัน เดิมนั้นกาก้าประพันธ์เพลง "เทเลโฟน" ขึ้นเพื่อให้บริตนีย์ สเปียรส์ หากทว่ามิได้เป็นไปตามแผนการดังกล่าว กาก้าจึงนำเพลงนี้มาขับร้องเพลงเอง โดยร่วมกับบียอเซ่ แรงบันดาลใจหลักของการประพันธ์เพลงนี้คือความกลัวต่อภาวะหายใจไม่ออกของกาก้า เนื้อเพลงเป็นการพรรณนาเกี่ยวกับผู้ร้องเพลงเป็นผู้ที่ชื่นชอบการเต้นในฟลอร์มากกว่าการตอบโทรศัพท์คนที่รัก กาก้าอธิบายว่า telephone ในเนื้อเพลงนั้นเป็นบุคคลที่มีอยู่จริง ซึ่งคอยบอกให้เธอทำงานหนักขึ้น ดนตรีของบทเพลงประกอบด้วยบริดจ์, เวิร์ส-แรปที่ขยายออก และบทส่งท้ายที่ขาดการเชื่อมต่อกับบทเพลง โนวส์ร่วมขับร้องในส่วนท่อนกลางของเพลง ซึ่งเป็นในช่วงที่บทประพันธ์ต้องขับร้องอย่างรวดเร็วพร้อมเสียงดับเบิลบีตส์ "เทเลโฟน" ได้รับคำชื่นชมจากนักวิจารณ์แนวร่วมสมัยทั่วไป ซึ่งกล่าวว่าเป็นเพลงที่โดดเด่นจากอัลบั้ม เดอะเฟมมอนสเตอร์ มีคำวิจารณ์ที่เปรียบเทียบเพลงนี้กับ "จัสแดนส์" ซิงเกิลแรกของเธอ ซิงเกิลนี้ออกจำหน่ายเป็นซิงเกิลที่สองของอัลบั้มและขึ้นชาร์ตดิจิตอลดาวน์โหลดในหลายประเทศ ตามหลังการออกจำหน่ายอัลบั้มในสหรัฐอเมริกา, ออสเตรเลีย, แคนาดา, ไอร์แลนด์, เนเธอร์แลนด์, นิวซีแลนด์, สวีเดน, ฮังการี และสหราชอาณาจักร กาก้าเคยขับร้องเพลงนี้ในรูปแบบอคูสติกร่วมกับเพลง "แดนส์อินเดอะดาร์ก" ในงานประกาศรางวัลบริตประจำปี ค.ศ. 2010เพื่อรำลึกถึงอเล็กซานเดอร์ แม็กควีน และเพลงนี้ยังอยู่ในรายชื่อเพลงในการจัดคอนเสิร์ตเดอะมอนสเตอร์บอลทัวร์ในยุโรป กาก้าอธิบายมิวสิกวิดีโอว่าจะเป็นเรื่องราวตามต่อจากมิวสิกวิดีโอเพลง "ปาปารัสซี่" ซึ่งถ่ายทำเป็นลักษณะภาพยนตร์สั้น โดยกาก้าจะอยู่ในคุกและได้รับการประกันตัวโดยบียอนเซ่ พวกเธอไปยังร้านอาหารเล็กๆซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของเหตุการณ์ซึ่งทั้งสองได้ฆ่าแขกของร้านทั้งหมด ในตอนจบกาก้าและบียอนเซ่หลบหนีจากตำรวจ และคาราวะต่อเควนติน แทแรนติโนและภาพยนตร์ของเขาเรื่อง คิลบิล ในปี..
เทเลโฟนและเลดีกากา · เทเลโฟนและแบดโรมานซ์ ·
เดอะเฟมมอนสเตอร์
อะเฟมมอนสเตอร์ (The Fame Monster) เป็นอีพีลำดับที่สามของศิลปินหญิงชาวอเมริกัน เลดี้ กาก้า วางจำหน่ายครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2009 ในตอนแรก 8 แทร็คจากอัลบั้มนี้ตั้งใจที่จะเป็นเพิ่มลงในอัลบั้มชุดแรก The Fame แต่ต่อมาเธอประกาศว่าเพลงใหม่ทั้งหมดนี้จะถูกวางจำหน่ายแบบอัลบั้มเดี่ยว เนื่องจากการทำเพิ่มเพลงลงอัลบั้มเดิมมีค่าใช้จ่ายที่สูงเกินไป และเนื้อหาในอัลบั้มใหม่มีเนื้อหาที่แตกต่างจากอัลบั้ม The Fame และไม่มีความจำเป็นต้องใช้เพลงจากอัลบั้มแรกมาสนับสนุน 5 สัปดาห์ต่อมาในวันที่ 15 ธันวาคม 2009 ได้มีการวางจำหน่ายอัลบั้มเดอะเฟมมอนสเตอร์ รุ่นดีลักซ์ที่มี 2 ซีดีจากเดอะเฟมมอนสเตอร์และ The Fame ที่มาในรูปแบบโบนัสดิสก์ เดอะเฟมมอนสเตอร์มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับด้านมืดของความโด่งดังที่เลดี้กาก้าพบเจอจากประสบการณ์จริงระหว่างทัวร์คอนเสิร์ตปี 2008-2009 ผ่านคำเปรียบเทียบ "Monster-ปีศาจ" และเปรียบเทียบความรู้สึกต่อเดอะเฟมมอนสเตอร์กับ The Fame ว่าต่างกันเหมือนกับหยินหยาง เธอรบเร้าให้ต้นสังกัดอนุญาตให้เธอถ่ายภาพปกอัลบั้มในสไตล์โกธิคที่มืดหม่น โดยมีเฮดิ ซลิมาน เป็นช่างภาพ เพลงในอัลบั้มได้รับอิทธิพลจากเพลงโกธิคและแฟชั่นโชว์ เพลง Bad Romance, Telephone และ Dance in the Dark ต่างเป็นเพลงที่ได้รับคำวิจารณ์ในทางบวก บางประเทศอีพีนี้ขึ้นชาร์ตคู่กับอัลบั้ม The Fame ยกเว้นสหรัฐอเมริกา, แคนาดา และญี่ปุ่นที่ขึ้นชาร์ตเป็นอัลบั้มเดี่ยวเท่านั้น เดอะเฟมมอนสเตอร์ขึ้นชาร์ตอันดับหนึ่งในออสเตรเลีย เยอรมนี ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ โปแลนด์ และสหราชอาณาจักร Bad Romance ถูกปล่อยเป็นซิงเกิลแรก และสามารถขึ้นชาร์ตอัลบั้มขายดีที่อันดับหนึ่งในประเทศแคนาดา สหราชอาณาจักร และไอร์แลนด์ ติดชาร์ตอันดับที่ 2 ของออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และสวีเดน ซิงเกิลต่อมาคือ Telephone และ Alejandro ก็สามารถติดชาร์ตหนึ่งในสิบอันดับแรกของสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา ในวันที่ 22 พฤศจิกายน 2009 4 วันหลังประกาศจำหน่ายอัลบั้มใหม่ เลดี้กาก้าประกาศทัวร์คอนเสิร์ตครั้งที่สองของเธอในชื่อว่า The Monster Ball Tour และจะสิ้นสุดในเดือนพฤษภาคม 2011 นี้ เดอะเฟมมอนสเตอร์ได้รับการเสนอชื่อให้เข้าชิงรางวัลแกรมมี่อวอร์ดทั้งสิ้น 6 สาขารางวัล 2 ใน 6 รางวัลที่เข้าชิง ได้แก่รางวัลอัลบั้มแห่งปีและรางวัลอัลบั้มเพลงป็อบยอดเยี่ยม.
เดอะเฟมมอนสเตอร์และเลดีกากา · เดอะเฟมมอนสเตอร์และแบดโรมานซ์ ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ เลดีกากาและแบดโรมานซ์ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง เลดีกากาและแบดโรมานซ์
การเปรียบเทียบระหว่าง เลดีกากาและแบดโรมานซ์
เลดีกากา มี 146 ความสัมพันธ์ขณะที่ แบดโรมานซ์ มี 26 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 4.07% = 7 / (146 + 26)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เลดีกากาและแบดโรมานซ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: