เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เพ็ญพักตร์ ศิริกุลและโจว เหวินฟะ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เพ็ญพักตร์ ศิริกุลและโจว เหวินฟะ

เพ็ญพักตร์ ศิริกุล vs. โจว เหวินฟะ

็ญพักตร์ ศิริกุล (ชื่อเล่น: ต่าย เกิดเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2504) เป็นนักแสดง, นางแบบ และนักร้องชาวไทย โด่งดังจากการถ่ายแบบเปลือ. ว เหวินฟะ ในเรื่อง ศึกโค่นบัลลังก์วังทอง (เข้าฉาย 1 กุมภาพันธ์ 2550) โจว เหวินฟะ (Chow Yun fat; เกิด 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2498 ที่เกาะลัมมา ฮ่องกง) เป็นหนึ่งในสุดยอดนักแสดงฮ่องกงที่ได้ก้าวเข้าสู่วงการภาพยนตร์นานาชาติ ในฐานะเดียวกับ บรูซ ลี และ เฉินหลง โจว เหวินฟะ เป็นนักแสดงที่มีบุคลิกโดดเด่น ได้รับการเปรียบว่าคล้ายคลึงกับแครี แกรนท์ นักแสดงฮอลลีวูดแต่ดูบึกบึนและจัดจ้านกว่า โจว เหวินฟะ เกิดบนเกาะลัมมา นอกชายฝั่งของเกาะฮ่องกง มีชีวิตวัยเด็กที่ยากไร้ แต่โชคดีที่เขาได้เรียนจนจบวิทยาลัย ชีวิตของเขาถึงจุดพลิกผันเมื่อได้รับเข้าเป็นนักแสดงฝึกหัดในบริษัททีวีบี ที่เป็นสถานีโทรทัศน์ท้องถิ่น เขาใช้เวลาไม่นานในการไต่เต้าขึ้นมาเป็นนักแสดงที่เป็นที่รู้จักของประชาชน หลังจากที่ละครโทรทัศน์เรื่องเจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้ (ภาษาจีน:上海灘 พินอิน:Shang Hai tan - แปลตรงตัวว่า'หาดเซี่ยงไฮ้') ประสบความสำเร็จใน พ.ศ. 2523 แม้ว่าโจว เหวินฟะ จะประสบความสำเร็จจากผลงานทางจอแก้วอย่างต่อเนื่อง ความฝันอันสูงสุดของเขายังคงเป็นการได้แสดงภาพยนตร์ทางจอเงิน แต่อย่างไรก็ดี การได้ไปโลดแล่นทางหนังจอเงินของเขาบางครั้งบางคราวในภาพยนตร์ต้นทุนต่ำ กลับกลายเป็นความหายนะ เขาประสบความสำเร็จในที่สุดเมื่อได้ร่วมงานกับจอห์น วู ผู้กำกับหน้าใหม่ที่ไม่มีใครรู้จักในขณะนั้น ในภาพยนตร์บู๊ต้นทุนต่ำเรื่อง โหด เลว ดี ในปีพ.ศ. 2529 ขึ้นอับดับสูงในการจัดอันดับหนังทำเงินในหลายประเทศในเอเชีย และส่งให้จอห์น วู และโจว เหวินฟะ กลายเป็นสุดยอดดารา โจว เหวินฟะได้ถือโอกาสนี้ล้างมือจากวงการโทรทัศน์และอุทิศตนให้กับการแสดงภาพยนตร์กังฟูมากขึ้น ภาพยนตร์เรื่องต่อมาของเขาเป็นเรื่องเกี่ยวกับการนองเลือดของวีรบุรุษ เรื่อง โหดตัดโหด (พ.ศ. 2532) และ ทะลักจุดแตก (พ.ศ. 2535) และภาพยนตร์รักโรแมนติกเรื่อง ดอกไม้กับนายกระจอก (พ.ศ. 2530) อย่างไรก็ตาม เขาสร้างชื่อมากที่สุดจากบทของบุรุษแกร่งผู้ทรงเกียรติ ไม่ว่าจะเป็นตำรวจหรืออาชญากร เขาได้ร่วมแสดงกับหลิวเต๋อหัว ในภาพยนตร์เรื่อง คนตัดคน (พ.ศ. 2532) กำกับโดย หวังจิ่ง ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้สร้างความประหลาดใจให้แก่คนจำนวนมาก และได้กลายเป็นภาพยนตร์ที่โด่งดังมากในฮ่องกง ทำลายสถิติหนังทำเงินทุกเรื่องที่มีมา และเป็นที่มาของภาพยนตร์แนวเจ้าพ่อพนันจำนวนมาก รวมถึงเรื่อง คนตัดเซียน ภาคต่อในแบบตลกขบขันที่มี โจวซิงฉือ แสดงนำ โจว เหวินฟะนอกจากจะเป็นดาราที่ร้อนแรงที่สุดในฮ่องกงคนหนึ่งแล้ว เขายังถูกฮอลลีวูดเรียกตัวไปเพื่อพยายามปั้นให้เขาประสบความสำเร็จในระดับนานาชาติอย่างเดียวกันกับในฮ่องกงและเอเชีย แต่คราวนี้ภาพยนตร์ฮอลลีวูดสองเรื่องแรกของเขา คือ นักฆ่ากระสุนโลกันต์ (พ.ศ. 2541) กำกับโดยอังตวน ฟูควา และคนคอรัปชั่น (พ.ศ. 2542) ไม่ประสบความสำเร็จในบ็อกซ์ออฟฟิศเท่าที่ควร ภาพยนตร์เรื่องต่อมาคือ แอนนา แอนด์ เดอะ คิง (พ.ศ. 2542) ที่ถูกแบนห้ามฉายในประเทศไทย ทำได้ดีกว่าเดิม แต่ความสำเร็จกลับตกอยู่กับดาราสาวโจดี ฟอสเตอร์เสียส่วนใหญ่ และราวกับเป็นเรื่องประชดแดกดัน เมื่อ โจว เหวินฟะ ยอมเล่นเป็นดาราสมทบในภาพยนตร์เรื่อง พยัคฆ์ระห่ำ มังกรผยองโลก (พ.ศ. 2543) กำกับโดยอั้ง ลี่ หนังเรื่องนี้กลับประสบความสำเร็จอย่างถล่มทลาย ได้ขึ้นอันดับหนังทำเงินสูงสุดในสหรัฐ และยังได้รับรางวัลออสการ์ถึงสี่สาขาด้วยกัน (ภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม ดนตรีประกอบยอดเยี่ยม ถ่ายภาพยอดเยี่ยม และ กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม) โจว เหวินฟะ ยังคงรอคอยกับความสำเร็จแบบเดียวกับที่เขาได้เคยลิ้มรสในฮ่องกง ครั้งหนึ่ง เขาเคยให้สัมภาษณ์กับผู้สื่อข่าวยอมรับว่า เป้าหมายสูงสุดของเขาคือการได้รางวัลออสการ์ ในฐานะดารานำยอดเยี่ยมฝ่ายชาย และเมื่อมีคนถามว่าเขาจะทำอย่างไรหากมันไม่เป็นจริงขึ้นมา โจว เหวินฟะตอบเพียงว่า "ผมก็คงต้องหัวเราะกับมัน..." งานอดิเรกที่โจว เหวินฟะโปรดปรานคือการ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เพ็ญพักตร์ ศิริกุลและโจว เหวินฟะ

เพ็ญพักตร์ ศิริกุลและโจว เหวินฟะ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2546พ.ศ. 2555ประเทศไทย

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

พ.ศ. 2546และเพ็ญพักตร์ ศิริกุล · พ.ศ. 2546และโจว เหวินฟะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

พ.ศ. 2555และเพ็ญพักตร์ ศิริกุล · พ.ศ. 2555และโจว เหวินฟะ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและเพ็ญพักตร์ ศิริกุล · ประเทศไทยและโจว เหวินฟะ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เพ็ญพักตร์ ศิริกุลและโจว เหวินฟะ

เพ็ญพักตร์ ศิริกุล มี 122 ความสัมพันธ์ขณะที่ โจว เหวินฟะ มี 66 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 1.60% = 3 / (122 + 66)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เพ็ญพักตร์ ศิริกุลและโจว เหวินฟะ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: