โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เผ่าดานและเผ่าเลวี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เผ่าดานและเผ่าเลวี

เผ่าดาน vs. เผ่าเลวี

ผ่าดาน เป็น 1 ในบรรดา 12 เผ่าของอิสราเอล ตามบันทึกในพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม ในหมวดพระธรรมเบญจบรรณ และตามพระคัมภีร์โตราห์ในศาสนายูดาย ดาน เป็นชื่อของบุตรชายคนที่ 5 ของยาโคบ หรือ อิสราเอล ซึ่งเกิดกับ นางบิลฮาห์ สาวใช้ของนางราเชล. ผ่าเลวี (Levites) เป็น 1 ในบรรดา 12 เผ่าของวงศ์วานอิสราเอล ตามบันทึกในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม ในหมวดเบญจบรรณ และตามพระคัมภีร์โทราห์ของศาสนายูดาห์ เลวีมาจากชื่อของบุตรชายคนที่ 3 ของยาโคบ (อิสราเอล) กับนางเลอาห์ ภรรยาคนแรก เลวีเป็นเผ่าเดียวที่พระยาห์เวห์ทรงยกเว้นไม่ให้ได้รับมรดกจากแผ่นดินคานาอัน แต่ให้มีหน้าที่เป็นปุโรหิตและผู้ปฏิบัติงานในสถานนมัสการ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เผ่าดานและเผ่าเลวี

เผ่าดานและเผ่าเลวี มี 14 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พันธสัญญาเดิมยาโคบศาสนายูดาห์หนังสือกันดารวิถีหนังสือปฐมกาลหนังสือโยชูวาคัมภีร์ไบเบิลคานาอันโมเสสโทราห์เผ่ากาดเผ่ามนัสเสห์เผ่ารูเบนเผ่าเอฟราอิม

พันธสัญญาเดิม

ันธสัญญาเดิม (Old Testament) เป็นศัพท์ศาสนาคริสต์ใช้เรียกคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งเป็นชุดคัมภีร์ของชาววงศ์วานอิสราเอลโบราณ ที่รวมกันเป็นส่วนแรกของคัมภีร์ไบเบิลในศาสนาคริสต์ จำนวนหนังสือในพันธสัญญาเดิมจะแตกต่างกันตามแต่ละนิกายในศาสนาคริสต์ นิกายโปรเตสแตนต์ยอมรับเฉพาะหนังสือ 24 เล่มในคัมภีร์ทานัคว่าเป็นพันธสัญญาเดิม แต่แบ่งใหม่เป็น 39 เล่ม ส่วนนิกายโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ คอปติกออร์ทอดอกซ์ และคริสตจักรแห่งเอธิโอเปีย มีจำนวนหนังสือที่รับเข้าในสารบบพันธสัญญาเดิมของตนมากกว.

พันธสัญญาเดิมและเผ่าดาน · พันธสัญญาเดิมและเผ่าเลวี · ดูเพิ่มเติม »

ยาโคบ

ป็นบุตรคนที่สองของอิสอัค กับนางเรเบคาห์ ยาโคบมีพี่ชายฝาแฝดชื่อ เอซาว แต่ทั้งสองแตกต่างกัน เอซาว ตัวแดงมีขนทั่วตัว เป็นนายพรานมือแม่น เป็นที่รักของอิสอัค ขณะที่ยาโคบ เป็นเด็กเงียบ ๆ อยู่กับบ้าน แต่เป็นที่รักของนางเรเบคาห์ ผู้เป็นแม.

ยาโคบและเผ่าดาน · ยาโคบและเผ่าเลวี · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนายูดาห์

นายูดาห์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 281 หรือศาสนายิว (Judaism; יהדות) คือวิถีชีวิต ปรัชญา และศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ตามความเชื่อของชาวยิวLewis (1984), pp.10, 20 มีต้นกำเนิดในคัมภีร์ฮีบรู (หรือคัมภีร์ทานัค) รวมถึงคัมภีร์ชั้นหลัง เช่น คัมภีร์ทาลมุด ศาสนิกชนยูดาห์ถือว่าวิถีนี้ เป็นพันธสัญญาระหว่างพระยาห์เวห์กับวงศ์วานอิสราเอล ศาสนายูดาห์แบบรับบีถือว่าพระยาห์เวห์ได้ประทานธรรมบัญญัติที่เรียกว่าคัมภีร์โทราห์แก่โมเสสที่ภูเขาซีนาย ศาสนายูดาห์มีพระเจ้าสูงสุด คือ พระยาห์เวห์ โดยชาวยิวมีความเชื่อว่าพระเจ้าทรงสร้างโลกและมนุษย์คู่แรกเมื่อประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสตกาล และถือว่าโมเสสคือศาสดา ให้กำเนิดศาสนายูดาห์เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล และยังมีบุคคลสำคัญ เช่น อับราฮัม อิสอัค ยาโคบ ยูดาห์ ผู้เผยพระวจนะท่านอื่น ๆ อีกจำนวนมาก ฯลฯ เป็นต้น ศาสนายูดาห์มีความเป็นมายาวนานกว่าสี่พันปี (นับจากสมัยอับราฮัม) จึงถือเป็นศาสนาเอกเทวนิยมที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังดำรงอยู่ในปัจจุบัน ในคัมภีร์ทานัคที่เขียนขึ้นในยุคหลัง เช่น หนังสือเอสเธอร์ เรียกชาวฮีบรูหรือวงศ์วานอิสราเอลว่าชาวยิว คัมภีร์ของศาสนายูดาห์ยังมีอิทธิพลอย่างมากต่อกลุ่มศาสนาอับราฮัมยุคหลังด้วย คือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาบาไฮ รวมทั้งมีอิทธิพลต่อจริยธรรมและระบบซีวิลลอว์ตะวันตกทั้งทางตรงและทางอ้อม ชาวยิวเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ศาสนา ซึ่งหมายรวมทั้งที่เป็นชาวยิวโดยกำเนิดและและคนที่เข้ารีตยิว ในปี..

ศาสนายูดาห์และเผ่าดาน · ศาสนายูดาห์และเผ่าเลวี · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือกันดารวิถี

หนังสือกันดารวิถี (Book of Numbers; במדבר; Αριθμοί) เป็นหนังสือเล่มที่ 4 ในเบญจบรรณ เนื้อหาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของวงศ์วานอิสราเอลที่ต่อเนื่องมาจากหนังสืออพยพ หนังสือกันดารวิถีแปลมาจากคัมภีร์ฮีบรู (במדבר ba-midbar) ซึ่งแปลว่า "ในถิ่นทุรกันดาร..." ซึ่งเป็นคำแรกของคัมภีร์ฉบับนี้ แต่ในภาษาอังกฤษ ใช้ชือว่า The Book of Numbers เนื่องจากหนังสือเล่มนี้ได้กล่าวถึงการทำสำมะโนประชากรอิสราเอลถึงสองครั้ง ที่ภูเขาซีนาย และที่โมอับ ในขณะที่ภาษาไทยใช้ชื่อว่า "หนังสือกันดารวิถี" เนื่องจากหนังสือเล่มนี้กล่าวถึงพงศาวดารของอิสราเอลช่วงที่ต้องใช้ชีวิตในถิ่นทุรกันดาร (ทะเลทราย) เป็นเวลา 40 ปี ก่อนจะได้เข้าสู่แผ่นดินคานาอัน เนื้อหาในหนังสือกันดารวิถีนี้ จะแบ่งส่วนสำคัญออกได้เป็น ส่วน.

หนังสือกันดารวิถีและเผ่าดาน · หนังสือกันดารวิถีและเผ่าเลวี · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือปฐมกาล

หนังสือปฐมกาล (Book of Genesis; בראשית; ܣܦܪܐ ܕܒܪܝܬܐ; Γένεση) มาจากภาษากรีกว่า “การเกิด” หรือ “ที่มา” เป็นหนังสือที่กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโลก มนุษย์ และอิสราเอล ซึ่งเป็นตัวแทนของชนชาติที่พระเจ้าได้เลือกไว้ (ซึ่งมีความนัยทางเทววิทยา) ชื่อ "ปฐมกาล" แปลมาจากคำแรกของคัมภีร์ฮีบรูคำว่า בראשית (B'reshit or Bərêšîth) แปลว่า "ในปฐมกาล..." (in the begining...).

หนังสือปฐมกาลและเผ่าดาน · หนังสือปฐมกาลและเผ่าเลวี · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือโยชูวา

หนังสือโยชูวา (Book of Joshua; ספר יהושע; Ιησούς του Ναυή) เป็นหนังสือเล่มที่ 6 ในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม และเป็นบันทึกถึงประวัติศาสตร์อิสราเอลในช่วงอายุของโยชูวา ซึ่งรับบทบาทเป็นผู้นำอิสราเอลต่อจากโมเสส กล่าวถึงการยึดครองแผ่นดินคานาอัน อันเป็นแผ่นดินพันธสัญญาที่พระเจ้าทรงประทานให้แก่อับราฮัม การแบ่งดินแดนคานาอัน ตามที่โมเสสได้บัญชาไว้ และสิ้นสุดเมื่อโยชูวาเสียชีวิต เชื่อกันว่า "โยชูวา" เป็นผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ด้วยตัวของท่านเอง ยกเว้นในบทสุดท้ายที่กล่าวถึงมรณกรรมของโยชูวา และเอเลอาซาร์ น่าจะถูกบันทึกโดยบุตรชายของเอเลอาซาร.

หนังสือโยชูวาและเผ่าดาน · หนังสือโยชูวาและเผ่าเลวี · ดูเพิ่มเติม »

คัมภีร์ไบเบิล

ัมภีร์ไบเบิลกูเทนแบร์ก คัมภีร์ไบเบิลฉบับพิมพ์ครั้งแรก คัมภีร์ไบเบิลราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 99 (Bible; ביבליה; ܟܬܒܐ ܩܕܝܫܐ; Αγία Γραφή) (มาจากภาษากรีกโบราณว่า Βίβλος บิบลิออน แปลว่า หนังสือ) ชาวโปรเตสแตนต์เรียกว่า พระคริสตธรรมคัมภีร์ (Holy Bible) เรียกโดยย่อว่า พระคัมภีร์ เป็นหนังสือที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับพระยาห์เวห์ มนุษย์ ความบาป และแผนการของพระเจ้าในการช่วยมนุษย์ให้รอดพ้นจากความพินาศอันเนื่องจากความบาปสู่ชีวิตนิรันดร์ เป็นหนังสือที่บันทึกหลักธรรมคำสอนของศาสนาคริสต์ ซึ่งในบางเล่มมีพื้นฐานมาจากหลักคำสอนของศาสนายูดาห์ของชาวยิว ชาวคริสต์เรียกคัมภีร์ไบเบิลในชื่ออื่น ๆ อีกหลายชื่อเช่น พระวจนะของพระเจ้า (Word of God) หนังสือดี (Good Book) และคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ (Holy Scripture) คริสตชนทุกคนเชื่อว่าพระคัมภีร์ทุกบททุกข้อนั้นมนุษย์เขียนขึ้นโดยการดลใจจากพระเจ้า ประกอบด้วยหนังสือจำนวน 66 หรือ 73 หรือ 78 เล่ม (แล้วแต่นิกาย) ประกอบด้วยภาคพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ พันธสัญญาเดิมถูกเขียนขึ้นก่อนที่พระเยซูคริสต์ประสูติ ทั้งหมดเขียนเป็นภาษาฮีบรู ยกเว้นส่วนที่เป็นคัมภีร์อธิกธรรม (ยอมรับเฉพาะชาวคาทอลิก) ถูกเขียนด้วยภาษากรีกและภาษาอียิปต์ ส่วนพันธสัญญาใหม่ถูกเขียนขึ้นหลังจากพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์แล้ว โดยบันทึกถึงเรื่องราวของพระเยซูตลอดพระชนม์ชีพ รวมทั้งคำสอน และการประกาศข่าวดีแห่งความรอด การยอมรับการทรมาน และการไถ่บาปของมนุษย์โดยพระเยซู การกลับคืนชีพอย่างรุ่งโรจน์ การส่งพระวิญญาณบริสุทธิ์มายังอัครทูต ประวัติศาสตร์ของคริสตจักรในยุคแรกเริ่ม ภายหลังการกลับคืนพระชนม์ชีพของพระเยซูแล้ว การเบียดเบียนคริสตจักรในรูปแบบต่าง ๆ พระคัมภีร์เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนังสือที่ขายดีที่สุดของเวลาทั้งหมดที่มียอดขายต่อปีประมาณ 100 ล้านเล่มและได้รับอิทธิพลสำคัญในวรรณคดีและประวัติศาสตร.

คัมภีร์ไบเบิลและเผ่าดาน · คัมภีร์ไบเบิลและเผ่าเลวี · ดูเพิ่มเติม »

คานาอัน

แผนที่ประเทศอิสราเอลปัจจุบัน ตามคัมภีร์ฮีบรู คานาอันคือบริเวณที่ล้อมรอบด้วยเส้นสีแดง คานาอัน (ฟินิเชีย: 𐤊‏𐤍‏𐤏‏𐤍‏, Kana'n; כְּנָעַן‎ kna-an; كنعان Kanaʿān) คือ ดินแดนของชนเผ่าที่พูดภาษาเซมิติกราวปลายสหัสวรรตที่ 2 ก่อนคริสต์กาล ปัจจุบันครอบคลุมพื้นที่ลิแวนต์ใต้ในตะวันออกกลาง ตรงกับบริเวณที่ตั้งประเทศอิสราเอล เลบานอน ดินแดนปาเลสไตน์ และบางส่วนของประเทศซีเรียและประเทศอียิปต์ มีชายฝั่งทางทิศตะวันตกจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คำว่า คานาอัน ปรากฏอยู่บ่อยครั้งในคัมภีร์ไบเบิ้ล หรือพันธสัญญาเดิม โดยบรรยายว่าเป็นดินแดนที่พระยาห์เวห์สัญญามอบให้แก่วงศ์วานอิสราเอล หมวดหมู่:ตะวันออกกลาง หมวดหมู่:อาณาจักรโบราณ.

คานาอันและเผ่าดาน · คานาอันและเผ่าเลวี · ดูเพิ่มเติม »

โมเสส

มเสสกับแผ่นจารึก, พ.ศ. 2202 (1659), โดยแร็มบรันต์ โมเสสเมื่อลงมาหลังจากเข้าเฝ้าพระเจ้าที่ภูเขาซีนาย, พ.ศ. 2181 (1638), โดย ไรเบรา เดอ โจเซ รูปปั้นของโมเสส โดยมีเกลันเจโล โมเสส (ศัพท์ศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์) หรือ มูซา (ศัพท์ศาสนาอิสลาม) (Moses; מֹשֶׁה; موسى มูซา) เป็นผู้บัญญัติกฎและผู้เผยพระวจนะแก่วงศ์วานอิสราเอล ซึ่งเป็นที่มาของคัมภีร์โทราห์ในศาสนายูดาห์ หรือคัมภีร์เบญจบรรณในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมของศาสนาคริสต์ อีกทั้งยังเป็นเราะซูลของอัลลอฮ์ตามคติของศาสนาอิสลาม และเป็นศาสดาตามคติของศาสน.

เผ่าดานและโมเสส · เผ่าเลวีและโมเสส · ดูเพิ่มเติม »

โทราห์

ทราห์ (Torah; תּוֹרָה โทราห์; التوراة เตารอต; Τορά) เป็นชื่อของชุดคัมภีร์ชุดแรกในคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งประกอบด้วยหนังสือ 5 เล่มแรกในศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ หมายถึง บทบัญญัติ ซึ่งในคัมภีร์ไบเบิลภาษาไทยแปลว่า ธรรมบัญญัติ หรือ พระบัญญัติ ภายหลังได้มีการแปลเป็นภาษากรีกจึงมีชื่อเรียกใหม่ว่า เบญจบรรณ (Pentateuch) หมายถึง ที่บรรจุห้าอัน คือหนังสือ 5 เล่มแรกของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม ได้แก.

เผ่าดานและโทราห์ · เผ่าเลวีและโทราห์ · ดูเพิ่มเติม »

เผ่ากาด

ผ่ากาด เป็น 1 ในบรรดา 12 เผ่าของอิสราเอล ตามบันทึกในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม ในหมวดเบญจบรรณ และตามคัมภีร์โทราห์ในศาสนายูดาห์ กาด เป็นชื่อของบุตรชายคนที่ 7 ของยาโคบ หรือ อิสราเอล ซึ่งเกิดกับ นางศิลปาห์ สาวใช้ของนางเลอาห.

เผ่ากาดและเผ่าดาน · เผ่ากาดและเผ่าเลวี · ดูเพิ่มเติม »

เผ่ามนัสเสห์

มนัสเสห์ เป็นบุตรชายคนโต ของโยเซฟ และนางอาเสนัท ก่อนที่ยาโคบ และครอบครัวของท่านจะย้ายเข้ามายังอียิปต์ ด้วยเหตุนี้ ยาโคบจึงยกให้บุตรชายทั้งสองคนของโยเซฟ เทียบเท่าบุตรชายคนอื่น ๆ ของตน ดังนั้นในอิสราเอลจึงมี 12 เผ่าตามจำนวนบุตรชายของยาโคบ แต่จะนับพงศ์พันธุ์ของโยเซฟ ออกเป็น 2 เผ่า คือ เอฟราอิม และมนัสเสห์ คำว่า มนัสเสห์ มีรากศัพท์มาจากภาษาฮีบรู แปลว่า การทำให้ลืม เพราะเมื่อมีบุตรคนนี้ โยเซฟ ได้กล่าวว่า "เพราะว่าพระเจ้าโปรดให้ข้าพเจ้าลืมความยากลำบากทั้งปวง และบรรดาพงศ์พันธุ์ของบิดาเสีย".

เผ่าดานและเผ่ามนัสเสห์ · เผ่ามนัสเสห์และเผ่าเลวี · ดูเพิ่มเติม »

เผ่ารูเบน

ผ่ารูเบน เป็น 1 ในบรรดา 12 เผ่าของอิสราเอล ตามบันทึกในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม ในหมวดเบญจบรรณ และตามคัมภีร์โทราห์ในศาสนายูดาห์ รูเบน เป็นชื่อของบุตรชายคนโตของยาโคบ หรือ อิสราเอล กับนางเลอาห์ ภรรยาคนแรกของ.

เผ่าดานและเผ่ารูเบน · เผ่ารูเบนและเผ่าเลวี · ดูเพิ่มเติม »

เผ่าเอฟราอิม

อฟราอิม เป็นบุตรชายคนที่สอง ของโยเซฟ และนางอาเสนัท ก่อนที่ยาโคบ และครอบครัวของท่านจะย้ายเข้ามายังอียิปต์ ด้วยเหตุนี้ ยาโคบจึงยกให้บุตรชายทั้งสองคนของโยเซฟ เทียบเท่าบุตรชายคนอื่น ๆ ของตน ดังนั้นในอิสราเอลจึงมี 12 เผ่าตามจำนวนบุตรชายของยาโคบ แต่จะนับพงศ์พันธุ์ของโยเซฟ ออกเป็น 2 เผ่า คือ เอฟราอิม และมนัสเสห์ คำว่า เอฟราอิม มีรากศัพท์มาจากภาษาฮีบรู แปลว่า มีลูกดก ทั้งนี้เนื่องจากเมื่อมีบุตรคนที่สองนี้ โยเซฟ ได้กล่าวว่า "เพราะว่าพระเจ้าโปรดให้ข้าพเจ้ามีพงศ์พันธุ์ทวีขึ้นในดินแดนที่ข้าพเจ้าได้รับความทุกข์ใจ".

เผ่าดานและเผ่าเอฟราอิม · เผ่าเลวีและเผ่าเอฟราอิม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เผ่าดานและเผ่าเลวี

เผ่าดาน มี 18 ความสัมพันธ์ขณะที่ เผ่าเลวี มี 28 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 14, ดัชนี Jaccard คือ 30.43% = 14 / (18 + 28)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เผ่าดานและเผ่าเลวี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »