สารบัญ
105 ความสัมพันธ์: ชาติชาย ชุณหะวัณฟอบส์ฟุตบอลพรรคชาติไทยพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยพรรคประชาธิปัตย์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระรัตนธัชมุนี (แบน คณฺฐาภรโณ)พลอากาศเอกพลเรือเอกพลเอกพะเนียง กานตรัตน์พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยพิจิตร กุลละวณิชย์กบฏยังเติร์กกบฏทหารนอกราชการกรมราชเลขานุการในพระองค์กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กรณีพิพาทอินโดจีนกองอาสารักษาดินแดนกองทัพบกไทยกองทัพอากาศไทยกองทัพเรือไทยภาคอีสาน (ประเทศไทย)มวยรัฐบุรุษรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521รัฐประหารรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549รัฐเคนทักกีราชกิจจานุเบกษารายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยรายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทยวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553วิจิตร สุขมากสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสฤษดิ์ ธนะรัชต์สะพานติณสูลานนท์สัญญา ธรรมศักดิ์สุรยุทธ์ จุลานนท์สุริยะใส กตะศิลาสงัด ชลออยู่สงครามแปซิฟิกสงครามโลกครั้งที่สอง... ขยายดัชนี (55 มากกว่า) »
- นายกรัฐมนตรีไทย
- นายพลชาวไทย
- บุคคลจากจังหวัดสงขลา
- ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ของไทย
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.จ. (ฝ่ายหน้า)
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ภ.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ส.ร.
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมไทย
- องคมนตรี
ชาติชาย ชุณหะวัณ
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และชาติชาย ชุณหะวัณ
ฟอบส์
อดีตอาคารสำนักงานใหญ่นิตยสารฟอบส์ในนครนิวยอร์ก ฟอบส์ (Forbes) เป็นชื่อของนิตยสารเกี่ยวกับธุรกิจและการเงินในสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี ค.ศ.
ฟุตบอล
ฟุตบอล หรือ ซอกเกอร์ เป็นกีฬาประเภททีมที่เล่นระหว่างสองทีมโดยแต่ละทีมมีผู้เล่น11คน โดยใช้ลูกบอล เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายว่าเป็นกีฬาที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในโลก โดยจะเล่นในสนามหญ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า หรือ สนามหญ้าเทียม โดยมีประตูอยู่กึ่งกลางที่ปลายสนามทั้งสองฝั่ง เป้าหมายคือทำคะแนนโดยพาลูกฟุตบอลให้เข้าไปยังประตูของฝ่ายตรงข้าม ในการเล่นทั่วไปผู้รักษาประตูจะเป็นผู้เล่นเพียงคนเดียวที่สามารถใช้มือหรือแขนกับลูกฟุตบอลได้ ส่วนผู้เล่นอื่นๆจะใช้เท้าในการเตะลูกฟุตบอลไปยังตำแหน่งที่ต้องการ บางครั้งอาจใช้ลำตัว หรือ ศีรษะ เพื่อสกัดลูกฟุตบอลที่ลอยอยู่กลางอากาศ โดยทีมที่พาลูกฟุตบอลเข้าประตูฝ่ายตรงข้ามได้มากกว่าจะเป็นผู้ชนะ ถ้าคะแนนเท่ากันให้ถือว่าเสมอ แต่ในบางเกมที่เสมอกันในช่วงเวลาปกติแล้วต้องการหาผู้ชนะจึงต้องมีการต่อเวลาพิเศษ และ/หรือยิงลูกโทษขึ้นอยู่กับกฎระเบียบของรายการแข่งขันนั้นๆ โดยกฎกติกาการเล่นสมัยใหม่จะถูกรวบรวมขึ้นในประเทศอังกฤษ โดย สมาคมฟุตบอลอังกฤษ ในปี พ.ศ.
พรรคชาติไทย
รรคชาติไทย (Chart Thai Party) เป็นอดีตพรรคการเมืองในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับชาติช่วงปี..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และพรรคชาติไทย
พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย
รรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) (Communist Party of Thailand - CPT) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย ไม่เคยจดทะเบียนจัดตั้งตามกฎหมายอย่างเป็นทางการ ดำเนินแนวทางตาม ลัทธิมาร์กซ์ ลัทธิเลนิน และลัทธิเหมา นอกจากนั้น ในอดีตยังมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งเป็นสมาชิกของ พคท.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย
พรรคประชาธิปัตย์
รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และพรรคประชาธิปัตย์
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระรัตนธัชมุนี (แบน คณฺฐาภรโณ)
ระรัตนธัชมุนี นามเดิม แบน ฉายา คณฺฐาภรโณ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร และอดีตเจ้าคณะจังหวัดนครศรีธรรมร.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และพระรัตนธัชมุนี (แบน คณฺฐาภรโณ)
พลอากาศเอก
ลอากาศเอก (air chief marshal) คือ ยศของเจ้าพนักงานทหารอากาศระดับสี่ดาว ซึ่งใช้เป็นครั้งแรกในกองทัพอากาศอังกฤษ และปัจจุบันก็ยังใช้อยู่ในกองทัพดังกล่าว ยศนี้ยังได้รับการใช้ในกองทัพอากาศของหลาย ๆ ประเทศซึ่งได้รับอิทธิพลทางประวัติศาสตร์มาจากประเทศอังกฤษ เจ้าพนักงานซึ่งดำรงยศพลอากาศเอกนี้มักเป็นเจ้าพนักงานชั้นผู้ใหญ่อย่างยิ่ง เช่น เป็นผู้บัญชาการกองทัพหรือกองทัพอากาศระดับชาต.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และพลอากาศเอก
พลเรือเอก
พลเรือเอก (admiral) คือ ยศสูงสุดสำหรับทหาร/ตำรวจ ที่มีหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่การทำงานภาคพื้นทะเลเท่านั้น หมวดหมู่:ยศทหาร หมวดหมู่:พลเรือเอก.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และพลเรือเอก
พลเอก
ลเอก (General officer) คือ ยศของเจ้าหน้าที่ระดับสูงในกองทัพบก และในกองทัพเรือและกองทัพอากาศสำหรับบางประเทศ คำว่า "General" หรือ "นายพล" ถูกนำมาใช้ได้สองแบบ คือ โดยทั่วไปหมายถึงนายทหารชั้นยศนายพลทั้งหมดตั้งแต่ พลจัตวา ถึง พลเอก และใช้เฉพาะเจาะจงหมายถึงยศพลเอก.
พะเนียง กานตรัตน์
ลอากาศเอก พะเนียง กานตรัตน์ เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2464 สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนมัธยมวัดเทพศิรินทร์, โรงเรียนการบิน, โรงเรียนการบินประเทศอังกฤษ, Air Command and Staff College และ Tactical Air Command ประเทศสหรัฐอเมริกา, โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ, โรงเรียนวิทยาลัยกองทัพบก, วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และพะเนียง กานตรัตน์
พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
ันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (People's Alliance for Democracy, PAD) หรือเรียกว่า กลุ่มพันธมิตรกู้ชาติ หรือ กลุ่มคนเสื้อเหลือง เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทยที่มีบทบาทสำคัญในช่วง พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
พิจิตร กุลละวณิชย์
ลเอก พิจิตร กุลละวณิชย์ (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 —) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 นายกสภาวิทยาลัยสันตพล, อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบกและรองผู้บัญชาการทหารสูง.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และพิจิตร กุลละวณิชย์
กบฏยังเติร์ก
กบฏยังเติร์ก หรือ กบฏเมษาฮาวาย เป็นความพยายามรัฐประหารระหว่างวันที่ 1-3 เมษายน..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และกบฏยังเติร์ก
กบฏทหารนอกราชการ
วามเสียหายหน้าสถานีวิทยุกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ จากการถูกระดมยิงด้วยปืนกล 93 ขนาด 12.7 มม. (0.50 นิ้ว) บนป้อมรถสายพาน M113 กบฏทหารนอกราชการ หรือ กบฏ 9 กันยา หรือ กบฏสองพี่น้อง เป็นความพยายามรัฐประหารเมื่อวันที่ 9 กันยายน..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และกบฏทหารนอกราชการ
กรมราชเลขานุการในพระองค์
กรมราชเลขานุการในพระองค์ (เดิมคือ สำนักราชเลขาธิการ) เป็นหน่วยงานราชการในสังกัด สำนักพระราชวัง ซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับการเลขานุการในองค์ พระมหากษัตริย์ เกี่ยวกับงานหนังสือที่หน่วยราชการ เอกชนและบุคคลทั่วไปส่งเข้ามา เพื่อขอให้นำความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณา ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต พระบรมราชวินิจฉัยและพระมหากรุณา แล้วแต่กรณี รวมทั้งทำหน้าที่รับพระราชทานพระราชดำริและพระราชดำรัส เพื่อเชิญไปยังหน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง มีบทบาทเป็นผู้ประสานงานระหว่างพระมหากษัตริย์กับรัฐบาล และหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐหรือเอกชนและบุคคลทั่วไป ทั้งที่เป็นราชการแผ่นดินและการส่วนพระองค์ ก่อตั้งขึ้นในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในตอนนั้นเรียกว่าออฟฟิศไปรเวตสิเกรตารีหลวง หรือกรมราชเลขาธิการ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และกรมราชเลขานุการในพระองค์
กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)
กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)
กรณีพิพาทอินโดจีน
กรณีพิพาทอินโดจีน หรือ สงครามอินโดจีน ในต่างประเทศเรียกว่า สงครามฝรั่งเศส-ไทย เป็นการสู้รบระหว่างประเทศไทยกับฝรั่งเศสเขตวีชีเหนือดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศส จอมพล ป.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และกรณีพิพาทอินโดจีน
กองอาสารักษาดินแดน
กองอาสารักษาดินแดน (คำย่อ: อส., Volunteer Defense Corps; VDC) เป็นกองกำลังกึ่งทหาร ทำหน้าที่รักษาความสงบร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย การเทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ การจัดระเบียบสังคม การบริการประชาชน การส่งเสริมการท่องเที่ยว รวมถึงรักษาความปลอดภัยในสถานที่สำคัญ และการคมนาคม และเป็นกำลังสำรองส่วนหนึ่งที่พร้อมจะเพิ่มเติมและสนับสนุนกำลังทหารได้เมื่อมีการร้องขอทั้งในยามปกติและยามศึกสงคราม กองอาสารักษาดินแดนสังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้บัญชาการโดยตำแหน่งhttp://asa.dopa.go.th/line1.pdf และประธานกรรมการ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และกองอาสารักษาดินแดน
กองทัพบกไทย
กองทัพบกไทย (คำย่อ: ทบ.; Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และกองทัพบกไทย
กองทัพอากาศไทย
กองทัพอากาศไทย (อักษรย่อ: ทอ., '''Royal Thai Air Force''': '''RTAF'''.) เกิดขึ้นภายหลังจากการจัดตั้งกองทัพอากาศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นกองทัพอากาศหน่วยแรกของโลกเพียง 4 ปีเท่านั้น ถือได้ว่าเป็นกองทัพอากาศที่ก่อตั้งเป็นลำดับแรกๆ ของเอเชีย และมีวีรกรรมครั้งสำคัญเกิดขึ้นมากมายในช่วงกรณีพิพาทไทย-อินโดจีนฝรั่งเศส ปัจจุบันมีกองบัญชาการอยู่ที่เขตสายไหม เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร และภายในปี พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และกองทัพอากาศไทย
กองทัพเรือไทย
กองทัพเรือไทย หรือ ราชนาวีไทย (คำย่อ: ทร., Royal Thai Navy) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติการทางทหารในทะเล ลำน้ำ และพื้นที่บริเวณชายฝั่งของประเทศไทย กองทัพเรือมีจำนวนกำลังพลประจำการเป็นลำดับ 2 (รองจากกองทัพบก) ซึ่งมีเรือปฏิบัติการด้วยเรือรบกว่า 74 ลำ อากาศยานกว่า 90 เครื่อง และกำลังรบทางบกอีก 2 กองพล นับเป็นกองทัพเรือที่มีความสำคัญในลำดับต้นของภูมิภาคเอเชีย กองทัพเรือมีผู้บัญชาการทหารเรือเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด โดยเป็นหน่วยงานในสังกัดของกองบัญชาการกองทัพไทย ที่มีผู้บัญชาการทหารสูงสุดเป็นผู้บังคับบัญชา และอยู่ในสังกัดของกระทรวงกลาโหม กองทัพเรือมีพื้นที่ปฏิบัติการหลักทั้งในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ตามแนวเขตแดนระหว่างประเทศในทะเลความยาวกว่า 1,680 ไมล์ และตามแนวชายฝั่งความยาวกว่า 1,500 ไมล์ หน่วยต่างๆ ในสังกัดกองทัพเรือมีลักษณะการจัดโครงสร้างหน่วยที่คล้ายกับกองทัพเรือสหรัฐอเมริกามาก โดยเฉพาะในหน่วยกำลังรบ คือ กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ (กบร.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และกองทัพเรือไทย
ภาคอีสาน (ประเทศไทย)
อีสาน (มาจากภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต ऐशान aiśāna แปลว่า "ตะวันออกเฉียงเหนือ") หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภูมิภาคหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้ำโขงกั้นประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นประเทศกัมพูชาและภาคตะวันออกของประเทศไทย และมีทิวเขาเพชรบูรณ์และทิวเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นทางตะวันตกแยกจากภาคกลาง ภาคอีสานยังมีเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ร้อยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทยได้จัดว่าเป็นพื้นที่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูลมโล ภูหลวง และภูกระดึง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของชาวอีสานในหลายจังหวัดด้วยกัน เช่น แม่น้ำห้วยหลวง แม่น้ำชี ลำตะคอง แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล แม่น้ำสงคราม ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน ซึ่งเป็นภาษาอีสานสำเนียงหนึ่งทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ส่วนภาษาไทยนิยมใช้กันทั่วไปโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และจังหวัดนครราชสีมาแต่ไม่ถือเป็นภาษาหลัก ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมรที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ มีภาษาถิ่นอื่น ๆ อีกมาก เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทโคราช ภาษากวย (ส่วย) ภาษาแสก ภาษาข่า ภาษากะเลิง ภาษาโย้ย ภาษาย้อ เป็นต้น ภาคอีสานยังมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นที่สุดของประเทศ เช่น อาหาร ภาษา อักษร เช่น อักษรไทน้อย ดนตรีหมอลำ ดนตรีกันตรึม ดนตรีเจรียง และศิลปะการฟ้อนรำ การเซิ้ง ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และภาคอีสาน (ประเทศไทย)
มวย
มวย อาจหมายถึง.
รัฐบุรุษ
รัฐบุรุษคือ บุคคลผู้ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งสำคัญในการบริหารราชการแผ่นดินในฐานะต่าง ๆ อาทิ ผู้นำทางการเมือง หรือผู้นำทางทหาร โดยตลอดระยะเวลาที่อยู่ในตำแหน่งได้ประกอบคุณงามความดี ปฏิบัติราชการอย่างเต็มกำลังความสามารถ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และได้ช่วยเหลือจงรักภักดีต่อชาตินั้น ๆ จนเป็นที่ประจักษ์กันโดยทั่วไป.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และรัฐบุรุษ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย
ัญชีดังต่อไปนี่แสดงรายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมแห่งราชอาณาจักรไท.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 13 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2521 มีพลอากาศเอก หะริน หงสกุล ประธาน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ รัฐธรรมนูญฉบับนี้สิ้นสุดลงเมื่อวันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 ตามประกาศของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ รวมเวลาประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ทั้งสิ้น 12 ปี 2 เดือน 1 วัน.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521
รัฐประหาร
รัฐประหาร (coup d'état กูเดตา) เป็นการใช้กำลังยึดอำนาจและเปลี่ยนแปลงรัฐบาลอย่างฉับพลันและไม่ชอบด้วยกฎหมาย ปกติเกิดจากสถาบันของรัฐที่มีอยู่เดิมขนาดเล็กเพื่อโค่นรัฐบาลซึ่งเป็นที่ยอมรับแล้วเปลี่ยนเป็นองค์การปกครองใหม่ ไม่ว่าเป็นพลเรือนหรือทหาร รัฐประหารพิจารณาว่าสำเร็จแล้วเมื่อผู้ยึดอำนาจสถาปนาภาวะครอบงำ รัฐประหารไม่จำเป็นต้องเกิดความรุนแรงหรือเสียเลือดเนื้อ ศาลฎีกาตีความว่า รัฐประหารมิได้ขัดต่อกฎหมาย เพราะ "กฎหมายคือคำสั่งคำบัญชาของรัฏฐาธิปัตย์".
ดู เปรม ติณสูลานนท์และรัฐประหาร
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519
รัฐประหาร 6 ตุลาคม..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520
รัฐประหาร 20 ตุลาคม..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549
รัฐประหารในประเทศไท..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549
รัฐเคนทักกี
รัฐเคนทักกี (Kentucky) เป็นรัฐทางฟากตะวันออกของสหรัฐอเมริกา เมืองหลวงของรัฐคือ แฟรงก์เฟิร์ต และเมืองสำคัญในรัฐคือ หลุยส์วิลล์ และเล็กซิงตัน รัฐเคนทักกีเป็นที่รู้จักในด้านการแข่งม้าเคนทักกีเดอร์บี เหล้าเบอร์บอนที่มีต้นกำเนิดจากเคนทักกี และดนตรีบลูแกรส ผู้ว่ารัฐคนปัจจุบันคือ hambreak.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และรัฐเคนทักกี
ราชกิจจานุเบกษา
ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และราชกิจจานุเบกษา
รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย
รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารบก แห่งกองทัพบกไท.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย
รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย
รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนสาตดสอ ตรีไท.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และรายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย
วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553
วิกฤตการณ์การเมืองไท..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553
วิจิตร สุขมาก
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วิจิตร สุขมาก (เกิด 18 มิถุนายน พ.ศ. 2476) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (25 ต.ค.2535-17 ก.ค.2537) ในรัฐบาลชวน หลีกภัย และอดีตผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และวิจิตร สุขมาก
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13
มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13 (22 เมษายน พ.ศ. 2522 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2526) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 301 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรงและแบบผสม จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549
นิติบัญญัติแห่งชาต..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง พลตำรวจเอกหญิง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระนามเดิม: สังวาลย์ ตะละภัฏ; พระราชสมภพ: 21 ตุลาคม พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
สฤษดิ์ ธนะรัชต์
อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และสฤษดิ์ ธนะรัชต์
สะพานติณสูลานนท์
นติณสูลานนท์ สะพานติณสูลานนท์ เป็นสะพานคอนกรีตที่ยาวที่สุดในประเทศไทย อยู่ในอำเภอเมืองสงขลา และอำเภอสิงหนคร โดยเชื่อมเกาะยอ 2 ด้าน ระหว่างฝั่งบ้านน้ำกระจาย อำเภอเมืองสงขลา และบ้านเขาเขียว อำเภอสิงหนคร ความยาวของสะพาน 2 ช่วงแรก 940 เมตร และ 1,700 เมตร ตามลำดับ รวมเป็น 2,640 เมตร ก่อสร้างขึ้นในสมัย ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จุดประสงค์ของการสร้างสะพานแห่งนี้ คือ การรองรับการคมนาคมทางรถยนต์ โดยไม่ต้องรอข้ามแพขนานยนต์ซึ่งมีไม่เพียงพอกับปริมาณรถยนต์ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้การเดินทางต้องใช้เวลานาน ทั้งเมื่อข้ามฝั่งมาแล้วก็ยังทำให้การจราจรติดขัดในตัวเมืองอีกด้วย ดังนั้น ในปี พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และสะพานติณสูลานนท์
สัญญา ธรรมศักดิ์
ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และสัญญา ธรรมศักดิ์
สุรยุทธ์ จุลานนท์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และสุรยุทธ์ จุลานนท์
สุริยะใส กตะศิลา
ริยะใส กตะศิลา เป็นรองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต, และเป็นผู้อำนวยการสถาบันปฏิรูปประเทศไทย ในระหว่างปี พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และสุริยะใส กตะศิลา
สงัด ชลออยู่
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สงัด ชลออยู่ (4 มีนาคม พ.ศ. 2458 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523) เกิดที่บ้านเขาพระ หมู่ที่ 2 ตำบลเขาพระ อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรนายแปลก และนางส้มลิ้ม ชลออยู่ สมรสกับคุณหญิงสุคนธ์ ชลออยู่ (สหัสสานนท์) ในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตันระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน-30 มิถุนายน พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และสงัด ชลออยู่
สงครามแปซิฟิก
งครามแปซิฟิก (Pacific War) หรือ สงครามมหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia War; 大東亜戦争, Dai Tō-A Sensō) เป็นเขตสงครามหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง สู้รบกันในมหาสมุทรแปซิฟิกและเอเชียตะวันออกเป็นหลัก มีการยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าสงครามแปซิฟิกเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 หรือ 8 ธันวาคม 1941 เมื่อญี่ปุ่นบุกครองประเทศไทยและโจมตีอาณานิคมของบริติช ได้แก่ มาลายา สิงคโปร์และฮ่องกง ตลอดจนฐานทัพสหรัฐในหมู่เกาะฮาวาย หมู่เกาะเวก เกาะกวมและฟิลิปปินส์ ทว่า สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองระหว่างจักรวรรดิญี่ปุ่นและสาธารณรัฐจีนมีมาต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 1937 โดยมีความเป็นปรปักษ์ย้อนหลังไปถึงวันที่ 19 กันยายน 1931 เมื่อประเทศญี่ปุ่นบุกครองแมนจูเรีย จักรวรรดิญี่ปุ่นเริ่มนโยบายชาตินิยมโดยใช้คำขวัญที่ว่า "เอเชียเพื่อชาวเอเชีย" (Asia for Asiatics) วันที่ 3 พฤศจิกายน..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และสงครามแปซิฟิก
สงครามโลกครั้งที่สอง
งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และสงครามโลกครั้งที่สอง
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
หน่วยรบพิเศษ
หน่วยรบพิเศษ หน่วยปฏิบัติการพิเศษ หรือ กองกำลังพิเศษ เป็นทหารที่ได้รับการฝึกมาอย่างดีโดยกองทัพซึ่งพวกเขาเหล่านั้นสามารถปฏิบัติภารกิจพิเศษอย่างเช่น การลาดตระเวนพิเศษ สงครามนอกแบบ และการต่อต้านการก่อการร้.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และหน่วยรบพิเศษ
อำเภอเมืองสงขลา
มืองสงขลา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขล.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และอำเภอเมืองสงขลา
อดุล อดุลเดชจรัส
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส หรือ หลวงอดุลเดชจรัส (28 มิถุนายน พ.ศ. 2437 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2512) นามเดิม บัตร พึ่งพระคุณ อดีตองคมนตรี รองนายกรัฐมนตรี อธิบดีกรมตำรวจ ผู้บัญชาการทหารบก มีสมญานามว่า "นายพลตาดุ" เป็นหนึ่งในคณะราษฎร ผู้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และอดุล อดุลเดชจรัส
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นผู้บริหารราชการแผ่นดินในพระปรมาภิไธยหรือพระนามาภิไธยพระมหากษัตริย์ เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะก็ดี ทรงพระประชวรก็ดี ทรงไม่อาจบริหารพระราชกิจได้ก็ดี หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศก็ดี ในสมัยราชวงศ์จักรีเริ่มมีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากพระองค์ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อพระองค์ยังทรงพระเยาว.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)
จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์
ลเอก จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ (27 ตุลาคม พ.ศ. 2438 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2526) อดีตอธิบดีกรมรถไฟ และผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และจรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์
จังหวัดลพบุรี
ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และจังหวัดลพบุรี
จังหวัดสระบุรี
ังหวัดสระบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของภาคกลาง นับเป็นเสมือนด่านผ่านระหว่างภาคกลางกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายทั้งทางประวัติศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และยังเป็นเมืองที่มีความสำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมลำดับต้น ๆ ของประเทศไทย สภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดสระบุรี นับว่าเป็นทำเลแห่งการเพาะปลูก ได้รับความอุดมสมบูรณ์จากแม่น้ำสายหลัก คือแม่น้ำป่าสัก และสภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และจังหวัดสระบุรี
จังหวัดสงขลา
งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และจังหวัดสงขลา
จังหวัดอุตรดิตถ์
ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และจังหวัดอุตรดิตถ์
ธานินทร์ กรัยวิเชียร
ตราจารย์ (พิเศษ) ธานินทร์ กรัยวิเชียร (5 เมษายน พ.ศ. 2470 —) อดีตองคมนตรี อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานองคมนตรี และอดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 14 ของไท.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และธานินทร์ กรัยวิเชียร
ถนอม กิตติขจร
อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และถนอม กิตติขจร
ทักษิณ ชินวัตร
ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และทักษิณ ชินวัตร
ณัฐ ยนตรรักษ์
ณัฐ ยนตรรักษ์ เป็นนักเปียโน นักประพันธ์เพลงที่มีชื่อเสียงของไทย มีผลงานการเล่นเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ เป็นผู้ได้รับรางวัลศิลปาธร สาขาคีตศิลป์ จัดโดยสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ประจำปี..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และณัฐ ยนตรรักษ์
คอมมิวนิสต์ในประเทศไทย
ประเทศสยามเริ่มมีความกังวลเกี่ยวกับคอมมิวนิสต์ตั้งแต่ปลายสมัยรัชกาลที่ 7 โดยแก้ไขกฎหมายลักษณะอาญาให้ "การสั่งสอนทฤษฎีการเมืองหรือเศรษฐกิจเพื่อให้บังเกิดความเกลียดชังดูหมิ่นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวหรือเกิดความเกลียดชังระหว่างชนชั้น" เป็นความผิด ปัญหาภัยคุกคามจากคอมมิวนิสต์ค่อยรุนแรงขึ้นเป็นลำดับและหมดไปแล้วในปัจจุบัน หลังการยกเลิกกฎหมายเกี่ยวกับคอมมิวนิสต์ใน..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย
คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523
ำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523 หรือคำสั่งที่ 66/2523 หรือคำสั่งที่ 66/23 เป็นคำสั่งรัฐบาลไทยที่กำหนดนโยบายสำคัญในการต่อสู้กับการก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ช่วงปลายสงครามเย็น คำสั่งดังกล่าวออกเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2523 และลงนามโดยนายกรัฐมนตรี พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ คำสั่งนี้ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายจากท่าทีทหารสายแข็งที่ดำเนินมาแต่รัฐบาลฝ่ายขวาธานินทร์ กรัยวิเชียร (ครองอำนาจ 2519 ถึง 2520) มาสู่สายกลางมากขึ้นซึ่งให้ความสำคัญมาตรการทางการเมืองเหนือการปฏิบัติทางทหารอย่างเป็นทางการ คำสั่งนี้กำหนดให้มีการจัดการความอยุติธรรมทางสังคม และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองและกระบวนการประชาธิปไตย มีการออกกฎหมายนิรโทษกรรมสอดคล้องกับคำสั่งอนุญาตให้ผู้แปรพักตร์ผละขบวนการก่อการกำเริบ ซึ่งเมื่อประกอบกับการเสื่อมลงของการสนับสนุนจากต่างชาติ นำไปสู่การเสื่อมลงของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไท.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 42
ลเอกเปรม ติณสูลานนท์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 16 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 42 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 42 (3 มีนาคม 2523 - 19 มีนาคม 2526) พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการเมื่อวันที่ 3 มีนาคม..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 42
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 43
ลเอกเปรม ติณสูลานนท์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 16 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 43 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 43 ของไทย (30 เมษายน พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 43
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44
ณะรัฐมนตรี คณะที่ 44 ของไทย (5 สิงหาคม พ.ศ. 2529 - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2531) พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56
รัฐบาลพลเรือน ที่ตั้งขึ้นภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56
คณะองคมนตรี
ณะองคมนตรี (privy council) คือ กลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่ประมุขแห่งรัฐ โดยทั่วไปในประเทศที่ปกครองแบบราชาธิปไตย ในภาษาอังกฤษ คำว่า "privy" หมายถึง "ส่วนตัว" หรือ "ลับ" ดังนั้นแรกเริ่มเดิมที privy council คือคณะที่ปรึกษาที่ใกล้ชิดที่สุดของกษัตริย์ที่ให้คำปรึกษาที่รักษาเป็นความลับในเรื่องกิจการรัฐ ประเทศที่มีสภาองคมนตรีหรือองค์กรเทียบเท่าในปัจจุบัน เช่น สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ, ประเทศแคนาดา, ราชอาณาจักรเดนมาร์ก, ราชอาณาจักรตองกา และ ราชอาณาจักรไท.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และคณะองคมนตรี
คณะองคมนตรีไทย
ณะองคมนตรีในประเทศไทย คือกลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่พระมหากษัตริย์ โดยในอดีตเคยใช้ชื่อ ปรีวีเคาน์ซิล (สภาที่ปฤกษาในพระองค์), องคมนตรีสภา, และ สภากรรมการองคมนตรี ตามลำดับ ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นชื่อปัจจุบัน.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และคณะองคมนตรีไทย
คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ คป. เป็นคณะบุคคล อันประกอบด้วย กลุ่มทหาร ตำรวจ และ พลเรือน ซึ่งมีพลเอก สนธิ บุญยรัตกลินเป็นหัวหน้า ได้เข้ายึดอำนาจการปกครองราชอาณาจักรไทยไว้ได้ เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ปฐมจุลจอมเกล้า
ปฐมจุลจอมเกล้า มีอักษรย่อว่า ป..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และปฐมจุลจอมเกล้า
ประยุทธ จารุมณี
ลเอก ประยุทธ จารุมณี (22 มิถุนายน 2465 -) เป็นผู้บัญชาการทหารบกลำดับที่ 23 ระหว่าง 26 สิงหาคม พ.ศ. 2524 - 30 กันยายน พ.ศ. 2525.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และประยุทธ จารุมณี
ประยุทธ์ จันทร์โอชา
ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และประยุทธ์ จันทร์โอชา
ประเทศกัมพูชา
กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และประเทศกัมพูชา
ประเทศฝรั่งเศส
ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และประเทศฝรั่งเศส
ปรีดี พนมยงค์
ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และปรีดี พนมยงค์
ปอยเปต
ด่านชายแดนเมืองปอตเปต ปอยเปต (ប៉ោយប៉ែត) เป็นเมืองชายแดนไทย-กัมพูชา ตั้งอยู่ที่ตำบลปอยเปต อำเภออูร์ชเรา จังหวัดบันทายมีชัย ประเทศกัมพูชา อยู่ติดกับอำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย ตัวเมืองมีบ่อนกาสิโนเป็นจำนวนมาก โดยส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวไทยเป็นผู้ใช้บริการ เนื่องจากการพนันในประเทศไทยผิดกฎหมาย ปัจจุบันได้มีการประกาศจากด่านตรวจคนเข้าเมืองไทย ด้านอำเภออรัญประเทศ สำหรับผู้ถือหนังสือเดินทางไทย สามารถเข้าถึงพนมเปญโดยไม่ต้องใช้วีซ่า โดยเดินทางประทับตราหนังสือเดินทางขาเข้าประเทศกัมพูชาได้ หมวดหมู่:เมืองในประเทศกัมพูชา.
ปัจจุบัน
ปัจจุบัน คือเวลาที่เหตุการณ์เป็นที่รับรู้โดยตรงและเป็นครั้งแรก ต่างจากการระลึกได้ (รับรู้มากกว่าหนึ่งครั้ง) หรือ การคาดหวัง (การคาดการณ์, สมมุติฐาน, ความไม่แน่นอน) ปัจจุบันเป็นช่วงเวลาระหว่างอดีตและอนาคต และอาจแปรเปลี่ยนไปจากชั่วขณะ ไปจนถึงหนึ่งวัน หรือนานกว่านั้น ในการหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสี "ปัจจุบัน" ระบุด้วยปีก่อน ค.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และปัจจุบัน
นายกรัฐมนตรีไทย
นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และนายกรัฐมนตรีไทย
แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ
แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (ชื่อย่อ: นปช.; United Front of Democracy Against Dictatorship; UDD) มีชื่อเดิมว่า แนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (ชื่อย่อ: นปก.; Democratic Alliance Against Dictatorship: DAAD) เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ ดร.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ
โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
รงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (ชื่อภาษาอังกฤษ: Mahavajiravudh Songkhla School) (อักษรย่อ: ม.ว., M.V.) (สุภาษิตประจำโรงเรียน: รฺกขาม อตฺตโน สาธุง (รัก - ขา - มะ - อัด - ตะ - โน - สา - ทุง) แปลว่า " พึงรักษาความดีของตนไว้ (ประดุจเกลือรักษาความเค็ม) ") เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รหัสสถานศึกษา 03900101(เดิม), 1003900101 (ใหม่) มีเนื้อที่ 45 ไร่ 2 งาน 99.9 ตารางวา เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษา มีประวัติความเป็นมาและชื่อเสียงเกียรติยศที่สั่งสมมายาวนานจนถึงปัจจุบันกว่า 121 ปี เป็นโรงเรียนหลวงแห่งแรกในภาคใต้ เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดสงขลา โดยมีกุลบุตร - กุลธิดา ในพื้นที่จังหวัดสงขลาและพื้นที่ใกล้เคียง มาศึกษาเล่าเรียนกันเป็นจำนวนมาก ผู้ริเริ่มก่อตั้งโรงเรียนคือ มหาอำมาตย์นายก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ขณะท่านมีบรรดาศักดิ์เป็น " พระยาสุขุมนัยวินิต " ข้าหลวงเทศาภิบาลสำเร็จการมณฑลนครศรีธรรมราช และเป็นพระอาจารย์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 โดยในเดือนมกราคม พุทธศักราช 2439 ในวาระโอกาสวันพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร เจ้าพระยายมราชได้ขอพระราชทานพระนามของพระองค์ในขณะนั้นมาเป็นนามของโรงเรียน ว่าโรงเรียน "มหาวชิราวุธ" ปัจจุบันเป็นสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงของภาคใต้ และลูกมหาวชิราวุธทุกคนที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันแห่งนี้ ต่างมีความรักภาคภูมิใจในสถาบัน และภูมิใจใน ตราวชิราวุธ อันเป็นลัญจกรประจำพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์อันเป็นมิ่งมงคลยิ่งของสถาบัน.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และโรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (อักษรย่อ: ส.ก./S.K.) เป็นโรงเรียนชายล้วนในระดับชั้น มัธยมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 88 ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 11 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 7 หลัง ห้องเรียนทั้งหมด 78 ห้อง นอกจากนี้โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยยังโดดเด่นในเรื่องคุณภาพมาตรฐานของศิษย์เก่าที่จบไปโดยเฉพาะด้านวิชาการ ภาษา และความเป็นผู้นำ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็น 1 ในกลุ่มโรงเรียนจตุรมิตรสามัคคี ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมของทั้ง 4 โรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้าภาพในทุกๆ 2 ปี นอกจากการแข่งขันฟุตบอล ยังมี การแปรอักษร ของทั้ง 4 โรงเรียน ซึ่งเป็นอีกสัญลักษณ์สำคัญของงาน โดยกีฬาจตุรมิตรสามัคคีจะจัดขึ้นในทุกๆ 4 ปี ที่ สนามศุภชลาศัย นอกจากนี้ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ยังมีงานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ และงานชุมนุมลูกเสือสวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนใน เครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นประจำทุกปี โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
รงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (ชื่อย่อ: รร.จปร.) เป็นสถาบันการศึกษาทางทหาร ในระดับอุดมศึกษาในสังกัดกรมยุทธศึกษาทหารบก กองทัพบก ตั้งอยู่ที่ อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า เรียกว่า นักเรียนนายร้อย (นนร.) ต้นไม้สัญลักษณ์ประจำโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า คือ จำปีสิรินธร.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
เชียงตุง
ียงตุง (ภาษาไทเขิน: ᨩ᩠ᨿᨦᨲᩩᨦ ไทใหญ่:; ကျိုင်းတုံမြို့; 60px; Keng Tung) เป็นเมืองตั้งอยู่ในรัฐฉานของประเทศพม่า เป็นเมืองของชาวไทเขิน และชาวไทใหญ่ ถือได้ว่าเป็นเมืองที่มีความเจริญรุ่งเรืองเทียบเท่า เมืองเชียงใหม่แห่งล้านนาไทย และเมืองเชียงรุ่งแห่งสิบสองปันนา โดยชาวไทใหญ่เรียกชื่อเมืองนี้ว่า เก็งตุ๋ง (Keng Tung) ในอดีตเชียงตุงเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางการค้าเชื่อมต่อระหว่างสิบสองปันนากับล้านนา โดยมีพ่อค้าชาวจีนฮ่อเดินทางไปมาค้าขายในเส้นทางนี้.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และเชียงตุง
เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2460 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546) อดีตนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้บัญชาการทหารสูง.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
เสริม ณ นคร
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เสริม ณ นคร อดีตผู้บัญชาการทหารบก, ผู้บัญชาการทหารสูงสุดและอดีตรองนายกรัฐมนตรี เจ้าของฉายา "นายพลแก้มแดง".
ดู เปรม ติณสูลานนท์และเสริม ณ นคร
เหรียญชัยสมรภูมิ
หรียญชัยสมรภูมิ เป็นเหรียญที่สร้างขึ้นเมื่อปี..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และเหรียญชัยสมรภูมิ
เหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ
หรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ (The Safeguarding the Constitution Medal) เป็นเหรียญสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความกล้าหาญ สำหรับพระราชทานแก่ ผู้ช่วยเหลือราชการทั้งฝ่ายทหารและพลเรือนในการปราบกบฏบวรเดช เมื่อ..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และเหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ
เหรียญพิทักษ์เสรีชน
หรียญพิทักษ์เสรีชน สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 9 ใช้อักษรย่อว..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และเหรียญพิทักษ์เสรีชน
เหรียญกาชาด
หรียญกาชาด เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จความชอบที่พระราชทานแก่ผู้ทำคุณประโยชน์แก่สภากาชาดไทย แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ เหรียญกาชาดสมนาคุณ เหรียญกาชาดสรรเสริญ และเหรียญกาชาดสดุดี.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และเหรียญกาชาด
เหรียญรัตนาภรณ์
หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และเหรียญรัตนาภรณ์
เหรียญลูกเสือสดุดี
หรียญลูกเสือสดุดี มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษว่า "The Boy Scout Citation Medal" เป็นเหรียญสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในราชการ สร้างขึ้นตามพระราชบัญญัติลูกเสือ..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และเหรียญลูกเสือสดุดี
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ออเรนจ์-นัสเซา
รื่องราชอิสริยาภรณ์ออเรนจ์-นัสเซา (Orde van Oranje-Nassau) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์เนเธอร์แลนด์ สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 4 เมษายน..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์ออเรนจ์-นัสเซา
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี (The Honourable Order of Rama) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (The Most Noble Order of the Crown of Thailand) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง แก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้น เมื่อ..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ (The boy scout citation medal (Special class)) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานอนุญาตให้จัดสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ (The Most Admirable Order of the Direkgunabhorn) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก (The Most Exalted Order of the White Elephant) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูงแก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้นเมื่อ..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ มีอักษรย่อว่า น.ร. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีความเป็นมาสืบแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างดารานพรัตนขึ้นสำหรับใช้ประดับที่เสื้อ ซึ่งทรงเรียกว่า "เครื่องประดับสำหรับยศ" นอกจากนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างแหวนนพรัตนสำหรับพระราชทานแก่พระราชวงศ์ฝ่ายหน้า และฝ่ายใน ตลอดจนข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ซึ่งเป็นพุทธมามกะ ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างดวงตรามหานพรัตน สำหรับห้อยสายสะพายขึ้นเป็นครั้งแรกของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลนี้ มีเฉพาะชั้นสายสะพายชั้นเดียว ทั้งนี้ ผู้รับพระราชทานต้องเป็นพุทธมามกะ และจะประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ในงานมงคล หรืองานที่มีหมายกำหนดการระบุไว้เท่านั้นราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๑๑๕, ตอนพิเศษ ๑๑๘ ง เล่มที่ ๒, ๔ ธันวาคม..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า
รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ.
ดู เปรม ติณสูลานนท์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า
เปรม ติณสูลานนท์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..
ดู เปรม ติณสูลานนท์และเปรม ติณสูลานนท์
เปียโน
ปียโน (ย่อมาจาก เปียโนฟอร์เต) เป็นเครื่องดนตรีที่บรรเลงโดยการกดลิ่มนิ้ว (คีย์บอร์ด) มักใช้นิยมบรรเลงเพลงแนว คลาสสิก และ แจ๊ส แม้ว่าเปียโนจะมีขนาดใหญ่และหนักทำให้ไม่สามารถพกพาได้ และมีราคาค่อนข้างแพง แต่เปียโนก็เป็นเครื่องดนตรีที่ได้เปรียบเครื่องดนตรีมากมาย เสียงของเปียโนสามารถเข้ากับเครื่องดนตรีเกือบทุกชนิด ดังนั้นเปียโนจึงสามารถเล่นได้ทั้งแบบบรรเลงเดี่ยว, แชมเบอร์, คลอเสียง หรือแม้กระทั่งร่วมกับวง ออร์เคสตรา ฝาครอบและแผ่นครอบของเปียโนอะคูสติกจะทำมาจากไม้ ในขณะที่กระดานเสียง (soundboard) จะถูกทำจากเหล็กกล้า และขึงด้วยสายโลหะ ลิ่มนิ้วของเปียโนมาตรฐานมีอยู่ทั้งหมด 88 คีย์ (คีย์ขาว 52, คีย์ดำ 36) ช่วงคีย์ปกติจะมีสายโลหะอยู่ 3 เส้นในหนึ่งคีย์ และคีย์เบสจะมีสายโลหะเส้นใหญ่อยู่ 1–2 เส้นในหนึ่งคีย์ เมื่อกดคีย์ จะเกิดเป็นเสียงโน้ตดนตรีที่มีความถี่การสั่นพ้องแตกต่างกันออกไป และเมื่อปล่อยคีย์ เสียงก็จะถูกตัด หากต้องการให้เสียงกังวานและลากยาวก็สามารถทำให้ โดยการเหยียบเพดัลขวา (คันเหยียบ) ที่อยู่บริเวณด้านล่างของเปียโนค้างไว้ กลไกการเกิดเสียงในเปียโนอะคูสติกนั้น เริ่มจากแรงจากการกดคีย์จะถูกส่งผ่านโดยกลไกที่ซับซ้อนไปยังหัวค้อน และหัวค้อนจะตีกระทบกับสายโลหะที่ขึงอยู่บนกระดานเสียงเกิดเป็นเสียงดนตรี ในระหว่างที่คีย์ถูกกดอยู่นั้น กลไกที่เรียกว่า แดมเปอร์ (damper) ของแต่ละคีย์ ซึ่งเดิมจะคอยดันสายโลหะไว้จะถูกยกออก ทำให้สายโลหะเกิดการสั่นพ้องได้ เมื่อใดก็ตามที่ปล่อยคีย์ แดมเปอร์จะกลับมาดันสายโลหะ ทำให้เสียงถูกตัดไป ดังนั้นการเหยียบเพดัลขวา จะเป็นการยกเพดัลของทุกคีย์ออก ทำให้สายโลหะเกิดการสั่นพ้องและกังวานมากขึ้นซึ่งทำให้เพลงมีความไพเราะ อย่างไรก็ตาม การเหยียบเพดัลขวาแช่ไว้ จะทำให้เสียงโน้ตดนตรีกังวานจนตีกับโน้ตดนตรีที่ตามมาทีหลัง ดังนั้นผู้บรรเลงจึงต้องทำการยกเท้าจากเพดัลเป็นจังหวะ ๆ เพื่อเป็นการตัดโน้ตดนตรีไม่ให้ข้ามห้องหรือตีกัน คำว่า เปียโน นั้น เป็นคำย่อจากคำว่า เปียโนฟอร์เต, ซึ่งเป็นภาษาอิตาลี ซึ่งเป็นการประสมคำระหว่างคำว่า เปียโน ที่แปลว่า "นุ่มนวล" กับ ฟอร์เต ที่แปลว่า "แข็งแกร่ง" ซึ่งมีที่มาจากการที่เป็ยโนนั้นมีคุณภาพเสียงที่หลากหลาย คีย์เบสที่ให้เสียงกังวานและทรงพลัง คีย์ปกติที่ให้เสียงนุ่มนวล และคีย์สูงที่ให้เสียงเล็กแหลม.
ดูเพิ่มเติม
นายกรัฐมนตรีไทย
- ควง อภัยวงศ์
- ชวน หลีกภัย
- ชวรัตน์ ชาญวีรกูล
- ชวลิต ยงใจยุทธ
- ชาติชาย ชุณหะวัณ
- ชิดชัย วรรณสถิตย์
- ถนอม กิตติขจร
- ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
- ทวี บุณยเกตุ
- ทักษิณ ชินวัตร
- ธานินทร์ กรัยวิเชียร
- นายกรัฐมนตรีไทย
- นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล
- บรรหาร ศิลปอาชา
- ประยุทธ์ จันทร์โอชา
- ปรีดี พนมยงค์
- พจน์ สารสิน
- พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
- พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)
- ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
- สนธิ บุญยรัตกลิน
- สมชาย วงศ์สวัสดิ์
- สมัคร สุนทรเวช
- สฤษดิ์ ธนะรัชต์
- สัญญา ธรรมศักดิ์
- สุจินดา คราประยูร
- สุนทร คงสมพงษ์
- สุรยุทธ์ จุลานนท์
- หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
- หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
- อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
- อานันท์ ปันยารชุน
- เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
- เปรม ติณสูลานนท์
- แปลก พิบูลสงคราม
นายพลชาวไทย
- ขัตติยะ สวัสดิผล
- จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์
- จำลอง ศรีเมือง
- ชัยสิทธิ์ ชินวัตร
- ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร
- ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา
- ธีรเดช มีเพียร
- บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ
- ประมาณ อดิเรกสาร
- ประยุทธ์ จันทร์โอชา
- ประยูร ภมรมนตรี
- ผิน ชุณหะวัณ
- พระยาพิชัยดาบหัก
- พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ)
- พระราเมศวร (พระราชโอรสในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ)
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา
- พัลลภ ปิ่นมณี
- พ่อขุนผาเมือง
- ยุทธศักดิ์ ศศิประภา
- วิชัย สังข์ประไพ
- ศรีรัศมิ์ สุวะดี
- สงัด ชลออยู่
- สนธิ บุญยรัตกลิน
- สนั่น ขจรประศาสน์
- สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
- สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
- สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี
- สฤษดิ์ ธนะรัชต์
- สุจินดา คราประยูร
- สุรพงษ์ สุวรรณอัตถ์
- สุรยุทธ์ จุลานนท์
- หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
- หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)
- หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)
- อนุพงษ์ เผ่าจินดา
- อภิรัชต์ คงสมพงษ์
- อาทิตย์ กำลังเอก
- อิสระพงศ์ หนุนภักดี
- เปรม ติณสูลานนท์
- เผ่า ศรียานนท์
- เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ
- เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส
บุคคลจากจังหวัดสงขลา
- ธชย ประทุมวรรณ
- ธนิตย์ จิตนุกูล
- บินหลา สันกาลาคีรี
- วชิระกฤช พุกพบสุข
- วินทร์ เลียววาริณ
- วิษณุ เครืองาม
- วีระกานต์ มุสิกพงศ์
- สุทธิชัย หยุ่น
- เจนนี่ ปาหนัน
- เฌอปราง อารีย์กุล
- เทพ โพธิ์งาม
- เทพชัย หย่อง
- เปรม ติณสูลานนท์
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ของไทย
- ปรีดี พนมยงค์
- ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)
- พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา
- สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
- สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
- สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)
- เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)
- เปรม ติณสูลานนท์
ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.จ. (ฝ่ายหน้า)
- กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
- ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน
- ถนอม กิตติขจร
- ปรีดี พนมยงค์
- พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา
- พิจิตร กุลละวณิชย์
- สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร
- สมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์
- สมเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนา
- สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)
- สัญญา ธรรมศักดิ์
- หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
- เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี
- เจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์
- เปรม ติณสูลานนท์
- แปลก พิบูลสงคราม
ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ภ.
- ทักษิณ ชินวัตร
- บรรหาร ศิลปอาชา
- ปัทมา ลีสวัสดิ์ตระกูล
- สมัคร สุนทรเวช
- สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี
- อานันท์ ปันยารชุน
- เปรม ติณสูลานนท์
- แจ่มใส ศิลปอาชา
- โชอิจิโร โทโยดะ
ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ส.ร.
- ถนอม กิตติขจร
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต
- สฤษดิ์ ธนะรัชต์
- เปรม ติณสูลานนท์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมไทย
- กฤษณ์ สีวะรา
- ชวน หลีกภัย
- ชวลิต ยงใจยุทธ
- ชาติชาย ชุณหะวัณ
- ถนอม กิตติขจร
- ทวี จุลละทรัพย์
- ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา
- ประมาณ อดิเรกสาร
- ประยุทธ์ จันทร์โอชา
- ประวิตร วงษ์สุวรรณ
- พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร
- พะเนียง กานตรัตน์
- ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
- ยุทธศักดิ์ ศศิประภา
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย
- วิจิตร สุขมาก
- สงัด ชลออยู่
- สมชาย วงศ์สวัสดิ์
- สมัคร สุนทรเวช
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต
- สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)
- สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)
- สฤษดิ์ ธนะรัชต์
- สุกำพล สุวรรณทัต
- สุจินดา คราประยูร
- สุทิน คลังแสง
- หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
- หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)
- เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
- เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล)
- เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร)
- เปรม ติณสูลานนท์
- แปลก พิบูลสงคราม
องคมนตรี
- จอม รุ่งสว่าง
- จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา
- ชลิต พุกผาสุข
- ธานินทร์ กรัยวิเชียร
- ธีรชัย นาควานิช
- ประยุทธ์ จันทร์โอชา
- พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)
- พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี๊ ณ ระนอง)
- พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์
- พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ
- พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนศิริธัชสังกาศ
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
- พิจิตร กุลละวณิชย์
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต
- สัญญา ธรรมศักดิ์
- สันติ ทักราล
- สิทธิ เศวตศิลา
- สุรยุทธ์ จุลานนท์
- หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร
- หม่อมราชวงศ์เทพกมล เทวกุล
- หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์
- หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์
- หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช
- หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์
- หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร
- เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
- เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)
- เฉลิมชัย สิทธิสาท
- เปรม ติณสูลานนท์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์พลเอก เปรม ติณสูลานนท์พลเอกเปรมพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ป๋าเปรม