โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เบลเจียนคองโก

ดัชนี เบลเจียนคองโก

ลเจียนคองโก (Belgian Congo; Congo Belge; ดัตช์) เป็นชื่อทางการในอดีตของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (DRC) ในปัจจุบัน เป็นช่วงระหว่างที่พระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมทรงปลดปล่อยการควบคุมดินแดนในฐานะดินแดนส่วนพระองค์ให้กับราชอาณาจักรเบลเยียมเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน..

15 ความสัมพันธ์: กินชาซาภาษาฝรั่งเศสภาษาดัตช์รายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียมลาบราบ็องซอนสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมสมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียมสมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกอาณานิคมทวีปแอฟริกาประเทศเบลเยียมโรมันคาทอลิกเสรีรัฐคองโก

กินชาซา

กินชาซา (Kinshasa) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก หรือเป็นที่รู้จักในชื่อประเทศซาอีร์ในช่วงปี 1971 ถึง 1997 เมืองตั้งอยู่ริมแม่น้ำคองโก แต่เดิมเป็นหมู่บ้านชาวประมง ปัจจุบันเป็นพื้นที่เมือง มีประชากร 10,076,099 คนในปี 2009 ส่วนกรุงบราซาวีลของสาธารณรัฐคองโก (มีประชากรราว 1.5 ล้านคนในปี 2007 รวมเขตชานเมืองแล้ว) ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามแม่น้ำคองโกของกินชาซา หากรวมประชากรเข้ากับกรุงบราซาวีลแล้ว มีประชากรเกือบ 12 ล้านคน และเพราะว่าเขตการบริหารที่กว้างขวางอย่างมาก กว่า 60% ของพื้นที่เมืองเป็นชนบทธรรมชาติ และพื้นที่ในเมืองมีเพียงส่วนน้อยในเขตตะวันตกไกลของเมือง กินชาซาเป็นเมืองที่มีสถานะเทียบเท่าเมืองโจฮันเนสเบิร์ก ที่เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเขตกึ่งสะฮารา และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 3 ของทวีป รองจากเมืองเลกอสและไคโร และยังมักถูกพิจารณาว่าเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 2 รองจากปารีสที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส และหากแนวโน้มด้านสถิติประชากรอย่างต่อเนื่อง กรุงกินชาซาจะมีประชากรมากกว่ากรุงปารีสก่อนปี 2020.

ใหม่!!: เบลเจียนคองโกและกินชาซา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: เบลเจียนคองโกและภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาดัตช์

ษาดัตช์ (Dutch; Nederlands) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกต่ำที่มีคนพูด 22 ล้านคน ส่วนใหญ่ในประเทศเนเธอร์แลนด์และประเทศเบลเยียม ภาษาดัตช์ที่พูดในเบลเยียมมักเรียกว่าภาษาเฟลมิช และมักจะถือเป็นภาษาที่แยกต่างหากกัน.

ใหม่!!: เบลเจียนคองโกและภาษาดัตช์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม

ราชอาณาจักรเบลเยียม เริ่มก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: เบลเจียนคองโกและรายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ลาบราบ็องซอน

ลาบราบ็องซอน (La Brabançonne) หรือ เพลงแห่งบราบ็อง คือเพลงชาติของประเทศเบลเยียม ประพันธ์ขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1830 คำร้องโดยหลุยส์-อาแล็กซ็องดร์ เดอเช (Louis-Alexandre Dechet) ในนามแฝง "แฌนวาล" ("Jenneval") ทำนองโดย ฟร็องซัว ฟาน กอมเปนฮูต (François Van Campenhout) เพลงนี้ได้มีการรับรองเป็นเพลงชาติเบลเยียมอย่างเป็นทางการเมื่อ ค.ศ. 1860 โดยมีคำร้องเป็นภาษาราชการของเบลเยียมทั้ง 3 ภาษา ได้แก่ ภาษาดัตช์ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: เบลเจียนคองโกและลาบราบ็องซอน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีโบดวงที่ 1 แห่งเบลเยียม (Boudewijn Albert Karel Leopold Axel Marie Gustaaf van België ˈbʌu̯dəˌʋɛi̯n ˈɑlbərt ˈkaːrəl ˈleˑjoˑˌpɔlt ˈɑksəl maˑˈri ɣʏsˈtaˑf vɑn ˈbɛlɣijə, Baudouin Albert Charles Léopold Axel Marie Gustave de Belgique bodwɛ̃ albɛʁ ʃaʁl leopɔld aksɛl maʁi ɡystav də bɛlʒik; 7 กันยายน 1930 – 31 กรกฎาคม 1993) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม หลังจากการสละราชสมบัติของพระราชบิดาในปี..

ใหม่!!: เบลเจียนคองโกและสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 (8 เมษายน ค.ศ. 1875 - 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1934) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียมตั้งแต่ปีค.ศ. 1909 ถึงค.ศ. 1934 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ของประเทศเบลเยียมเนื่องจากอยู่ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 (ค.ศ. 1914 - 1918) เมื่อประเทศเบลเยียมเกือบทั้งหมดถูกบุกรุก ยึดครอง และปกครองโดยจักรวรรดิเยอรมัน นอกจากนั้นยังมีอีกเหตุการณ์สำคัญอื่นๆ คือ การร่วมลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซาย, การปกครองเบลเยียมคองโกเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเบลเยียม การปฏิรูปประเทศภายหลังสงคราม และภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ (ค.ศ. 1929 - 1934) สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 เสด็จสวรรคตเนื่องจากทรงประสบอุบัติเหตุจากการปีนเขาในภาคตะวันออกของเบลเยียมในปีค.ศ. 1934 มีพระชนมายุ 58 พรรษา ราชสมบัติจึงตกเป็นของพระโอรสพระองค์ใหญ่ คือ เจ้าชายเลโอโปล.

ใหม่!!: เบลเจียนคองโกและสมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 2 (Léopold Louis Philippe Marie Victor, Leopold Lodewijk Filips Maria Victor, 9 เมษายน ค.ศ. 1835 - 17 ธันวาคม ค.ศ. 1909) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเบลเยียม ประสูติในกรุงบรัสเซลส์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่สอง (แต่มีพระชนมายุมากที่สุดที่ยังมีพระชนม์ชีพ) ของสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 1 และหลุยส์-มารีแห่งออร์เลอ็อง พระองค์สืบราชสมบัติต่อจากพระราชบิดาเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม..

ใหม่!!: เบลเจียนคองโกและสมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม (3 พฤศจิกายน 1901 - 25 กันยายน 1983) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เบลเจียนคองโกและสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก

รณรัฐประชาธิปไตยคองโก (République Démocratique du Congo) หรือบางครั้งมีผู้เรียกว่า คองโก (Congo) และ คองโก-กินชาซา (Congo-Kinshasa) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกากลางและเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่อันดับที่ 2 ของทวีป สาธารณรัฐประชาธิปไตยมีอาณาเขตจรดสาธารณรัฐแอฟริกากลางและซูดานทางทิศเหนือ จรดยูกันดา รวันดา บุรุนดี และแทนซาเนียทางทิศตะวันออก จรดแซมเบียและแองโกลาทางทิศใต้ และจรดสาธารณรัฐคองโกทางทิศตะวันตก โดยมีทางออกสู่ทะเลตามแม่น้ำคองโกไปสู่อ่าวกินี ชื่อ คองโก (หมายถึง "นักล่า") มาจากกลุ่มชาติพันธุ์บาคองโก (Bakongo) ซึ่งอาศัยอยู่บริเวณลุ่มน้ำคองโก ในอดีตสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกเคยเป็นอาณานิคมของเบลเยียม โดยมีชื่อว่า เบลเจียน คองโก (Belgian Congo) ในปี พ.ศ. 2514 หลังจากได้รับเอกราช 11 ปี ก็ได้เปลี่ยนชื่อประเทศจากคองโก-กินชาซา (ใส่ชื่อเมืองหลวงไว้ข้างหลัง เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างประเทศนี้กับ สาธารณรัฐคองโก หรือ (คองโก-บราซาวีล) เป็นสาธารณรัฐซาอีร์ จนถึงปี พ.ศ. 2540 จึงได้เปลี่ยนชื่อกลับมาเป็น "คองโก" ตามเดิม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกต้องเผชิญกับความทุกข์ยากอย่างใหญ่หลวงจากสงครามคองโกครั้งที่ 2 (Second Congo War) อันเป็นความขัดแย้งที่ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 บางครั้งจึงมีผู้เรียกว่า "สงครามโลกแอฟริกา" (African World War).

ใหม่!!: เบลเจียนคองโกและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคม

ในทางการเมืองและประวัติศาสตร์ อาณานิคม (Colony) หมายถึงดินแดนที่อยู่ภายใต้การควบคุมทางการเมืองของรัฐๆหนึ่ง ไม่มีอำนาจอธิปไตยเป็นของตนเอง อาณานิคมสามารถเกิดขึ้นได้จาก 2 กรณีคือ กรณีแรกคือการจัดตั้งอาณานิคม ในอดีต เจ้าอาณานิคมมักส่งคณะบุกเบิกไปตั้งอาณานิคมในดินแดนที่ไม่มีเจ้าของ กรณีที่สองคือการเข้ายึดครองดินแดนซึ่งเดิมอาจเคยเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ของตนเองมาก่อน หรืออาจมีชนพื้นเมืองอาศัยอยู่ก่อน อย่างไรก็ตาม วัตถุประสงค์หลักของการมีอาณานิคม คือการแสวงหาทรัพยากรและผลประโยชน์ป้อนแก่แผ่นดินบ้านเกิดของเจ้าอาณานิคมที่เรียกว่า "แผ่นดินแม่" อาณานิคมไม่เหมือนกับ รัฐหุ่นเชิด หรือ รัฐบริวาร เนื่องจากอาณานิคมไม่ได้มีฐานะเป็น รัฐ จึงไม่มีจุดยืนในเวทีระหว่างประเทศ เนื่องจากฝ่ายบริหารสูงสุดของอาณานิคม ยังคงต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของแผ่นดินแม่ ในปัจจุบัน อาณานิคมที่มีอยู่ทั้งหมดเป็นอาณานิคมโพ้นทะเล รัฐบาลกลางบางประเทศ อาจยินยอมให้อาณานิคมมีรัฐบาลเป็นของตนเองซึ่งเป็นการลดภาระของรัฐบาลกลาง แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า รัฐบาลอาณานิคมจะดูแลทุกอย่างภายในอาณานิคม ด้านกฎหมาย, การคลัง, กลาโหม, ต่างประเทศ ยังคงถูกกำหนดจากรัฐบาลกลาง.

ใหม่!!: เบลเจียนคองโกและอาณานิคม · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ใหม่!!: เบลเจียนคองโกและทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: เบลเจียนคองโกและประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

ใหม่!!: เบลเจียนคองโกและโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

เสรีรัฐคองโก

รีรัฐคองโก (Congo Free State; État indépendant du Congo) เป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ในแอฟริกากลาง ซึ่งอยู่ในการครอบครองส่วนพระองค์ของพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม มีกำเนิดจากการหนุนหลังทางวิทยาศาสตร์และมนุษยธรรมที่น่าดึงดูดแก่องค์การพัฒนาเอกชน สมาคมแอฟริกานานาชาติ (Association internationale africaine, AIA) ของพระเจ้าเลออปอลที่ 2 พระองค์ทรงกระชับการควบคุมลุ่มน้ำคองโกส่วนมากผ่าน AIA และองค์การสืบเนื่องทั้งหลาย องค์การสุดท้าย คือ สมาคมคองโกนานาชาติ (Association internationale du Congo, AIC) เป็นเครื่องมือส่วนพระองค์ของพระเจ้าเลออปอลที่ 2 เนื่องจากทรงเป็นผู้ถือหุ้นแต่พระองค์เดียวและประธาน พระองค์จึงได้ใช้องค์การเพื่อรวบรวมและขายงา ยางและแร่เพิ่มขึ้นในลุ่มน้ำคองโกตอนบน แม้องค์การดังกล่าวจะถูกจัดตั้งขึ้นบนความเข้าใจว่าวัตถุประสงค์คือ เพื่อยกระดับประชาชนท้องถิ่นและพัฒนาพื้นที่ พระองค์ให้นามเสรีรัฐคองโกแก่ AIC ใน..

ใหม่!!: เบลเจียนคองโกและเสรีรัฐคองโก · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

คองโกของเบลเยียมเบลเยียมคองโก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »