โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เนื้อเยื่อและโรคเหน็บชา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เนื้อเยื่อและโรคเหน็บชา

เนื้อเยื่อ vs. โรคเหน็บชา

นื้อเยื่อ ในทางชีววิทยาคือกลุ่มของเซลล์ที่ทำหน้าที่ร่วมกันในสิ่งมีชีวิต วิชาการศึกษาเนื้อเยื่อ เรียกว่า มิญชวิทยา (Histology) หรือ จุลกายวิภาคศาสตร์ (Microanatomy) หรือหากเป็นการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับโรคเรียกว่า จุลพยาธิวิทยา (histopathology) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเนื้อเยื่อโดยทั่วไปคือ แท่งขี้ผึ้ง (wax block), สีย้อมเนื้อเยื่อ (tissue stain), กล้องจุลทรรศน์แบบแสง (optical microscope) ซึ่งต่อมามีการพัฒนาเป็นกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (electron microscopy), immunofluorescence, และการตัดตรวจเนื้อเย็นแข็ง (frozen section) เป็นเทคนิคและความรู้ใหม่ที่เพิ่งกำเนิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ ด้วยเครื่องมือต่างๆ เหล่านี้เราสามารถตรวจพยาธิสภาพ เพื่อการวินิจฉัยและพยากรณ์โรคได้. รคเหน็บชา (beriberi) หมายถึงกลุ่มอาการที่เกิดจากการขาดวิตามินบี1 (ไทอามีน) จากอาหารเป็นหลัก โรคเหน็บชาปกติแบ่งเป็นสามอย่างสัมพันธ์กับระบบร่างกายที่เกี่ยวข้องเป็นหลัก (ระบบประสาทนอกส่วนกลางหรือระบบหัวใจหลอดเลือด) หรืออายุของบุคคล (ทารก) โรคเหน็บชาเป็นภาวะที่เกี่ยวข้องกับการขาดไทอามีนชนิดหนึ่งจากหลายชนิดที่อาจเกิดร่วมกัน ได้แก่ โรคสมองเวร์นิคา (กระทบระบบประสาทส่วนกลางเป็นหลัก) กลุ่มอาการคอร์ซาคอฟฟ์ (ภาวะเสียความจำโดยมีอาการแสดงทางจิตเวชอื่น) และกลุ่มอาการเวร์นิคา-คอร์ซาคอฟฟ์ (มีทั้งอาการทางประสาทและจิตเวช) ในอดีต พบโรคเหน็บชาทั่วไปในภูมิภาคที่รับประทานข้าวขาวขัดสีเป็นหลัก ข้าวชนิดนี้มีการนำเปลือก (husk) ออกเพื่อยืดอายุการเก็บรักษา แต่ยังมีผลข้างเคียงที่ไม่ได้ตั้งใจคือ เอาแหล่งไทอามีนหลักไปด้ว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เนื้อเยื่อและโรคเหน็บชา

เนื้อเยื่อและโรคเหน็บชา มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ระบบประสาทนอกส่วนกลาง

ระบบประสาทนอกส่วนกลาง

ระบบประสาทรอบนอก (สีฟ้า) ระบบประสาทนอกส่วนกลาง (peripheral nervous system: PNS) เป็นระบบประสาทที่แตกแขนงออกมาจากระบบประสาทกลาง ประกอบด้วย ประสาทสมอง (cranial nerve) ประสาทไขสันหลัง (spinal nerve) ประสาทกาย (somatic nerve) และเซลล์แกงเกลียน (ganglion cell) โดยระบบประสาทรอบนอกนั้น สามารถแบ่งเป็นระบบประสาทกาย (somatic nervous system) และระบบประสาทอิสระ (autonomic nervous system).

ระบบประสาทนอกส่วนกลางและเนื้อเยื่อ · ระบบประสาทนอกส่วนกลางและโรคเหน็บชา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เนื้อเยื่อและโรคเหน็บชา

เนื้อเยื่อ มี 35 ความสัมพันธ์ขณะที่ โรคเหน็บชา มี 7 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.38% = 1 / (35 + 7)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เนื้อเยื่อและโรคเหน็บชา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »