เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เท็นโชอิงและโทกูงาวะ อิเอซาดะ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เท็นโชอิงและโทกูงาวะ อิเอซาดะ

เท็นโชอิง vs. โทกูงาวะ อิเอซาดะ

ท็นโชอิง (天璋院, Tenshōin) (5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1835—20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1883) หรือที่รู้จักกันในนามว่า "อะสึโกะ"(篤子) เป็นภริยาของโชกุนโทะกุงะวะ อิเอะซะดะ (徳川 家定) โชกุนลำดับที่ 13 ของรัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะแห่งญี่ปุ่น. โทะกุงะวะ อิเอะซะดะ เป็น โชกุน คนที่ 13 แห่ง ตระกูลโทะกุงะวะ (ช่วงสมัย: 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1837 ถึง 14 สิงหาคม ค.ศ. 1853) เป็นบุตรชายคนที่สี่ของโชกุนโทะกุงะวะ อิเอะโยะชิ เกิดกับนางฮงจูอิน (Honju-in, 本寿院) ในสมัยของท่านต้องเผชิญกับภัยอันตรายทั้งจากภายในและนอกประเทศ เช่น ในปีแรกของการดำรงตำแหน่งคือในปี ค.ศ. 1854 (พ.ศ. 2397) ญี่ปุ่นถูกกองทัพเรือสหรัฐเข้าปิดล้อมอ่าวโตเกียวเพื่อบังคับให้เปิดประเทศ และภัยจากในประเทศคือกลุ่มคนบางกลุ่ม ซึ่งนำโดยเหล่า ซามูไร และ ไดเมียว ที่ต้องการโค่นล้ม ตระกูลโทะกุงะวะ โชกุน โทะกุงะวะ อิเอะซะดะ ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1858 ขณะอายุได้เพียง 34 ปีโดยไร้ทายาท แต่ก่อนจะเสียชีวิตโชกุนอิเอะซะดะได้แต่งตั้งให้ โทะกุงะวะ อิเอะโมจิ ผู้เป็นญาติขึ้นเป็นโชกุนคนใหม่สืบต่อไป หมวดหมู่:โชกุน หมวดหมู่:ตระกูลโทะกุงะวะ หมวดหมู่:ยุคเอะโดะ หมวดหมู่:บุคคลในยุคเอะโดะ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เท็นโชอิงและโทกูงาวะ อิเอซาดะ

เท็นโชอิงและโทกูงาวะ อิเอซาดะ มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2396พ.ศ. 2401รัฐบาลเอโดะตระกูลโทกูงาวะโชกุนโทกูงาวะ อิเอโมจิไดเมียว

พ.ศ. 2396

ทธศักราช 2396 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1853.

พ.ศ. 2396และเท็นโชอิง · พ.ศ. 2396และโทกูงาวะ อิเอซาดะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2401

ทธศักราช 2401 ตรงกับคริสต์ศักราช 1858 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

พ.ศ. 2401และเท็นโชอิง · พ.ศ. 2401และโทกูงาวะ อิเอซาดะ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเอโดะ

รัฐบาลเอโดะ หรือ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ เป็นฝ่ายบริหารของประเทศญี่ปุ่นซึ่งใช้ระบอบศักดินา สถาปนาโดยโทกูงาวะ อิเอะยะสุ (徳川家康 Tokugawa Ieyasu) มีผู้ปกครองสูงสุดเป็นโชกุน (将軍 shōgun) ซึ่งต้องมาจากตระกูลโทกูงาวะ (徳川氏 Tokugawa-shi) เท่านั้น ในสมัยที่ประเทศญี่ปุ่นถูกปกครองโดยรัฐบาลโชกุนนั้น จะเรียกว่ายุคเอโดะ (江戸時代 edo-jidai) ตามชื่อเมืองเอโดะ ซึ่งรัฐบาลโชกุนสถาปนาให้เป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ ปัจจุบัน คือกรุงโตเกียว (東京 Tōkyō) มีปราสาทเอโดะ (江戸城 Edo-jō) เป็นศูนย์กลางการปกครองตั้งแต่ ค.ศ. 1603 - 1868 จนกระทั่งถูกสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ (明治天皇 Meiji-tennō) ล้มล้างไปในการปฏิรูปสมัยเมจิ (明治維新 Meiji Ishin) หลังจากยุคเซงโงะกุ (戦国時代 Sengoku-jidai) หรือยุคไฟสงคราม โอดะ โนะบุนะงะ (織田 信長 Oda Nobunaga) และโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ (豊臣 秀吉 Toyotomi Hideyoshi) ได้ร่วมกันรวมอำนาจสู่ศูนย์กลาง และตั้งเป็นรัฐบาลกลางขึ้นอีกครั้งในยุคอะซึจิ-โมะโมะยะมะ (あづちももやまじだい Azuchi momoyama jidai) ซึ่งเป็นยุคสั้นๆ ก่อนยุคเอโดะ ต่อมา หลังจากยุทธการเซะกิงะฮะระ (関ヶ原の戦い Sekigahara no Tatakai) ซึ่งเป็นการรบครั้งใหญ่ในค.ศ. 1600 การปกครองและอำนาจทั้งหมด ได้ตกอยู่ในมือของโทกูงาวะ อิเอะยะสุโดยเบ็ดเสร็จ และสถาปนาตนเองเป็นโชกุนในปี ค.ศ. 1603 ซึ่งเป็นไปตามประเพณีโบราณ ที่ผู้เป็นโชกุนจะต้องสืบเชื้อสายจากต้นตระกูลมินะโมะโตะ (源 Minamoto) ในยุคของโทกูงาวะ ต่างจากยุคโชกุนก่อนๆ คือมีการนำระบบชนชั้นที่เริ่มใช้โดยโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ มาใช้อีกครั้งอย่างเข้มงวด โดยชนชั้นนักรบ หรือซามูไร (侍 Samurai) อยู่บนสุด ตามด้วยชาวนา ช่างฝีมือ และพ่อค้า การใช้ระบบชนชั้นอย่างเข้มงวดและไม่ยืดหยุ่นได้ทำให้เกิดจลาจลมาตลอดสมัย ภาษีที่เรียกเก็บจากชนชั้นชาวนานั้น อยู่ในอัตราคงที่โดยไม่คำนึงถึงอัตราเงินเฟ้อหรือการเปลี่ยนแปลงอื่นๆของค่าเงิน ส่งผลให้รายได้ภาษีที่เรียกเก็บจากชนชั้นซามูไร ผู้เป็นเจ้าของที่ดินมีมูลค่าลดลงเรื่อยๆตลอดยุค ซึ่งสาเหตุนี้ ก่อให้เกิดการเผชิญหน้าระหว่างซามูไรผู้ทรงเกียรติแต่ฐานะทางการเงินต่ำลงเรื่อยๆจากการจ่ายภาษี กับชาวนาผู้มีอันจะกิน เกิดเป็นการปะทะกันหลายต่อหลายครั้งที่เริ่มจากเหตุการณ์เล็กๆรุกลามเป็นเหตุการณ์วุ่นวาย อย่างไรก็ตาม ไม่มีสิ่งใดเปลี่ยนแปลงระบบสังคมยุคเอโดะได้ ตราบจนการเข้ามาของชาวตะวันตก เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 กลุ่มไดเมียวผู้มีอำนาจ เช่น ตระกูลชิมะสึ (島津氏 Shimazu-shi) ได้ร่วมมือกับสมเด็จพระจักรพรรดิและพระบรมวงศานุวงศ์ ซึ่งในสมัยเอโดะเคยทรงเพียงศักดิ์แต่ไร้อำนาจ เพื่อโค่นล้มระบอบโชกุนในโดยสงครามโบะชิน (戊辰戦争 Boshin Sensō) ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปเมจิโดยจักรพรรดิเมจิ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะถูกล้มล้างโดยสมบูรณ์ในค.ศ. 1868 โดยมีโทกูงาวะ โยชิโนบุ (徳川 慶喜 Tokugawa Yoshinobu) เป็นโชกุนคนที่ 15 และเป็นโชกุนคนสุดท้ายของญี่ปุ่น จากนั้น ญี่ปุ่นก็เข้าสู่ยุคเมจิ (明治時代 Meiji-jidai)อันมีการฟื้นฟูราชวงศ์มายังเมืองเอโดะ และเปลี่ยนชื่อเป็นกรุงโตเกียวดังเช่นปัจจุบัน.

รัฐบาลเอโดะและเท็นโชอิง · รัฐบาลเอโดะและโทกูงาวะ อิเอซาดะ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลโทกูงาวะ

ตระกูลโทกูงาวะ เป็นตระกูลไดเมียวที่ทรงอำนาจของญี่ปุ่นในอดีต เป็นเชื้อสายของ จักรพรรดิเซวะ ผ่านราชสกุลฟุจิวะระและราชสกุลมินะโมโต..

ตระกูลโทกูงาวะและเท็นโชอิง · ตระกูลโทกูงาวะและโทกูงาวะ อิเอซาดะ · ดูเพิ่มเติม »

โชกุน

กุน เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการทหารแห่งญี่ปุ่นระหว่าง..

เท็นโชอิงและโชกุน · โชกุนและโทกูงาวะ อิเอซาดะ · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ อิเอโมจิ

โทะกุงะวะ อิเอะโมะชิ (ญี่ปุ่น: 徳川家茂) เป็นโชกุนคนที่ 14 เกิดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1846 ที่ย่าน มินะโตะ ดำรงตำแหน่งโชกุนสืบต่อจาก โทะกุงะวะ อิเอะซะดะ เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 1858 ขณะอายุได้เพียง 12 ปีตลอด 8 ปีแห่งการดำรงตำแหน่งโชกุนอิเอะโมะชิต้องเผชิญภัยทั้งภายในและภายนอกโทะกุงะวะ อิเอะโมะชิถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม ค.ศ. 1866 ขณะอายุได้เพียง 20 ปี 1 เดือน 12 วัน หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2389 หมวดหมู่:โชกุน หมวดหมู่:การฟื้นฟูสมัยเมจิ หมวดหมู่:ตระกูลโทะกุงะวะ หมวดหมู่:บุคคลในยุคเอะโดะ.

เท็นโชอิงและโทกูงาวะ อิเอโมจิ · โทกูงาวะ อิเอซาดะและโทกูงาวะ อิเอโมจิ · ดูเพิ่มเติม »

ไดเมียว

ไดเมียว (แปลว่า มูลนาย) นั้นเป็นตำแหน่งเจ้าเมืองที่มีความสำคัญรองลงมาจากโชกุนและไดเมียวจากหลายตระกูลก็ได้เป็นโชกุนในเวลาต่อมา พวกตระกูลที่มีฐานะเป็นไดเมียวเรียกกันว่า โคตรตระกูล หมวดหมู่:ซะมุไร หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:ไดเมียว.

เท็นโชอิงและไดเมียว · โทกูงาวะ อิเอซาดะและไดเมียว · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เท็นโชอิงและโทกูงาวะ อิเอซาดะ

เท็นโชอิง มี 36 ความสัมพันธ์ขณะที่ โทกูงาวะ อิเอซาดะ มี 16 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 13.46% = 7 / (36 + 16)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เท็นโชอิงและโทกูงาวะ อิเอซาดะ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: