ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เทเลริและไมอา
เทเลริและไมอา มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): อุลโมธิงโกลทวิพฤกษาแห่งวาลินอร์ตำนานแห่งซิลมาริลโอโรเมเอลฟ์ (มิดเดิลเอิร์ธ)เจ. อาร์. อาร์. โทลคีนเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์
อุลโม
อุลโม (Ulmo จาก ภาษาวาลาริน Ulubôz, Ullubôz หรือ Ulumō) เป็นตัวละครตัวหนึ่งในปกรณัมของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ทรงเป็นหนึ่งในเทพวาลาร์ผู้ทรงเป็นเจ้าแห่งสมุทร เทพองค์นี้หากเปรียบเทียบกับเทพนิยายก็จะมีสถานะเทียบเท่ากับเทพโพไซดอนของเทพนิยายกรีก และเทพเนปจูนของเทพนิยายโรมัน เทพอุลโมทรงอยู่อย่างสันโดษใต้น้ำ-พื้นพิภพ มิได้อาศัยอยู่ที่ใดที่หนึ่งเป็นเวลานาน ตัวพระองค์เองมิได้ชื่นชอบการเดินบนพื้นโลกมากนัก และน้อยนักที่จะสวมอาภรณ์ตามมาตรฐานของเหล่าวาลาร์องค์อื่น เทพอุลโมทรงรักใคร่ทั้งชาวเอลดาร์ (เอลฟ์) และเอไดน์ (มนุษย์) มิเคยทอดทิ้งพวกเขาเลยแม้แต่ในยามที่พวกเขาต้องตกอยู่ใต้ความพิโรธของเหล่าวาลาร์ เทพอุลโมทรงเครื่องบรรเลงดนตรีอันยิ่งใหญ่จากแตรเขาสัตว์ ชื่อว่าอุลุมูรี (Ulumúri) ประดิษฐ์ขึ้นมาจากเปลือกหอยสีขาว และผู้ซึ่งได้สดับดนตรีนี้ยังคงได้ยินกังวาลอยู่ในหัวใจชั่วนิรันดร์ แล้วจะโหยหาท้องทะเลจนไม่อาจจากไป แต่โดยส่วนใหญ่แล้วเทพอุลโมจะตรัสแก่ผู้อาศัยในโลกด้วยสุรเสียงซึ่งได้ยินเป็นเพียงแค่เสียงของสายน้ำ ด้วยเหตุที่ว่าสิ่งที่เกี่ยวกับน้ำทั้งหมดต่างอยู่ในอำนาจปกครองของท่าน เหล่าพรายจึงกล่าวกันว่าจิตวิญญาณของเทพอุลโมนั้นไหลอยู่ในเส้นเลือดแห่งพื้นพิภพ ดังนั้นข่าวต่างๆ เกี่ยวกับความเดือดเนื้อร้อนใจและความทุกข์เข็ญของโลกจึงมาถึงเทพอุลโมได้แม้ในก้นบึ้งของมหาสมุทร ซึ่งอาจจะแม้แต่เทพมานเวเองยังมิอาจทรงรับรู้ถึงได้.
อุลโมและเทเลริ · อุลโมและไมอา ·
ธิงโกล
อลู ธิงโกล (เควนยา) หรือ เอลเว ซิงโกลโล (ซินดาริน) เป็นตัวละครตัวหนึ่งในวรรณกรรมของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ในปกรณัมชุดมิดเดิลเอิร์ธ ปรากฏในหนังสือ ซิลมาริลลิออน และ ตำนานบุตรแห่งฮูริน ได้ชื่อว่าเป็นบุตรแห่งอิลูวาทาร์ที่สูงใหญ่และมีพลังอำนาจมากที่สุด เป็นรองแต่เพียงเฟอานอร์เท่านั้น ธิงโกลเป็นผู้นำของเอลฟ์ชาวเทเลริ เป็นตัวแทนผู้ได้รับเลือกจากเทพโอโรเมไปยังแผ่นดินอมตะเพื่อยลทวิพฤกษาแห่งวาลินอร์ พร้อมกันกับอิงเว และฟินเว หลังจากนั้นผู้นำเอลฟ์ทั้งสามจึงกลับมาชักชวนพลเมืองของตนให้เดินทางออกจากทะเลสาบคุยวิเอเนนไปยังแผ่นดินอมตะ โดยที่ชาวเทเลริเดินทางอยู่ท้ายสุด เมื่อไปใกล้จะถึงริมฝั่งมหาสมุทรใหญ่ ธิงโกลได้ล่วงหน้าออกจากกลุ่มเพื่อไปเยี่ยมฟินเว กษัตริย์โนลดอร์ สหายของตน ระหว่างทางเขาได้พบกับเทพีเมลิอันในป่า แล้วทั้งสองตกอยู่ใต้มนตร์เสน่หาที่นั้น พลเมืองของธิงโกลค้นหาเขาไม่พบ จนไม่สามารถเดินทางข้ามมหาสมุทรใหญ่ไปกับเอลฟ์กลุ่มอื่นๆ ได้ หลังจากนั้น ชาวเทเลริที่ตกค้างอยู่จึงตั้งถิ่นฐานที่ริมมหาสมุทรใหญ่ ในแผ่นดินเบเลริอันด์ เอลฟ์กลุ่มนี้ได้ชื่อว่า ชาวซินดาร์ มีธิงโกลและเมลิอัน เป็นราชาและราชินี อาณาจักรของพวกเขาเรียกว่า โดริอัธ ธิงโกลกับเมลิอันมีธิดาด้วยกันหนึ่งองค์ คือ ลูธิเอน.
ธิงโกลและเทเลริ · ธิงโกลและไมอา ·
ทวิพฤกษาแห่งวาลินอร์
"''Creation of the Two Trees''" ในปกรณัมของ เจ.อาร์.อาร์. โทลคีน ทวิพฤกษาแห่งวาลินอร์ (Two Trees of Valinor) เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ที่สร้างขึ้นโดยเทพียาวันนา ได้แก่ เทลเพริออน (Telperion) และ เลาเรลิน (Laurelin) อันเป็นพฤกษาเงินและทองซึ่งนำแสงสว่างมาสู่ดินแดนของ วาลาร์ ในโบราณกาล พวกมันถูกทำลายโดย เมลคอร์ และ อุงโกเลียนท์ แต่วาลาร์นำดอกไม้และผลสุดท้ายของพวกมันไปสร้างเป็น ดวงจันทร์ และ ดวงอาทิต.
ทวิพฤกษาแห่งวาลินอร์และเทเลริ · ทวิพฤกษาแห่งวาลินอร์และไมอา ·
ตำนานแห่งซิลมาริล
ตำนานแห่งซิลมาริล (The Silmarillion) เป็นนิยายจินตนิมิต แต่งโดย เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน (ผู้แต่งเรื่อง เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์) เริ่มประพันธ์โครงเรื่องตั้งแต่ปี..
ตำนานแห่งซิลมาริลและเทเลริ · ตำนานแห่งซิลมาริลและไมอา ·
โอโรเม
โอโรเม (Oromë) เป็นตัวละครตัวหนึ่งในปกรณัมของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน โดยเป็นหนึ่งในเทพวาลาร์ ชื่อในภาษาเควนยา มีความหมายว่า "ผู้เป่าแตรอันกึกก้อง" พระองค์มีแตรเขาสัตว์ประจำพระองค์ชื่อว่า วาลาโรมา (Valaróma) เทพโอโรเมเป็นเทพแห่งป่า ทรงมีชื่อในภาษาอื่นๆ และฉายามากมาย เช่น อะราว (Araw - ภาษาซินดาริน), อัลดารอน (Aldaron), อะรัม (Arum), เบมา (Béma), เทารอน (Tauron), อาราเม (Arāmē) พระองค์ได้รับสมัญญาว่าเป็น นายพรานแห่งเหล่าวาลาร์, นักขี่ม้าผู้ยิ่งใหญ่ และ เจ้าแห่งพนาไพร พระองค์เป็นเชษฐาของเทพีเนสซา และทรงอภิเษกกับเทพีวานา เทพโอโรเมมีม้าทรงสีขาวปลอดนามว่า นาฮาร์ (Nahar) ซึ่งเป็นชื่อที่พวกเอลฟ์เรียกตามเสียงร้องของมัน ในระหว่างยุคแห่งพฤกษาซึ่งเหล่าวาลาร์พากันไปประทับอยู่ที่วาลินอร์บนทวีปอามัน แต่เทพโอโรไมไม่ทรงละทิ้งมิดเดิ้ลเอิร์ธ พระองค์มักทรงม้าไปตามผืนแผ่นดินเพื่อกำราบเหล่ามาร พละกำลังของพระองค์เป็นรองเพียงแต่เทพทุลคัส แต่มีพระโทสะรุนแรงเหลือคณานับ การที่พระองค์ยังคงเที่ยวท่องอยู่บนมิดเดิ้ลเอิร์ธ จึงทรงเป็นวาลาองค์แรกที่ได้พบพวกเอลฟ์ตื่นขึ้นที่ริมทะเลสาบคุยวิเอเนน และทรงตั้งชื่อให้แก่พวกนั้นว่า เอลดาร์ (Eldar) ซึ่งหมายถึง ผองชนแห่งแสงดาว (เพราะเวลานั้นบนท้องฟ้าของมิดเดิ้ลเอิร์ธมีแต่แสงดาวส่องสว่าง ส่วนดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ยังไม่ได้ถูกสร้างขึ้น) เมื่อโอโรเมทรงนำข่าวนี้กลับไปแจ้งเหล่าวาลาร์ ก็ได้รับมอบหมายหน้าที่ให้เกลี้ยกล่อมพวกเอลฟ์ให้เดินทางไปยังทวีปอามัน ทรงเป็นผู้นำพาพวกเอลฟ์ในการเดินทางครั้งใหญ่ของพวกเขา หมวดหมู่:ตัวละครในซิลมาริลลิออน en:Vala (Middle-earth)#Oromë ja:ヴァラ#オロメ la:Ainur#Valar pl:Valar#Oromë ru:Валар#Оромэ sv:Valar (Tolkien)#Oromë.
เทเลริและโอโรเม · โอโรเมและไมอา ·
เอลฟ์ (มิดเดิลเอิร์ธ)
อลฟ์ (elf) ตามความหมายในจินตนิยายชุดมิดเดิลเอิร์ธ ของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เป็นสิ่งมีชีวิตที่ถูกสร้างขึ้นโดยมหาเทพอิลูวาทาร์ มีชีวิตยืนยาวเท่ากับอายุของโลก จึงเสมือนหนึ่งว่าเป็นอมตะ คำว่า 'เอลฟ์' (Elf) เป็นคำที่โทลคีนเลือกมาจากตำนานโบราณเพื่อใช้แทนคำศัพท์แท้จริงอันเป็นชื่อของชนเผ่านี้ คือ เอลดาร์ (Eldar) ซึ่งเป็นคำในภาษาเควนยา หมายถึง 'ประชากรแห่งแสงดาว'.
เทเลริและเอลฟ์ (มิดเดิลเอิร์ธ) · เอลฟ์ (มิดเดิลเอิร์ธ)และไมอา ·
เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน
. อาร.
เจ. อาร์. อาร์. โทลคีนและเทเลริ · เจ. อาร์. อาร์. โทลคีนและไมอา ·
เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์
อะลอร์ดออฟเดอะริงส์ (The Lord of the Rings) เป็นนิยายแฟนตาซีขนาดยาว ประพันธ์โดยศาสตราจารย์ชาวอังกฤษ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เป็นนิยายที่ต่อเนื่องกับนิยายชุดก่อนหน้านี้ของโทลคีน คือ เรื่อง There and Back Again หรือที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เดอะฮอบบิท แต่ได้ขยายโครงเรื่องซับซ้อนไปกว่า เดอะฮอบบิท มาก โทลคีนแต่งเรื่องนี้ขึ้นในช่วงปี..
เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์และเทเลริ · เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์และไมอา ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ เทเลริและไมอา มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง เทเลริและไมอา
การเปรียบเทียบระหว่าง เทเลริและไมอา
เทเลริ มี 33 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไมอา มี 24 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 14.04% = 8 / (33 + 24)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เทเลริและไมอา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: