ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เทือกเขากลางสมุทรและเนื้อโลก
เทือกเขากลางสมุทรและเนื้อโลก มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฐานธรณีภาคเปลือกโลก
ฐานธรณีภาค
นธรณีภาค (Asthenosphere; มีรากศัพท์จากภาษากรีก "asthenēs" แปลว่า "ไม่แข็งแรง" และ "sphere" แปลว่า "โลก") เป็นส่วนที่มีลักษณะยืดหยุ่นตั้งอยู่ในชั้นหินหนืดตอนบนของโลกและตั้งอยู่ใต้ชั้นธรณีภาค ฐานธรณีภาคมีขอบเขตที่ระดับความลึกระหว่าง 100 – 200 กิโลเมตรจากชั้นพื้นผิว แต่สามารถขยายตัวไปจนถึงระดับความลึก 400 กิโลเมตร.
ฐานธรณีภาคและเทือกเขากลางสมุทร · ฐานธรณีภาคและเนื้อโลก ·
เปลือกโลก
ภาพหน้าตัดของโลกทั้งหมด เปลือกโลก (Crust) เป็นเปลือกแข็งชั้นนอกสุดของโครงสร้างโลก มีทั้งที่เป็นแผ่นดิน และมหาสมุทร มีความหนาประมาณ 5 - 40 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ เปลือกโลกภาคพื้นทวีป (Continental Crust) เป็นหินแกรนิต มักมีความหนามาก มีความหนาแน่นต่ำ ประกอบด้วยแร่ อะลูมินา และซิลิกา เป็นส่วนใหญ่ ทำให้มีชื่อเรียกว่า ชนิดไซอัล (SIAL) และเปลือกโลกภาคพื้นสมุทร (Oceanic Crust) เป็นหินบะซอลต์ มักจะมีความหนาน้อยกว่าเปลือกโลกภาคพื้นทวีป มีความหนาแน่นมากกว่า เนื่องจากประกอบด้วยแร่ แมกนีเซียม และซิลิกา เป็นส่วนใหญ่ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ชั้นไซมา (SIMA) แผ่นของเปลือกโลก (Crust of the Earth) ประกอบไปด้วยความหลากหลายของหินอัคนี หินแปร หินตะกอน รองรับด้วยชั้นเนื้อโลก Mantle ส่วนใหญ่ประกอบด้วยหิน peridotite หินที่มีความหนาแน่น และมีอยู่มากในเปลือกโลก รอยต่อระหว่างชั้นเปลือกโลก และชั้นเนื้อโลก หรือในทางธรณีวิทยาเรียกว่า ความไม่ต่อเนื่องของโมโฮโลวิคซิค (Mohorovicic’s discontinuity) คือเขตแดนที่ใช้เปรียบเทียบพฤติกรรมของคลื่นไหวสะเทือน หมวดหมู่:ธรณีวิทยา หมวดหมู่:เปลือกโลก.
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ เทือกเขากลางสมุทรและเนื้อโลก มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง เทือกเขากลางสมุทรและเนื้อโลก
การเปรียบเทียบระหว่าง เทือกเขากลางสมุทรและเนื้อโลก
เทือกเขากลางสมุทร มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ เนื้อโลก มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 10.53% = 2 / (13 + 6)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เทือกเขากลางสมุทรและเนื้อโลก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: