ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เตียวสงและเล่าเจี้ยง
เตียวสงและเล่าเจี้ยง มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): เล่าปี่เตียวล่อ
เล่าปี่
หลิว เป้ย์ ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ เล่าปี่ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 161 – 10 มิถุนายน ค.ศ. 223) ชื่อรองว่า เสวียนเต๋อ (玄德) เป็นขุนศึกสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออกผู้ก่อตั้งรัฐฉู่ฮั่น/จ๊กฮั่น (蜀漢) ในสมัยสามก๊กและได้เป็นผู้ปกครองคนแรกของรัฐดังกล่าว แม้จะเริ่มต้นด้วยความล้มเหลวเมื่อเทียบกับคู่แข่ง ทั้งยังปราศจากขุมกำลังและสถานะทางสังคมดังที่คู่แข่งมี แต่นานวันเข้า หลิว เป้ย์ ก็ได้การสนับสนุนจากกลุ่มผู้ภักดีต่อราชวงศ์ฮั่นซึ่งต่อต้านเฉา เชา/โจโฉ (曹操) ขุนศึกผู้สามารถควบคุมการปกครองส่วนกลางรวมถึงพระเจ้าฮั่นเสี่ยน/ฮั่นเหี้ยน (漢獻帝) จักรพรรดิหุ่นเชิด ไว้ได้ ครั้นแล้ว หลิว เป้ย์ ก็ขับเคลื่อนขบวนการประชาชนเพื่อรื้อฟื้นราชวงศ์ฮั่น จนก่อตั้งดินแดนของตนซึ่งกินอาณาเขตที่ปัจจุบันคือกุ้ยโจว ฉงชิ่ง ซื่อชวน หูหนาน และบางส่วนของกานซู่กับหูเป่ย์ ในทางวัฒนธรรมแล้ว สืบเนื่องความโด่งดังของนวนิยายสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 14 เรื่อง สามก๊ก หลิว เป้ย์ จึงได้รับการมองว่า เป็นผู้ปกครองที่โอบอ้อมอารี รักใคร่ปวงประชา และเลือกสรรคนดีเข้าปกครองบ้านเมือง เรื่องแต่งเหล่านี้เป็นไปเพื่อยกตัวอย่างเชิงสดุดีผู้ปกครองที่ยึดมั่นคุณธรรมแบบขงจื๊อ แต่ในทางประวัติศาสตร์แล้ว หลิว เป้ย์ ยึดถือเล่าจื๊อมากกว่า เฉกเช่นเดียวกับผู้ปกครองหลาย ๆ คนแห่งราชวงศ์ฮั่น ทั้งเขายังเป็นนักการเมืองที่ชาญฉลาด เป็นผู้นำที่ความสามารถฉายออกมาในแบบนักนิตินิยม ความนับถือขงจื๊อของหลิว เป้ย์ นั้นได้รับการแต่งเติมมากกว่าของคู่แข่งอย่างเฉา พี/โจผี (曹丕) กับซุน เฉวียน/ซุนกวน (孫權) ผู้ซึ่งบริหารบ้านเมืองอย่างนิตินิยมเต็มรูปแ.
เตียวสงและเล่าปี่ · เล่าปี่และเล่าเจี้ยง ·
เตียวล่อ
ตียวฬ่อ (Zhang Lu; 张鲁) เป็นเจ้านครฮันต๋ง และเป็นศัตรูคู่แค้นกับตระกูลของ เล่าเจี้ยง เมื่อครั้งเล่าปี่บุกตีเสฉวนของเล่าเจี้ยงด้วยอุบายอันแยบยลของขงเบ้งทำให้เล่าเจี้ยงต้องละทั้งความเป็นศัตรูและเข้าเป็นพวกกับเตียวล่อในตอนนั้นพวกม้าเฉียวที่หนีกองทัพของโจโฉก็ได้เข้ามาพึ่งกับเตียวล่อ เตียวล่อจึงให้ม้าเฉียวไปช่วยเล่าเจี้ยง แต่เหตุการณ์กลับตาลปัตรเมื่อขงเบ้งเห็นม้าเฉียวเป็นคนมีความสามารถและเป็นศัตรูกับโจโฉ จึงวางแผนให้ม้าเฉียวมาเป็นพวกและก็สามารถยึดเสฉวนได้ โจโฉกลัวว่าหากเล่าปี่ยึดเสฉวนได้จะขยายอำนาจไปยึดเมืองฮันต๋งต่อ โจโฉจึงยกทัพมาที่ฮันต๋ง เตียวล่อรู้ดีว่ากองทัพของตนไม่มีทางสู้กับโจโฉได้ แต่เหมือนสวรรค์บันดาลเมื่อ บังเต๊ก ทหารเอกของม้าเฉียวยังอยู่ เพราะตอนที่ม้าเฉียวไปช่วยเล่าเจี้ยงตอนนั้นบังเต๊กป่วยจึงไม่ได้ไปด้วย เตียวล่อจึงให้บังเต๊กเป็นแม่ทัพไปรบกับโจโฉ แต่ก็ถูกกลลวงของโจโฉจึงต้องเป็นพวกกับโจโฉ เตียวโอย น้องชายจึงอาสาไปรบแทนแต่ก็ถูกเคาทูฆ่าตายในสนามรบ เตียวล่อหมดทางสู้จึงยอมจำนนต่อโจโฉ นครฮันต๋งจึงตกอยู่ภายใต้อำนาจของโจโฉแต่สุดท้ายเมืองฮันต๋งก็ถูกเล่าปี่ยึดไปได้ด้วยกลยุทธ์อันล้ำลึกของขงเบ้ง.
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ เตียวสงและเล่าเจี้ยง มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง เตียวสงและเล่าเจี้ยง
การเปรียบเทียบระหว่าง เตียวสงและเล่าเจี้ยง
เตียวสง มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ เล่าเจี้ยง มี 16 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 9.09% = 2 / (6 + 16)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เตียวสงและเล่าเจี้ยง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: