โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เดอะโรลลิงสโตนส์และเฮฟวีเมทัล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เดอะโรลลิงสโตนส์และเฮฟวีเมทัล

เดอะโรลลิงสโตนส์ vs. เฮฟวีเมทัล

อะโรลลิงสโตนส์ (The Rolling Stones) เป็นวงร็อกอังกฤษ ก่อตั้งวงในปี 1962 ในลอนดอน โดยหัวหน้าวงดั้งเดิม ไบรอัน โจนส์ และนักเปียโน เอียน สจ๊วต ร่วมด้วยนักร้อง มิก แจ็กเกอร์ และมือกีตาร์ คีธ ริชาร์ดส ในช่วงแรกแจ็กเกอร์และริชาร์ดส ร่วมในฐานะผู้ร่วมเขียนเพลง จากนั้นเริ่มนำวงหลังจากเกิดปัญหาและความไม่เอาแน่เอานอนของโจนส์ ต่อจากนั้น มือเบส บิลล์ ไวแมน และมือกลอง ชาร์ลีย์ วัตส์ ก็เข้ามาเป็นสมาชิกในยุคแรก และสจ๊วตรู้สึกว่าไม่เหมาะสมกับการเป็นทีนไอดอล จึงออกจากวงอย่างเป็นทางการเมื่อปี 1963 แต่ยังคงทำหน้าที่เป็นผู้จัดการวงในช่วงออกเดินทางทัวร์ และเป็นมือคีย์บอร์ด จนเขาตายในปี 1985 ในช่วงแรกผลงานส่วนใหญ่จะนำเพลงเก่าในรูปแบบบลูส์อเมริกันและอาร์แอนด์บี มาทำใหม่ หลังจากที่วงประสบความสำเร็จครั้งแรกในสหราชอาณาจักร พวกเขาก็เริ่มประสบความสำเร็จในอเมริกาหลังจากออกรายการ "British Invasion" ในต้นยุคทศวรรษ 1960 วง เดอะโรลลิงสโตนส์มีภาพลักษณ์ที่ขัดกับวงคู่แข่งอย่าง เดอะบีทเทิลส์อย่างเห็นได้ชัดคือ มีภาพลักษณ์เป็นพวกยาวรุงรังและต่อต้านสังคม มีซิงเกิลดังในปี 1965 อย่าง "(I Can't Get No) Satisfaction" และมีผลงานอัลบั้ม Aftermath หลังจากนั้นโจนส์เสียชีวิตในปี 1969 หลังจากถูกไล่ออกจากวง และแทนที่โดย มิก เทย์เลอร์ ซึ่งเทย์เลอร์ร่วมบันทึกเพลงกับวง 5 สตูดิโออัลบั้มก่อนออกจากวงในปี 1974 หลังจากนั้นมือกีตาร์ รอนนีย์ วูด เข้ามาในวง จากนั้นไวแมนออกจากวงในปี 1983 และดาร์รีล โจนส์ เข้ามาเป็นสมาชิกวงอย่างไม่เป็นทางการ เขาทำงานกับวงตั้งแต่ปี 1994 เดอะโรลลิงสโตนส์ ออกสตูดิโออัลบั้มมา 22 อัลบั้มในสหราชอาณาจักร (24 ชุดในสหรัฐอเมริกา) มีอัลบั้มคอนเสิร์ต 8 ชุด (9 ชุดในสหรัฐอเมริกา) และมีอัลบั้มรวมเพลงอีกหลายชุด มียอดขายรวม 200 ล้านชุดทั่วโลก อัลบั้มล่าสุดของพวกเขาคือ A Bigger Bang ออกในปี 2005 และเขายังมีสถิติในชุด Sticky Fingers (1971) ที่ถือเป็นอัลบั้มอันดับ 1 ในสหรัฐอเมริกาอย่างต่อเนื่อง ถึง 8 ชุด นอกจากนี้พวกเขายังมีชื่ออยู่ในร็อกแอนด์โรลฮอลออฟเฟม ในปี 2004 และติดอันดับ 4 ของการจัดอันดับนิตยสารโรลลิงสโตนในหัวข้อ 100 ศิลปินที่เยี่ยมที่สุดตลอดกาล. ฟวีเมทัล หรือบางครั้งเรียกย่อว่า เมทัล เป็นแนวเพลงร็อกประเภทหนึ่งที่พัฒนาในช่วงปลายทศวรรษที่ 60 และต้นทศวรรษที่ 70 ด้วยรากฐานของดนตรี บลูส์-ร็อก ฮาร์ดร็อก และ ไซเคเดลิกร็อก โดยมีหลายวงได้พัฒนาเฮฟวีเมทัล ให้มีความหนา, หนัก, ดนตรีที่เน้นกีตาร์และกลอง และลักษณะเฉพาะตัวที่มีการโซโล่กีตาร์ที่รวดเร็ว เพลงแนวเฮฟวีเมทัลได้รับความนิยมจากแฟนทั่วโลก ที่แฟนเหล่านั้นจะเรียกตัวเองว่า เมทัลเฮดส์ หรือ เฮดแบงเกอร์ และถึงแม้ว่าวงเมทัลในช่วงต้น ๆ อย่าง เล็ด เซ็พเพลิน, แบล็ค แซบบาธ และ ดีพ เพอร์เพิล จะได้รับความสนใจจากกลุ่มคนฟังหลัก แต่ก็มีบ้างที่พวกเขาจะถูกด่าทอ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เดอะโรลลิงสโตนส์และเฮฟวีเมทัล

เดอะโรลลิงสโตนส์และเฮฟวีเมทัล มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บลูส์

บลูส์

ลูส์ (Blues) เป็นรูปแบบของดนตรีประเภทหนึ่ง เกิดจากสภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของคนดำที่หลั่งไหลเข้าสู่สหรัฐเพื่อการเป็นทาส สภาพชีวิตที่คับแค้นของพวกเขาได้ถูกนำเสนอผ่านบทเพลงด้วยการร้อง หรือสวดอ้อนวอนในทางศาสนาที่ เป็นท่วงทำนองที่น่าเศร้า อันเป็นเอกลักษณ์ของการร้องและท่วงทำนองที่เกิดจากเครื่องดนตรีที่ไม่มีคุณภาพจากความแร้นแค้น และความรู้ในด้านทฤษฎีดนตรีที่ผิดเพี้ยนไปจากเดิม ทำให้มีเสียงหรือคอร์ดความเพี้ยนซึ่งต่อมาก็ได้สร้างความแปลกหู จนเป็นลักษณะและเอกลักษณ์เฉพาะ ลักษณะสำคัญของเพลงบลูส์คือ การใช้เสียงร้อง หรือเสียงของเครื่องดนตรีที่เพี้ยนจากเสียงในบันไดเสียง ซึ่งเรียกกันว่า เบนท์ หรือ บลูโน้ต และการสไลด์เสียง ปกติเพลงบลูส์เป็นเพลงในอัตราจังหวะ 4/4 ใน 1 วรรคจะมี 12 ห้องเพลง การร้องแต่ละวรรคจะมีการอิมโพรไวเซชั่นไปจากทำนองเดิม เช่นเดียวกับการบรรเลงโดยเครื่องดนตรี ลักษณะเฉพาะของเพลงบลูส์ถูกวางด้วยด้วยรากฐานจากความเจ็บปวดแร้นแค้น ทุกข์ทรมาน ของชีวิต เนื้อเพลง และสำเนียงของบลูส์จึงแฝงความเจ็บปวดคล้ายการสะอึกสะอื้นเวลาร้องให้ จึงใช้แสดงอารมณ์เศร้าได้ดี นอกจากนั้น เรื่องของจังหวะ (rhythm) ของบลูส์ที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ และเป็นแบบแผนนำไปสู่ดนตรีรูปแบบอื่นมากมาย เช่น ฟังค์,โซลฟังค์,ริทึ่ม แอนด์ บลูส์, ร็อก แอนด์ โรล เป็นต้น ศิลปินบลูส์ที่น่าสนใจมีด้วยกันในหลายยุค เช่น BB.king ("You Know I Love You," "Woke Up This Morning," "Please Love Me,"), Muddy Waters, Buddy Guy, Stevie Ray Vaughan, Eric Clapton, John Lee Hooker,Jimi Hendrix ที่มาของคำว่า บลูส์ ในภาษาอังกฤษ blues หมายถึง อาการโศกเศร้า ในประโยคเช่น I feel blues.

บลูส์และเดอะโรลลิงสโตนส์ · บลูส์และเฮฟวีเมทัล · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เดอะโรลลิงสโตนส์และเฮฟวีเมทัล

เดอะโรลลิงสโตนส์ มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ เฮฟวีเมทัล มี 50 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.59% = 1 / (13 + 50)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เดอะโรลลิงสโตนส์และเฮฟวีเมทัล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »