โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เซลล์ (ชีววิทยา)และโรคด่างขาว

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เซลล์ (ชีววิทยา)และโรคด่างขาว

เซลล์ (ชีววิทยา) vs. โรคด่างขาว

ทฤษฎีเซลล์ถูกพัฒนาขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2382 (ค.ศ. 1839) โดยแมตเทียส จาคอบ ชไลเดน (Matthias Jakob Schleiden) และ ทีโอดอร์ ชวานน์ (Theodor Schwann) ได้อธิบายว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหมดประกอบด้วยเซลล์หนึ่งเซลล์หรือมากกว่า เซลล์ทั้งหมดมีกำเนิดมาจากเซลล์ที่มีมาก่อน (preexisting cells) ระบบการทำงานเพื่อความอยู่รอดของสิ่งที่มีชีวิตทั้งหมดเกิดขึ้นภายในเซลล์ และภายในเซลล์ยังประกอบด้วยข้อมูลทางพันธุกรรม (hereditary information) ซึ่งจำเป็นสำหรับการควบคุมการทำงานของเซลล์ และการส่งต่อข้อมูลทางพันธุกรรมไปยังเซลล์รุ่นต่อไป คำว่าเซลล์ มาจากภาษาละตินที่ว่า cella ซึ่งมีความหมายว่า ห้องเล็กๆ ผู้ตั้งชื่อนี้คือโรเบิร์ต ฮุก (Robert Hooke) เมื่อเขาเปรียบเทียบเซลล์ของไม้คอร์กเหมือนกับห้องเล็ก. รคด่างขาว เป็นภาวะที่เซลล์สร้างเม็ดสีหรือเมลาโนไซต์ถูกทำลาย จากสถิติพบว่าประชากรเป็นโรคนี้ร้อยละ 1 และพบในคนผิวคล้ำมากกว่าคนผิวขาว ร้อยละ 70-80 ของผู้ป่วยมีอายุต่ำกว่า 30 ปี ตัวอย่างของผู้ป่วย คือ ไมเคิล แจ็คสัน รอยโรคจะปรากฏเองโดยไม่มีอาการ ลักษณะที่ขึ้นใหม่ๆ จะเป็นสีขาวจางเหมือนเกลื้อน เมื่อเป็นนานเข้าจึงเห็นเป็นสีขาว ขอบชัดเจน มีรูปร่างกลมหรือรี หรือเป็นทางยาวตามแนวของเส้นประสาท พบได้บ่อยที่ใบหน้า มือ เท้า และผิวหนังเหนือข้อ รอยดังกล่าวมีขนาดตั้งแต่จุดเล็กๆ ถึงขนานใหญ่ ปกคลุมได้เกือบทั่วร่างกาย ในปัจจุบันยังไม่มีการรักษาที่ปลอดภัยและได้ผลแน่นอน แต่โรคด่างขาวไม่มีอันตรายต่อสุขภาพ ดังนั้นอาจไม่รักษาก็ได้.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เซลล์ (ชีววิทยา)และโรคด่างขาว

เซลล์ (ชีววิทยา)และโรคด่างขาว มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เซลล์ (ชีววิทยา)และโรคด่างขาว

เซลล์ (ชีววิทยา) มี 64 ความสัมพันธ์ขณะที่ โรคด่างขาว มี 3 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (64 + 3)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เซลล์ (ชีววิทยา)และโรคด่างขาว หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »