โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เซนต์เซย์ย่าและแคปริคอร์น ชูร่า

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เซนต์เซย์ย่าและแคปริคอร์น ชูร่า

เซนต์เซย์ย่า vs. แคปริคอร์น ชูร่า

ซนต์เซย์ย่า เป็นชื่อของหนังสือการ์ตูน ซึ่งแต่งขึ้นโดย มาซามิ คุรุมาดะ ซึ่งใช้กลุ่มดาวม้าบินมาเป็นตัวเอกของเรื่อง เนื่องจากม้าบินกำลังอยู่ในท่าทะยานขึ้นสู่ท้องฟ้า ตรงกับภาพลักษณ์ของตัวเอกที่เขาได้คิดไว้นั่นเอง โดยมีเรื่องราวเกี่ยวกับเด็กหนุ่ม 5 คนที่เรียกว่า เซนต์ (saint) ต่อสู้โดยใช้ร่างกายของตนเองเป็นอาวุธเพื่อปกป้องคิโดะ ซาโอริ ผู้เป็นอวตารของเทพีอะธีนา และต่อสู้กับทัพศัตรูแห่งความชั่วร้าย ในโลกร่วมสมัยที่มีบรรยากาศของเทพปกรณัมกรีก ในประเทศญี่ปุ่น เซนต์เซย์ย่าลงตีพิมพ์เป็นครั้งแรกในนิตยสารโชเน็นจัมป์รายสัปดาห์ ของสำนักพิมพ์ชูเอฉะ และออกเป็นหนังสือรวมเล่มจำนวน 28 เล่มจบ ส่วนในประเทศไทย สำนักพิมพ์วิบูลย์กิจได้รับสิทธิ์ในการตีพิมพ์ฉบับรวมเล่ม นอกจากภาคหลักแล้ว เซนต์เซย์ย่ายังได้รับการแต่งภาคเสริมขึ้นอีกหลายภาคด้วยกัน ได้แก่ ภาค Episode G, Next Dimension และ The Lost Canvas เซนต์เซย์ย่าถูกสร้างขึ้นในรูปแบบของอะนิเมะ และออกฉายครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2529 โดยบริษัท โตเอแอนิเมชัน ซึ่งได้รับกระแสตอบรับที่ดีจนได้ออกอากาศติดต่อกันนานเกือบ 3 ปี นอกจากนี้ยังได้แพร่ภาพทางโทรทัศน์ในประเทศต่าง ๆ อีกหลายประเทศ ทั้งในแถบเอเชียด้วยกัน เช่น ประเทศจีน ฮ่องกง สิงคโปร์ ประเทศแถบยุโรป สหรัฐอเมริกา ละตินอเมริกา รวมทั้งประเทศไทย ซึ่งมีการนำเซนต์เซย์ย่ามาออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2531 ทางไทยทีวีสีช่อง 3 โดยใช้ชื่อว่า "เซย่า เทพบุตรหมัดดาวหาง" จากนั้นก็ได้ออกอากาศซ้ำอีกในปี พ.ศ. 2547 ทางสถานีโทรทัศน์ยูบีซี (ทรูวิชั่นส์ ในปัจจุบัน) และมีการนำออกวางจำหน่ายในรูปแบบวีซีดีโดย บริษัท การ์ตูนอินเตอร์ จำกัด ด้วย นอกจากนี้เซนต์เซย์ย่ายังได้รับการดัดแปลงเป็นสื่อในรูปแบบอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น ภาพยนตร์ ละครเวที เกม และของเล่นต่าง. แคปริคอร์น ชูร่า ตัวละครจากการ์ตูนเรื่องเซนต์เซย่า เป็นโกลด์เซนต์ประจำราศีมกร ผู้ดูแลปราสาทแพะทะเล 1 ใน 12 ปราสาทแห่งแซงค์ทัวรี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เซนต์เซย์ย่าและแคปริคอร์น ชูร่า

เซนต์เซย์ย่าและแคปริคอร์น ชูร่า มี 11 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มะซะมิ คุรุมะดะมังงะอะนิเมะอาธีน่าและเซนต์แห่งอาธีน่าอควอเรียส คามิวคริสซาออร์ กฤษณะซาจิททาเรียส ไอโอลอสโพไซดอนไลบร้า โดโกเฮดีสเจมินี่ ซากะ

มะซะมิ คุรุมะดะ

มาซามิ คุรุมาดะ มาซามิ คุรุมาดะ เกิด 6 ธันวาคม พ.ศ. 2496 เป็นนักเขียนการ์ตูนชาวญี่ปุ่น เป็นที่รู้จักในฐานะผู้แต่งเรื่อง เซนต์เซย์ย่า จบการศึกษาทางด้านวิศวกรรมศาสตร.

มะซะมิ คุรุมะดะและเซนต์เซย์ย่า · มะซะมิ คุรุมะดะและแคปริคอร์น ชูร่า · ดูเพิ่มเติม »

มังงะ

หน้าหนึ่งจากหนังสือการ์ตูนเรื่องมาร์มาเลดบอย ฉบับภาษาญี่ปุ่น เล่ม 1 มังงะ เป็นคำภาษาญี่ปุ่นสำหรับเรียกการ์ตูนช่อง สำหรับภายนอกประเทศญี่ปุ่น คำนี้ถูกใช้เรียกการ์ตูนช่องที่มาจากญี่ปุ่น มังงะพัฒนามาจากอุคิโยเอะและจิตรกรรมตะวันตก และเริ่มคงรูปแบบที่เป็นอยู่ในปัจจุบันตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง มังงะที่ได้รับความนิยมสูงมักถูกนำไปสร้างเป็นอะนิเมะ เนื้อหาของมังงะเหล่านั้นมักถูกดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสมต่อการแพร่ภาพทางโทรทัศน์และเพื่อให้ถูกรสนิยมของผู้ชมทั่วไปมากขึ้น.

มังงะและเซนต์เซย์ย่า · มังงะและแคปริคอร์น ชูร่า · ดูเพิ่มเติม »

อะนิเมะ

รูปแบบอะนิเมะในปัจจุบัน อะนิเมะ (「アニメ」 anime) เป็นคำภาษาญี่ปุ่นที่มาจากภาษาอังกฤษว่า แอนิเมชั่น (animation) ซึ่งมาจาก ภาษาฝรั่งเศส อานีเม่ (animé) และจากภาษาละติน แปลว่าเคลื่อนไหว หรือภาพเคลื่อนไหว แต่ความหมายกลายจนเป็นคำเฉพาะของภาษาญี่ปุ่นแปลว่า ภาพยนตร์การ์ตูน ภายนอกประเทศญี่ปุ่น อะนิเมะหมายถึงภาพยนตร์การ์ตูนสัญชาติญี่ปุ่น ซึ่งส่วนใหญ่มีลักษณะทางศิลปะแตกต่างกับภาพยนตร์การ์ตูนจากแหล่งอื่น อะนิเมะส่วนใหญ่จะวาดขึ้นด้วยมือ แต่ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยสร้างอะนิเมะอย่างแพร่หลาย อะนิเมะส่วนใหญ่สร้างขึ้นเพื่อให้ความบันเทิงเหมือนภาพยนตร์ โดยมีแนวเรื่องหลากหลายและครอบคลุมแนววรรณกรรมเกือบทุกแนว อะนิเมะส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นเป็นตอน ๆ เพื่อฉายทางโทรทัศน์ ส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเพื่อฉายในโรงภาพยนตร์ และอีกส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นตอน ๆ เพื่อขายตรงในรูปแบบดีวีดี วีซีดี หรือวีดิโอ ดูมีการทำตอนเฉพาะที่เรียกว่า โอวีเอ อะนิเมะหลายเรื่องถูกดัดแปลงมาจากมังงะ นอกจากนี้ยังมีอะนิเมะที่ถูกนำไปดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์อีกด้ว.

อะนิเมะและเซนต์เซย์ย่า · อะนิเมะและแคปริคอร์น ชูร่า · ดูเพิ่มเติม »

อาธีน่าและเซนต์แห่งอาธีน่า

อาธีนาและเซนต์แห่งอาธีน่า เป็นตัวละครจากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง เซนต์เซย์ย่า ซึ่งเซนต์แห่งอาธีน่าเป็นเซนต์ประจำกลุ่มดาวทั้ง 88 มีหน้าที่ปกป้องอาธีนา โดยแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ บรอนซ์เซนต์ ซิลเวอร์เซนต์ และโกลด์เซนต์ แต่ในบรรดานั้นก็มีเซนต์บางคนที่ไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มดาวทั้ง 88 รวมไปถึงเซนต์ที่ไม่มีกลุ่มดาวประจำตัวอย่าง สตีลเซนต์ แบล็กเซนต์ และโกสต์เซนต์ด้ว.

อาธีน่าและเซนต์แห่งอาธีน่าและเซนต์เซย์ย่า · อาธีน่าและเซนต์แห่งอาธีน่าและแคปริคอร์น ชูร่า · ดูเพิ่มเติม »

อควอเรียส คามิว

อควอเรียส คามิว ตัวละครจากการ์ตูนเรื่องเซนต์เซย่า เป็นโกลด์เซนต์ประจำราศีกุมภ์ ผู้ดูแลปราสาทคนโท 1 ใน 12 ปราสาทแห่งแซงค์ทัวรี่ เป็นอาจารย์ของซิกนัส เฮียวกะ และเป็นเพื่อนสนิทของสกอร์เปี้ยน มิโร โกลด์เซนต์ประจำราศีพิจิก.

อควอเรียส คามิวและเซนต์เซย์ย่า · อควอเรียส คามิวและแคปริคอร์น ชูร่า · ดูเพิ่มเติม »

คริสซาออร์ กฤษณะ

ริสซาออร์ กฤษณะ ตัวละครในเซนต์เซย่าภาคเจ้าสมุทรโปเซดอน เป็น 1 ใน 7 ขุนพลมารีนเนอร์ผู้พิทักษ์เสาค้ำมหาสมุทรอินเดี.

คริสซาออร์ กฤษณะและเซนต์เซย์ย่า · คริสซาออร์ กฤษณะและแคปริคอร์น ชูร่า · ดูเพิ่มเติม »

ซาจิททาเรียส ไอโอลอส

อโอลอสขณะปล่อยท่าไม้ตาย อะตอมมิค ธันเดอร์โบลต์ ซาจิททาเรียส ไอโอลอส ตัวละครจากการ์ตูนเรื่องเซนต์เซย่า เป็นโกลด์เซนต์ประจำราศีธนู ผู้ดูแลปราสาทมนุษย์ม้า 1 ใน 12 ปราสาทแห่งแซงค์ทัวรี่ และเป็นพี่ชายของ เลโอ ไอโอเรีย โกลด์เซนต์ประจำราศีสิงห.

ซาจิททาเรียส ไอโอลอสและเซนต์เซย์ย่า · ซาจิททาเรียส ไอโอลอสและแคปริคอร์น ชูร่า · ดูเพิ่มเติม »

โพไซดอน

ซดอน (Poseidon,; Ποσειδών) เป็นหนึ่งในสิบสองเทพเจ้าโอลิมปัสในเทพปกรณัมกรีก พระราชอาณาเขตหลักคือมหาสมุทร และพระองค์ทรงได้รับขนานพระนามว่า "สมุทรเทพ" นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงได้รับขนานพระนามว่า "ผู้เขย่าโลก" (Earth-Shaker) เนื่องจากบทบาทของพระองค์ในการก่อแผ่นดินไหว และ "ผู้กำราบม้า" (tamer of horses) พระองค์มักทรงถูกพรรณาเป็นบุรุษสูงวัย มีพระเกษาหยิกและพระมัสสุ (หนวด) แผ่นจารึกอักษรไลเนียร์บีแสดงว่า ที่ไพลอสและธีบส์กรีซยุคสำริดก่อนมีเทพเจ้าโอลิมปัสมีการบูชาโพไซดอนเป็นพระเจ้าหลัก แต่ภายหลังมีการรวมพระองค์เข้าเป็นพระเจ้าโอลิมปัสเป็นพระอนุชาของเฮดีสและพระเชษฐาของซูส ตำนานพื้นบ้านบางตำนานเล่าว่า เรีย พระมารดาของพระองค์ ช่วยพระองค์ไว้โดยซ่อนพระองค์ไว้กับฝูงแกะแล้วแสร้งทำเป็นว่าให้กำเนิดลูกลาออกมา เพื่อมิให้ถูกโครนัสกลืนกินIn the 2nd century AD, a well with the name of Arne, the "lamb's well", in the neighbourhood of Mantineia in Arcadia, where old traditions lingered, was shown to Pausanias.

เซนต์เซย์ย่าและโพไซดอน · แคปริคอร์น ชูร่าและโพไซดอน · ดูเพิ่มเติม »

ไลบร้า โดโก

ลบร้า โดโก หรือ "ท่านผู้เฒ่า" ตัวละครจากการ์ตูนเรื่องเซนต์เซย่า เป็นโกลด์เซนต์ประจำราศีตุล ผู้ดูแลปราสาทตาชั่งฟ้า 1 ใน 12 ปราสาทแห่งแซงค์ทัวรี่ เป็นผู้ที่ยังคงมีชีวิตรอดจากสงครามศักดิ์สิทธิ์เมื่อ 243 ปีก่อน พร้อมกับ อาริเอส ชิออน และโดโกยังเป็นอาจารย์ของ ดราก้อน ชิริว อีกด้ว.

เซนต์เซย์ย่าและไลบร้า โดโก · แคปริคอร์น ชูร่าและไลบร้า โดโก · ดูเพิ่มเติม »

เฮดีส

(Hades,; Ἅιδης/ᾍδης, Hāidēs) เป็นพระเจ้าแห่งโลกบาดาลของกรีกโบราณ สุดท้าย พระนามฮาเดสได้กลายมาเป็นชื่อเรียกถิ่นของผู้ตาย ในเทพปกรณัมกรีก ฮาเดสเป็นพระโอรสองค์โตของโครนัสและเรีย หากพิจารณาจากลำดับที่ประสูติจากพระชนนี หรือองค์เล็กหากพิจารณาเมื่อพระชนกขย้อนออกมา มุมมองอย่างหลังนี้มีรับรองในสุนทรพจน์ของโพไซดอนในอีเลียด ตามตำนาน พระองค์กับพระอนุชา ซุสและโพไซดอน พิชิตเทพไททันและอ้างการปกครองจักรวาล แบ่งกันปกครองโลกบาดาล อากาศและทะเลตามลำดับ ปฐพีซึ่งเป็นอาณาเขตแห่งไกอามาแต่ช้านาน เป็นของทั้งสามพร้อมกัน ต่อมา ชาวกรีกเริ่มเรียกฮาเดสว่า พลูตอน ซึ่งชาวโรมันแผลงเป็นละตินว่า พลูโต ชาวโรมันโยงเฮดีส/พลูโตเข้ากับพระเจ้าคะเธาะนิคของพวกตน ดิสปาเตอร์ (Dis Pater) และออร์คัส พระเจ้าอีทรัสคันที่สอดคล้อง คือ ไอตา (Aita) มักวาดภาพพระองค์กับหมาสามหัว เซอร์เบอรัส ในประเพณีปรัมปราวิทยาสมัยหลัง แม้ไม่ใช่สมัยโบราณ พระองค์สัมผัสกับหมวกเกราะแห่งความมืดและสองง่าม คำว่า เฮดีส ในเทววิทยาคริสต์ (และพันธสัญญาใหม่ภาษากรีก) เปรียบได้กับชีโอ (sheol, שאול) ในภาษาฮีบรู ซึ่งหมายถึง ถิ่นพำนักของผู้ตาย มโนทัศน์นรกของศาสนาคริสต์คล้ายและได้รับมาจากมโนทัศน์ทาร์ทารัสของกรีก ซึ่งเป็นส่วนที่ลึกและมืดมิดซึ่งเฮดิสใช้เป็นคุกลงทัณฑ์และทรมาน.

เซนต์เซย์ย่าและเฮดีส · เฮดีสและแคปริคอร์น ชูร่า · ดูเพิ่มเติม »

เจมินี่ ซากะ

มินี่ ซากะ ตัวละครจากการ์ตูนเรื่องเซนต์เซย่า เป็นโกลด์เซนต์ประจำราศีเมถุน ผู้ดูแลปราสาทคนคู่ 1 ใน 12 ปราสาทแห่งแซงค์ทัวรี่ เป็นพี่ชายฝาแฝดของ เจมินี่ คาน่อน และเป็นผู้สวมรอยตำแหน่งเคียวโกในการปกครองแซงค์ทัวรี.

เจมินี่ ซากะและเซนต์เซย์ย่า · เจมินี่ ซากะและแคปริคอร์น ชูร่า · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เซนต์เซย์ย่าและแคปริคอร์น ชูร่า

เซนต์เซย์ย่า มี 179 ความสัมพันธ์ขณะที่ แคปริคอร์น ชูร่า มี 23 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 11, ดัชนี Jaccard คือ 5.45% = 11 / (179 + 23)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เซนต์เซย์ย่าและแคปริคอร์น ชูร่า หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »