โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เฉิงตู เจ-10และเหรินหมินปี้

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เฉิงตู เจ-10และเหรินหมินปี้

เฉิงตู เจ-10 vs. เหรินหมินปี้

ฉิงตู เจ-10 ที่กำลังบินขึ้นจากทางวิ่ง เฉิงตู เจ-10 (ภาษาอังกฤษ: Chengdu J-10; อักษรจีนตัวย่อ: 歼十-10; อักษรจีนตัวเต็ม: 殲-10; พินอิน: Jiān 10; นาโต้กำหนดรหัส: Firebird) เป็นเครื่องบินขับไล่หลากหลายบทบาทขนาดเบาและเป็นกำลังหลักของกองทัพอากาศกองทัพปลดปล่อยประชาชนในปัจจุบัน เป็นเครื่องบินรบรุ่นที่ 4.5 สร้างโดยโรงงานสร้างอากาศยานเฉิงตูแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน เจ-10 ถูกออกแบบให้เป็นเครื่องบินขับไล่เอนกประสงค์ความคล่องตัวสูงจากการใช้แผนแบบปีกสามเหลี่ยม และคานาร์ด สามารถติดตั้งอาวุธได้หลายหลายทั้งอากาศสู่อากาศและอากาศสู่พื้น รุ่นแรกๆของ J-10 นั้น ใช้เครื่องยนต์ไอพ่นเทอร์โบแฟนของรัสเซีย ไลยูก้า แซตเทิร์น AL-31FN ในอนาคตนั้น ทางประเทศจีนมีโครงการติดตั้งเครื่องยนต์ในประเทศ WS-10A (WoShan-10A) Taihang ซึ่งสร้างขึ้นโดยใช้แกนโมดูลของเครื่องยนต์พลเรือน CFM-56 เป็นต้นแบบ แต่จนปัจจุบัน (พ.ศ. 2559) อยู่ในขั้นตอนการผลิตขั้นเริ่มต้น โปรเจกต์ล่าช้ากว่าแผนงานร่วมสิบปี ทำให้ยังต้องพึ่งพาเครื่องยนต์จากรัสเซียอยู่ต่อไป สมรรถนะของเครื่องบินรบแบบ J-10 ที่ติดตั้งเครื่องยนต์รัสเซียนั้น ใกล้เคียงกับ F-16C/D บล็อกแรกๆ วิเคราะห์โดยนักวิเคราะห์ทางทหารตะวันตก แต่ราคาถูกกว่า ในปี 2014 ทางการจีนได้ขออนุญาตทางการรัสเซียเพื่อให้ส่งออกเครื่องยนต์รุ่นล่าสุด AL-31FN Series 3 สำหรับการพัฒนาสมรรถนะของ J-10 ให้ดียิ่งขึ้น ทั้งยังได้บรรจุเรดาร์ AESA แบบใหม่ที่ทางการจีนพัฒนาขึ้นเองเข้าไปด้วยบปี และในปี 2015 จากการประเมินสมรรถนะของเครื่องบินรบแบบ J-10 ที่ติดตั้งเครื่องยนต์รัสเซียนั้น ทางอาร์เจนตินามีความสนใจในเครื่องบินรุ่นนี้ เนื่องจากว่า นอกจากจะมีประสิทธิภาพเท่าเทียมเครื่องจากตะวันตกในพิกัดเดียวกัน แต่มีราคาถูกกว่า ปัจจุบันเฉิงตู เจ-10 มีประจำการอยู่ในกองทัพอากาศจีน. หรินหมินปี้ (จีนตัวย่อ: 人民币; จีนตัวเต็ม: 人民幣; พินอิน: rénmínbì; ตามตัวอักษรหมายถึง "เงินตราของประชาชน") เป็นเงินตราอย่างเป็นทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน ออกโดย ธนาคารประชาชนแห่งชาติจีน (People's Bank of China) ซึ่งเป็นหน่วยงานทางด้านเงินตราของ จีนแผ่นดินใหญ่ ตัวย่อใน ISO 4217 คือ CNY ภาพด้านหน้าของธนบัตรใบละ 1 หยวน ภาพด้านหน้าของธนบัตรใบละ 5 เจียว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เฉิงตู เจ-10และเหรินหมินปี้

เฉิงตู เจ-10และเหรินหมินปี้ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พินอินอักษรจีนตัวย่ออักษรจีนตัวเต็ม

พินอิน

นอิน หรือ ฮั่นยฺหวี่พินอิน (แปลว่า สะกดเสียงภาษาจีน) คือระบบในการถอดเสียงภาษาจีนมาตรฐาน ด้วยตัวอักษรละติน ความหมายของพินอินคือ "การรวมเสียงเข้าด้วยกัน" (โดยนัยก็คือ การเขียนแบบสัทศาสตร์ การสะกด การถอดเสียง หรือการทับศัพท์) พินอินเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2501 และเริ่มใช้กันในปี พ.ศ. 2522 โดย รัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยใช้แทนที่ระบบการถอดเสียงแบบเก่า เช่น ระบบเวดและไจลส์ และระบบจู้อิน นอกจากนี้ ยังมีการออกแบบระบบอื่น ๆ สำหรับนำไปใช้กับภาษาพูดของจีนในถิ่นต่าง ๆ และภาษาของชนกลุ่มน้อยที่ไม่ใช้ภาษาฮั่น ในสาธารณรัฐประชาชนจีนด้วย นับแต่นั้นมา พินอินก็เป็นที่ยอมรับจากสถาบันนานาชาติหลายแห่ง รวมทั้งรัฐบาลสิงคโปร์ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน และสมาคมหอสมุดอเมริกัน โดยถือว่าเป็นระบบการถอดเสียงที่เหมาะสมสำหรับภาษาจีนกลาง ครั้นปี พ.ศ. 2522 องค์การมาตรฐานนานาชาติ (ISO) ก็ได้รับเอาพินอินเป็นระบบมาตรฐาน (ISO 7098) ในการถ่ายทอดเสียงภาษาจีนปัจจุบันด้วยอักษรโรมัน (the standard romanization for modern Chinese) สิ่งสำคัญที่ต้องระลึกไว้ก็คือ พินอินนั้น เป็นการทับศัพท์ด้วยอักษรโรมัน (Romanization) มิใช่การถอดเสียงแบบภาษาอังกฤษ (Anglicization) นั่นคือ การกำหนดให้ใช้ตัวอักษรตัวหนึ่ง สำหรับแทนเสียงหนึ่ง ๆ ในภาษาจีนไว้อย่างตายตัว เช่น b และ d ในระบบพินอิน เป็นเสียง "ป" และ "ต" ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างจากระบบการออกเสียงส่วนใหญ่ ไม่ว่าอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือภาษาอื่นในยุโรป ขณะที่อักษร j หรือ q นั้นมีเสียงไม่ตรงกับในภาษาอังกฤษเลย กล่าวสั้น ๆ ก็คือ พินอินมุ่งที่จะใช้อักษรโรมัน เพื่อแทนเสียงใดเสียงหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อความสะดวกในการเขียน มิได้ยืมเสียงจากระบบของอักษรโรมันมาใช้ การใช้ระบบนี้นอกจากทำให้ชาวต่างชาติเขียนอ่านภาษาจีนได้สะดวกแล้ว ยังสามารถใช้กับคอมพิวเตอร์ได้สะดวกอย่างยิ่งด้วย ต่อไปนี้เป็นการถอดเสียงภาษาจีน (ที่เขียนด้วยอักษรโรมันในระบบพินอิน) ด้วยอักษรไทย โปรดสังเกตว่า บางหน่วยเสียงในภาษาจีนไม่มีหน่วยเสียงที่ตรงกันในภาษาไทย จึงต้องอนุโลมใช้อักษรที่ใกล้เคียง ในที่นี้จึงมีอักษรไทยบางตัว ที่ต้องใช้แทนหน่วยเสียงในภาษาจีนมากกว่าหนึ่งหน่วยเสียง ทั้งนี้เพื่อเป็น "เกณฑ์อย่างคร่าว ๆ" สำหรับการเขียนคำทับศัพท์ภาษาจีน.

พินอินและเฉิงตู เจ-10 · พินอินและเหรินหมินปี้ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรจีนตัวย่อ

Hànzì ฮั่นจื้อ แปลว่า ภาษาฮั่น หรือ ภาษาจีนกลาง เขียนด้วยอักษรจีนตัวย่อ แผนภาพออยเลอร์แสดงกลุ่มของการเปลี่ยนแปลงอักษรจีนตัวเต็มไปเป็นอักษรจีนตัวย่อ อักษรจีนตัวย่อ (เจี่ยนถี่จื้อ/เจี่ยนฮั่วจื้อ) เป็นหนึ่งในสองรูปแบบอักษรจีนมาตรฐานที่ใช้กันทั่วโลกในปัจจุบัน อักษรจีนตัวย่อประดิษฐ์และเริ่มใช้โดยรัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) ใน พ.ศ. 2492 เหตุที่ต้องเรียกว่าอักษรจีนตัวย่อ หรือ Simplified Chinese character ก็เพื่อให้แตกต่างจากอักษรจีนมาตรฐานอีกรูปแบบหนึ่งที่ในปัจจุบัน นั่นคือ อักษรจีนตัวเต็ม หรือ Traditional Chinese Character (อักษรจีนดั้งเดิม) อักษรจีนตัวเต็มได้ใช้ใน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนก่อนการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย ส่วนอักษรจีนตัวย่อ ใช้กันใน สาธารณรัฐประชาชนจีน สิงคโปร์ และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนหลังการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากยังคงใช้อักษรจีนตัวเต็มเป็นหลัก แต่สำหรับการสอนภาษาจีนตามสถานศึกษาในประเทศไทยส่วนมากจะใช้อักษรจีนตัวย่อ เพื่อให้เป็นแบบแผนเดียวกันกับสาธารณรัฐประชาชนจีน.

อักษรจีนตัวย่อและเฉิงตู เจ-10 · อักษรจีนตัวย่อและเหรินหมินปี้ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรจีนตัวเต็ม

Hànzì ฮั่นจื้อ แปลว่า ตัวอักษรจีน เขียนด้วยอักษรจีนตัวเต็ม อักษรจีนตัวเต็ม เป็นหนึ่งในสองรูปแบบอักษรจีนมาตรฐานที่ใช้กันทั่วโลกในปัจจุบัน ปรากฏครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฮั่น (พ.ศ. 337 - 763) และได้ใช้มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ในสมัยราชวงศ์เหนือใต้ ที่ต้องเรียกว่าอักษรจีนตัวเต็ม หรืออักษรจีนดั้งเดิม ก็เพื่อให้แตกต่างจากอักษรจีนมาตรฐานอีกรูปแบบหนึ่งที่ใช้ในปัจจุบัน นั่นคือ อักษรจีนตัวย่อ ซึ่งประดิษฐ์และเริ่มใช้โดยรัฐบาลของ สาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) ใน พ.ศ. 2492 อักษรจีนตัวเต็มได้ใช้ใน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนก่อนการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย ส่วนอักษรจีนตัวย่อ ใช้กันใน สาธารณรัฐประชาชนจีน สิงคโปร์ และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนหลังการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากยังคงใช้อักษรจีนตัวเต็มเป็นหลัก แต่สำหรับการสอนภาษาจีนตามสถานศึกษาในประเทศไทยส่วนมากจะใช้อักษรจีนตัวย่อ เพื่อให้เป็นแบบแผนเดียวกันกับสาธารณรัฐประชาชนจีน.

อักษรจีนตัวเต็มและเฉิงตู เจ-10 · อักษรจีนตัวเต็มและเหรินหมินปี้ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เฉิงตู เจ-10และเหรินหมินปี้

เฉิงตู เจ-10 มี 12 ความสัมพันธ์ขณะที่ เหรินหมินปี้ มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 15.00% = 3 / (12 + 8)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เฉิงตู เจ-10และเหรินหมินปี้ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »