โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5และเหรียญรัตนาภรณ์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5และเหรียญรัตนาภรณ์

เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5 vs. เหรียญรัตนาภรณ์

้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5 เกิดเมื่อวันพุธที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2429 เป็นธิดา หม่อมเจ้าจำรูญ ปราโมช และ หม่อมเยื้อน ปราโมช ณ อยุธยา ท่านมีน้องร่วมมารดา 2 คน คือ ร้อยโท หม่อมราชวงศ์จรัญ ปราโมช และหม่อมราชวงศ์ชาย (ถึงแก่กรรมตั้งแต่ยังไม่มีชื่อ) เมื่อวัยเยาว์ เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย อาศัยอยู่กับท่านพ่อที่วังบูรพาภิรมย์ เพราะท่านพ่อเสด็จอยู่กับ จอมพล สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช จนกระทั่งอายุได้ 7 ปี ท่านพ่อจึงส่งเข้าไปอยู่ในพระบรมมหาราชวังกับพระญาติในราชสกุลปราโมช ซึ่งรับราชการอยู่ในห้องเครื่องต้น วันหนึ่งท่านได้ตามเสด็จ หม่อมเจ้าหญิงคอยท่า ปราโมช ไปรับเงินจ่ายประจำเดือนของห้องเครื่อง จากพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ (พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา) พระอรรคชายาเธอฯทอดพระเนตรเห็นหม่อมราชวงศ์จรวยเป็นเด็กน่าเอ็นดู จึงขอไปทรงเลี้ยง และเมื่อหม่อมราชวงศ์จรวยมีอายุครบ 10 ปี ได้ทรงพระเมตตาจัดพิธีโกนจุกประทานด้วย ครั้นอายุได้ 18 ปี พระอรรคชายาเธอฯจึงนำท่านขึ้นถวายตัวรับราชการฝ่ายใน เป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้รับพระราชทานเงิน 5 ชั่ง ผ้าลายและแพรห่ม 2 สำรับตามประเพณี ซึ่งท่านได้รับราชการสนองพระมหากรุณาธิคุณจนตลอดรัชกาล โดยมีหน้าที่จัดเตรียมเครื่องสรงพระพักตร์ และทรงเครื่องในเวลาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวบรรทมตื่นที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ในช่วงเวลา 11-12 น. และเมื่อเสด็จพระราชดำเนินออกเสวย ก็ต้องอยู่ประจำในหน้าที่ตั้งเครื่องเสวยทั้งในมื้อเช้าและมื้อเย็น รับใช้ไปจนเข้าที่พระบรรทม ราว 5-6 น. บางครั้งก็ต้องรับหน้าที่อ่านหนังสือถวายแทนเจ้าจอมมารดาเลื่อน และคอยเฝ้าในเวลาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปรุงพระกระยาหารด้วยพระองค์เองด้วย เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นตติยจุลจอมเกล้า เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 และเข็มพระกำนัล อักษรพระบรมนาม.ป.ร.ลงยาสีชมพูห้อยริบบิ้นเหลืองจักรี และเมื่อมีพิธีเฉลิมพระที่นั่งอัมพรสถาน ท่านได้รับพระราชทานเกียรติยศให้เป็นผู้เชิญพานฟักในงานพระราชพิธีสำคัญนั้นด้วย เมื่อสิ้นรัชกาลที่ 5 แล้ว เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ได้ออกจากพระบรมมหาราชวังมาอาศัยอยู่ในสำนักพระวิมาดาเธอฯ ที่พระราชวังสวนสุนันทา จนสิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2472 จึงออกมาอาศัยกับหม่อมเจ้าหญิงคอยท่า ปราโมช จนสิ้นชีพิตักษัย ครั้งสุดท้ายได้ออกมาอยู่กับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา ที่ตำหนักทิพย์ ถนนราชวิถี ได้ตามเสด็จเสด็จพระองค์อาทรฯไปฟังธรรมที่วัดบวรนิเวศวิหารเป็นประจำ จนกระทั่งเสด็จพระองค์อาทร สิ้นพระชนม์ เมื่อ พ.ศ. 2501 จึงอยู่กับเจ้าจอมอาบ และนายพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์ ผู้เป็นทายาทต่อมา เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ปราโมช ป่วยด้วยโรคชรา ถึงอนิจกรรมเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 สิริอายุได้ 82 ปี 4 เดือน. หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ. 2416 เหรียญรัตนาภรณ์ มีลำดับชั้นทั้งหมด 5ชั้น มีหลักเกณฑ์ในการรับพระราชทานดังนี้ ชั้นที่ 1และ 2 มักจะพระราชทานให้ พระราชวงศ์, ขุนนางข้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิดและทรงสนิทสนมเป็นพิเศษ, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, ประธานองคมนตรี, องคมนตรี ฯลฯ ชั้นที่ 3 และ 4 พระราชทานให้ ขุนนางช้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิด, ข้าราชบริพารที่ทรงสนิทสนม, พระอนุวงศ์และราชนิกุล ฯลฯ ชั้นที่ 5 พระราชทานให้ ผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งส่วนราชการหรือส่วนพระองค์, ผู้ที่สร้างชื่อเสียงคุณงามความดีให้กับประเทศ ฯลฯ แต่ทั้งนี้การพระราชทานขึ้นอยู่กับพระราชอัธยาศัยส่วนพระองค์ บุคคลที่มียศตำแหน่งตามที่ระบุอาจได้รับพระราชทานชั้นที่สูงหรือต่ำกว่านี้ ก็สุดแท้แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5และเหรียญรัตนาภรณ์

เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5และเหรียญรัตนาภรณ์ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเหรียญรัตนาภรณ์

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5 · พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเหรียญรัตนาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญรัตนาภรณ์

หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ. 2416 เหรียญรัตนาภรณ์ มีลำดับชั้นทั้งหมด 5ชั้น มีหลักเกณฑ์ในการรับพระราชทานดังนี้ ชั้นที่ 1และ 2 มักจะพระราชทานให้ พระราชวงศ์, ขุนนางข้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิดและทรงสนิทสนมเป็นพิเศษ, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, ประธานองคมนตรี, องคมนตรี ฯลฯ ชั้นที่ 3 และ 4 พระราชทานให้ ขุนนางช้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิด, ข้าราชบริพารที่ทรงสนิทสนม, พระอนุวงศ์และราชนิกุล ฯลฯ ชั้นที่ 5 พระราชทานให้ ผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งส่วนราชการหรือส่วนพระองค์, ผู้ที่สร้างชื่อเสียงคุณงามความดีให้กับประเทศ ฯลฯ แต่ทั้งนี้การพระราชทานขึ้นอยู่กับพระราชอัธยาศัยส่วนพระองค์ บุคคลที่มียศตำแหน่งตามที่ระบุอาจได้รับพระราชทานชั้นที่สูงหรือต่ำกว่านี้ ก็สุดแท้แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ.

เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5และเหรียญรัตนาภรณ์ · เหรียญรัตนาภรณ์และเหรียญรัตนาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5และเหรียญรัตนาภรณ์

เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5 มี 21 ความสัมพันธ์ขณะที่ เหรียญรัตนาภรณ์ มี 21 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 4.76% = 2 / (21 + 21)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5และเหรียญรัตนาภรณ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »