โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เค็ง ยะมะงุชิและเซนต์เซย์ย่า

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เค็ง ยะมะงุชิและเซนต์เซย์ย่า

เค็ง ยะมะงุชิ vs. เซนต์เซย์ย่า

็ง ยะมะงุชิ เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2499 ที่จังหวัดโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น อดีตเคยสังกัดค่ายโปรดักชันเบาบั๊บ แต่ปัจจุบันไม่ได้สังกัดค่ายใ. ซนต์เซย์ย่า เป็นชื่อของหนังสือการ์ตูน ซึ่งแต่งขึ้นโดย มาซามิ คุรุมาดะ ซึ่งใช้กลุ่มดาวม้าบินมาเป็นตัวเอกของเรื่อง เนื่องจากม้าบินกำลังอยู่ในท่าทะยานขึ้นสู่ท้องฟ้า ตรงกับภาพลักษณ์ของตัวเอกที่เขาได้คิดไว้นั่นเอง โดยมีเรื่องราวเกี่ยวกับเด็กหนุ่ม 5 คนที่เรียกว่า เซนต์ (saint) ต่อสู้โดยใช้ร่างกายของตนเองเป็นอาวุธเพื่อปกป้องคิโดะ ซาโอริ ผู้เป็นอวตารของเทพีอะธีนา และต่อสู้กับทัพศัตรูแห่งความชั่วร้าย ในโลกร่วมสมัยที่มีบรรยากาศของเทพปกรณัมกรีก ในประเทศญี่ปุ่น เซนต์เซย์ย่าลงตีพิมพ์เป็นครั้งแรกในนิตยสารโชเน็นจัมป์รายสัปดาห์ ของสำนักพิมพ์ชูเอฉะ และออกเป็นหนังสือรวมเล่มจำนวน 28 เล่มจบ ส่วนในประเทศไทย สำนักพิมพ์วิบูลย์กิจได้รับสิทธิ์ในการตีพิมพ์ฉบับรวมเล่ม นอกจากภาคหลักแล้ว เซนต์เซย์ย่ายังได้รับการแต่งภาคเสริมขึ้นอีกหลายภาคด้วยกัน ได้แก่ ภาค Episode G, Next Dimension และ The Lost Canvas เซนต์เซย์ย่าถูกสร้างขึ้นในรูปแบบของอะนิเมะ และออกฉายครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2529 โดยบริษัท โตเอแอนิเมชัน ซึ่งได้รับกระแสตอบรับที่ดีจนได้ออกอากาศติดต่อกันนานเกือบ 3 ปี นอกจากนี้ยังได้แพร่ภาพทางโทรทัศน์ในประเทศต่าง ๆ อีกหลายประเทศ ทั้งในแถบเอเชียด้วยกัน เช่น ประเทศจีน ฮ่องกง สิงคโปร์ ประเทศแถบยุโรป สหรัฐอเมริกา ละตินอเมริกา รวมทั้งประเทศไทย ซึ่งมีการนำเซนต์เซย์ย่ามาออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2531 ทางไทยทีวีสีช่อง 3 โดยใช้ชื่อว่า "เซย่า เทพบุตรหมัดดาวหาง" จากนั้นก็ได้ออกอากาศซ้ำอีกในปี พ.ศ. 2547 ทางสถานีโทรทัศน์ยูบีซี (ทรูวิชั่นส์ ในปัจจุบัน) และมีการนำออกวางจำหน่ายในรูปแบบวีซีดีโดย บริษัท การ์ตูนอินเตอร์ จำกัด ด้วย นอกจากนี้เซนต์เซย์ย่ายังได้รับการดัดแปลงเป็นสื่อในรูปแบบอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น ภาพยนตร์ ละครเวที เกม และของเล่นต่าง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เค็ง ยะมะงุชิและเซนต์เซย์ย่า

เค็ง ยะมะงุชิและเซนต์เซย์ย่า มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฤทธิ์หมัดดาวเหนือดราก้อนบอลประเทศญี่ปุ่นโรงเรียนลูกผู้ชาย

ฤทธิ์หมัดดาวเหนือ

ทธิ์หมัดดาวเหนือ (Fist of the North Star) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวต่อสู้ แต่งเนื้อเรื่องโดย บุรอนซอน และวาดภาพโดย เท็ตสึโอะ ฮาร่า ตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสารโชเน็นจัมป์ ปี พ.ศ. 2526-2531 ฉบับรวมเล่มมีทั้งหมด 27 เล่มจบ ต่อมาได้ถูกสร้างเป็นอะนิเมะ เกม โอวีเอ รวมถึงภาพยนตร์จอเงิน (ทั้งแบบใช้คนแสดง และแบบอะนิเมะ) เรื่องราวกล่าวถึงเหตุการณ์หลังสงครามโลกครั้งที่ 3 ในปี..

ฤทธิ์หมัดดาวเหนือและเค็ง ยะมะงุชิ · ฤทธิ์หมัดดาวเหนือและเซนต์เซย์ย่า · ดูเพิ่มเติม »

ดราก้อนบอล

ราก้อนบอล เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ผลงานของอากิระ โทริยาม่า ลงพิมพ์ในนิตยสารโชเนนจัมป์ตั้งแต่ พ.ศ. 2527 - พ.ศ. 2538 และรวมเป็นฉบับรวมเล่มได้ 42 เล่ม ในประเทศไทยเคยลงตีพิมพ์ใน ทาเล้นท์ และ ซีโร่ ในช่วงก่อนที่มีลิขสิทธิ์การ์ตูน และหลังจากนั้นได้ตีพิมพ์ในหนังสือการ์ตูนบูม ภายใต้ลิขสิทธิ์ของบริษัท เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ จำกัด เนื้อเรื่องของดราก้อนบอลเกี่ยวกับการผจญภัยของ ซุน โกคู ในการรวบรวมดราก้อนบอลให้ครบ 7 ลูก เพื่อขอพรหนึ่งข้อจากเทพเจ้ามังกร โดยระหว่างการเดินทางโกคูต้องพบกับเพื่อนฝูงและอุปสรรคต่างๆ ลักษณะการดำเนินเรื่องช่วงแรก น่าจะเอามาจากเรื่องไซอิ๋ว ซึ่งกำหนดให้ซุนโกคู มีชื่อเดียวกับซุนหงอคง ให้มีปิศาจหมู อูลอน ลักษณะคล้าย ตือโป้ยก่าย ดราก้อนบอลมีสร้างมาหลายภาคทั้งในฉบับมังงะและอะนิเมะ และยังมีการนำไปทำเป็นวิดีโอเกมหลายภาค และภาพยนตร์ ดราก้อนบอล นำแสดงโดย จัสติน แชตวิน, เอ็มมี รอสซัม และ โจว เหวินฟะ และในปี พ.ศ. 2552 ดราก้อนบอล ได้ถูกนำมาสร้างใหม่ขึ้นอีกครั้งในชื่อว่า ดราก้อนบอล ไค โดยจะนำเนื้อหาของภาค ดราก้อนบอล Z มาสร้างใหม่ในระบบ High Definition Television (โทรทัศน์ความละเอียดสูง) เนื้อหาจะถูกตัดต่อใหม่ ให้กระชับฉับไวขึ้น เสียงประกอบ และ ดนตรี จะแต่งขึ้นมาใหม่ทั้งหมดให้เหมาะกับยุคนี้ แต่ยังคงใช้นักพากย์เดิม และจะเริ่มออกอากาศในวันอาทิตย์ที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2552 เวลา 09.00 น. (ตามเวลาประเทศญี่ปุ่น) ทางช่อง ฟูจิทีวี.

ดราก้อนบอลและเค็ง ยะมะงุชิ · ดราก้อนบอลและเซนต์เซย์ย่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ประเทศญี่ปุ่นและเค็ง ยะมะงุชิ · ประเทศญี่ปุ่นและเซนต์เซย์ย่า · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนลูกผู้ชาย

รงเรียนลูกผู้ชาย หรือ ขุนพลประจัญบาน หรือ นักเรียนนายร้อยเดนตาย เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวโชเน็น เขียนโดยอากิระ มิยาชิตะ ตีพิมพ์เป็นตอนในโชเน็นจัมป์รายสัปดาห์ระหว่างปี..

เค็ง ยะมะงุชิและโรงเรียนลูกผู้ชาย · เซนต์เซย์ย่าและโรงเรียนลูกผู้ชาย · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เค็ง ยะมะงุชิและเซนต์เซย์ย่า

เค็ง ยะมะงุชิ มี 16 ความสัมพันธ์ขณะที่ เซนต์เซย์ย่า มี 179 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 2.05% = 4 / (16 + 179)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เค็ง ยะมะงุชิและเซนต์เซย์ย่า หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »